รูปแบบชาร์ต
AUDNZD,4H*SWING TRADE
เทคนิคที่ใช่การดูกราฟ
1-.Fibo
2-.Demand / Supply Zone
3-.แรวรับ/ต้านสำคัญ ฯ ต่างๆ
4-.รูปแบบการ ปฎิเศษ ราคา ที่จะไปต่อในทิศทางเดิม หรือ ตรงกันข้ามทิศทาง
** รักษาเงินต้น #MM วิเคราะห์ ให้มาก เมื่อมีความยั๋งยืน เราจะอยู่รอดและ ค่อยๆ สร้างผลดีๆ ตามมา
**คู่ EURNZD**
-เล่น ตามแนวโม้นที่ ยังไม่หลุดจากแนวโน้มเดิม คือ BUY ตามโซนต่างๆที่เรา จิตณาการณ์ไว้
1.-FIbo 50.0 / 61.8 / 78.6 Zone
2.-D/S Zone
3.-QML
แผน SELL ที่ pettern QML ใน TF dayแผน SELL ที่ pettern QML ใน TF day
มีจุด QML 2 จุด แบ่งไม้เข้าได้ 2 จุด
จุดเข้าที่1 ที่ QML1 มี SZ DBD + MPL
จุดเข้าที่2 ที่ QML2 เป็น SZ week RBD + QML
SL เหนือ high เดิม ของจุด QML 2
TP1 ที่ swing low ของ QML2
TP2 ที่ swing low ของ QML1
เนื่องจากใน TF week เป็นขาขึ้น ควรเก็บTP ระยะสั้น
แผนการเทรด AUDCHF***แผนย้อนหลัง บันทึกไว้เพื่อการศึกษา***
AUDCHF 4 Hour - Timeframe
เนื่องจากราคาไม่ทำ Newhigh หรือ Newlow ที่จุด CและD
ทำให้เกิดสามเหลี่ยมปากแคบ Triangle pattern
เข้าเทรดโดย
1. รอราคาทะลุฝั่งใดฝั่งนีง
2. รอ follow ตามช่วงจังหวะ Retest ดังรูป
3. TP จะเท่ากับความสูงของสามเหลี่ยม ลูกศรสีขาว
***แผนย้อนหลัง บันทึกไว้เพื่อการศึกษา***
BNBUSD กรณีศึกษาโครงสร้างคลื่นราคา Dow theotyBNBUSD กรณีศึกษาโครงสร้างคลื่นราคา Dow theoty ณ ปัจจุบันเป็นที่น่าจับตามมองในโครงสร้างคลื่นราคา Dow theory ที่กำลังเข้าสู่ช่วงสุดท้าย Stage 3 Despair สังเกตว่าก่อนหน้านี้มีการปลดปล่อยแรงขายมหาศาล Selling Climax จนทำให้ตลาดมีการซึมซับแรงขายไว้ได้จำนวมากที่ QM + S DZ และจากการเกิด Selling Climax จะเห็นว่าการปรับตัวลงมาของคลื่นราคาขาลง Primary Downtrend นั้น ได้ปรับตัวลงมามากกว่า 70% - 90% แล้ว เมื่อเทียบกับคลื่นราคาขาขึ้นก่อนหน้าที่เป็น Primary Uptrend จึงมองว่าที่โซน QM + S DZ นี้เป็นที่น่าจับตามองว่า การกลับมาของคลื่น Wave 1 ?? จะฟอร์มตัวได้สมบูรณ์หรือไม่ เพื่อจะทำให้ Wave B จบสมบูรณ์ และเป็นการจบ Cycle นี้ หากเป็นเช่นนั้นจริง ราคาอาจจะสร้าง Cycle ใหม่ จากการฟอร์มตัวที่สมบูรณ์ของ Wave 1 และอาจจะเป็นการเริ่มต้นเทรนใหม่ก็เป็นไปได้
Note : Case Study กรณีศึกษา โครงสร้างคลื่นราคา Dow theoty เท่านั้น โปรดใช้วิจารณญาณในการรับข้อมูล
AUDUSD รอเข้าDemand Zone เพื่อ BuyTrading Journal#4 AUDUSD wait for buy
จากภาพจะพบว่า AUDUSD มี2โซนที่น่าสนใจ คือแถวๆ 0.71583 และ 0.70245
แผนคือ เมื่อราคามาที่ 0.71583 ซึ่งเป็น Demand Zone ในอดีต ให้รอสัญญาณคอนเฟิร์มเพื่อเข้า Buy ไม้นี้หากโดน SL จะเข้าแผน2
แผน2 หากไม้แรกโดน SL เราจะรอเข้าไม้ที่ 2 ที่ราคา 0.70245 ซึ่งเป็น QML ขนาดใหญ่ และเป็นจุด D Point Cypher Pattern
Trading Journal#2 อัพเดทแผนเทรดทองTrading Journal #2 (อัพเดท)
ต่อเนื่องจากแผนก่อนหน้า ราคาทองคำได้เบรคแนวรับ 1830 ในแผนลงมาอย่างรุนแรง แผนนี้จึงเป็นอันยกเลิก (ไม่เข้าเทรด เพราะไม่มีสัญญาณ Confirm ใดๆ)
แผนแรกตอนนี้คือการรอให้ราคาลงไปถึงบริเวณ 1779 และรอให้เกิดสัญญาณคอนเฟิร์มจึงเข้าออเดอร์ Buy
เนื่องจากเป็นจุดที่เป็น Confluence Zone (trendline + OB + HMN + Fibo Retrace 50%) และเป็นสวิงโลว์ล่าสุดที่มีนัยสำคัญ ความหมายคือ หากราคายังคงเป็นเทรนด์ขาขึ้นอยู่ จุดนี้คือ Price Structure ที่สำคัญของ Uptrend รอบนี้ การเบรคจุดนี้ลงไป เราจะเปลี่ยนมุมมองของทองคำเป็นขาลงทันที
แผนที่สอง คือมองหาโอกาส Sell โดยมีเป้า TP ที่ 1779 โดยอาจให้ราคาย่อกลับขึ้นมาที่ 1810-1815 หรือ หากราคาเบรคแนวรับ 1800 ลงไปเลย ค่อยรอการกลับมา Retest แล้วเข้า Sell อีกที
**ทุกแผน ทุกโซน แม้มีนัยสำคัญ แต่สำคัญกว่าคือการรอให้เกิดสัญญาณคอนเฟิร์มตามระบบแล้วจึงเข้าออเดอร์
การหาโซนที่จะเล่น อาจเป็นเพียงการมโนตามหลักที่เราเรียนมา แต่การมองหาสัญญาณคอนเฟิร์ม คือการรอคำตอบจากตลาด ว่าราคาจะไปในทิศทางไหน และจะทำให้เราได้เปรียบกว่ามาก
การใช้ Linear Regression แชนแนลLinear Regression แชนแนล เป็นวิธีที่ยอดเยี่ยมในการระบุระดับราคาที่เป็นไปได้ของการเคลื่อนไหวของราคาในอนาคตโดยการสร้างกราฟการแจกแจงแบบปกติของแนวโน้ม
เมื่อใช้เครื่องมือ Regression Trend (อยู่ในแผงรูปวาดภายใต้กลุ่ม "Trend Line Tools") จะมีการเลือกจุดสองจุดบนแนวโน้มโดยทั่วไปจะอยู่ที่จุดเริ่มต้นของแนวโน้มและจุดสิ้นสุดของแนวโน้ม
เมื่อเลือกจุดสองจุดบนแผนภูมิการแจกแจงปกติของชุดข้อมูลจะคำนวณระหว่างจุดที่เลือกสองจุดและแสดงในรูปแบบของ linear regression แชนแนล
เส้นกึ่งกลางในแชนแนลนี้คือเส้น Linear Regression หรือค่าเฉลี่ย และเส้นบนและล่างคือค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานบนและล่างจากค่าเฉลี่ยตามที่กำหนดไว้ในการตั้งค่าของเครื่องมือ (ค่าเริ่มต้นคือ +2 และ -2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากค่าเฉลี่ย)
ความสัมพันธ์ของความสัมพันธ์เชิงเส้นนี้จะแสดงเป็นค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน หรือค่า Pearson’s R ซึ่งสามารถแสดงหรือซ่อนบนแผนภูมิได้โดยเลือกจากเมนูรูปแบบเครื่องมือ
Pearson’s R แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของความสัมพันธ์และทิศทางของมันโดยค่าที่เคลื่อนที่ระหว่าง -1 ถึง 1 เมื่อ Pearson’s R เคลื่อนที่ห่างจากศูนย์มากขึ้น ความแข็งแกร่งของความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างราคาและเวลาจะเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เครื่องมือ Regression Trend Pearson’s R จะถูกกำหนดเป็นค่าสัมบูรณ์ (บวก) เสมอ แต่สามารถระบุทิศทางของแนวโน้มได้ด้วยสายตา
การกลับตัวเข้าหาค่าเฉลี่ย (Mean)
เมื่อ Regression trend มีความสัมพันธ์กันสูงนี่เป็นผลมาจากความสอดคล้องของการเคลื่อนไหวของราคาที่วางตามค่าเฉลี่ย (เส้นกึ่งกลาง) โดยมีจุดน้อยกว่าที่เคลื่อนที่สูงกว่าและต่ำกว่าเส้นค่าเฉลี่ยไปยังระดับค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานบนและล่าง
วิธีหนึ่งในการเทรดโดยใช้ Linear regression แชนแนลคือการเทรดการเคลื่อนไหวของราคาเมื่อมันเคลื่อนตัวออกจาก และกลับไปที่ค่าเฉลี่ย
เมื่อใช้เครื่องมือนี้ สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตคือ แชนแนลที่มีแท่งกราฟจำนวนแท่งมากกว่าและมีความสัมพันธ์กันสูง มีแนวโน้มที่ราคาจะดำเนินต่อไปในแนวโน้มนั้นมากกว่ากราฟที่มีแท่งเทียนเพียงไม่กี่แท่งและมีความสัมพันธ์กันสูง
ควรพิจารณาความยาวนานของแนวโน้มเมื่อทำการเทรดแชนแนลเหล่านี้
ด้วยเครื่องมือ Regression Trend คุณสามารถเริ่มใช้การวิเคราะห์ทางสถิติในกลยุทธ์การเทรดของคุณได้ด้วยการคลิกเพียงไม่กี่ปุ่ม!
BTC - การหา Cluster เพื่อยืนยันแนวโน้มในการกลับตัวเช้านี้มีสภาพที่น่าสนใจ สำหรับการหาแนวโน้มการกลับตัว ด้วย Cluster ที่ประกอบด้วย Tool, Pattern และ Indicator นะครับ
Tool ตัวไหน, Pattern รูปแบบใด พร้อมทั้งสภาพ indicator ลักษณะใดสามารถดูได้จากคลิปเลยนะครับ
โดยผมยกตัวอย่างจาก play ที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบันในการ trade BTC
Cluster ประกอบด้วย:
1. Fibo. Retracement
2. Fibo Extension
3. Andrew - Pitchfork
4. Hidden Bullish
BTC - การหาแนวโน้มการกลับตัวจาก TD Sequential ต่อเนื่องจาก Idea ที่แล้วนะครับ พี่ผมเคยเกริ่นเอาไว้ในเรื่องการใช้งาน indicator ที่เป็นการบ่งบอกถึง "แนวโน้ม" ในการกลับตัวอย่าง TD Sequential
ซึ่งเป็น Free Indicator ที่ดีและมีประโยชน์มากๆ ตัวนึงในกระดานนี้
ดูเนื้อหาจาก Clip แล้วผมขออนุญาตสรุปเอาไว้ตรงนี้ด้วยนะครับ
- TD Sequential คือการเคลื่อนที่ต่อเนื่องกัน "9" แท่งในทิศทางเดียวกัน
- การเคลื่อนที่ขึ้นต่อเนื่อง เมื่อครบ 9 แท่ง จะบ่งบอกถึงสภาพการอ่อนแรงลงในขาขึ้น ในทางกลับกัน 9 แท่งลงติดกันก็จะบ่งบอกถึงการอ่อนแรงในการลง
- การนับ 9 แท่งต่อเนื่องนี้เราเรียกว่าเป็น phase "Setup" (ซึ่งการ Countdown จะยังไม่อธิบายเพราะ ตลาด react กับการ Setup ดีมากพออยู่แล้ว)
- คำว่าเคลื่อนที่ขึ้น 9 แท่งต่อเนื่อง ให้พิจารณา "ราคาปิด" ที่ต้องเหนือกว่า "ราคาปิด" ของ 4 แท่งก่อนหน้า
- การเกิด Perfect Sell Signal คือการที่ "High Price" ของแท่งที่ 8\9 เหนือกว่า "High Price" ของแท่งที่ 6\7
- การเกิด Sell or Buy signal จาก TD Seq. ไม่ใช่เป็นการบอกจุดกลับตัว แต่เป็นการบอก แนวโน้ม ที่อาจจะเกิดการกลับตัว
- การเข้าซื้อต้องรอให้เกิดการ swing ที่ประกอบไปด้วยแท่งเทียน 2-3 แท่งก่อนเท่านั้น ไม่ใช่ซื้อ ณ แท่งที่ 9
- การเข้าซื้อสามารถพิจารณาสภาพ Bull\Bear จาก TF ย่อยเป็นการประกอบได้
ทั้งนี้ขอบคุณ พี่ม้าเฉียวดูหุ้น ที่เคยแชร์ความรู้ indicator TD Seq. นี้มาในการเทรดหุ้นนะครับ