เอาไงต่อดีครับปู่?ถ้าไม่หลุดโซน 1186 และยืนเหนือ 1238 ได้ สถานีต่อไปก็ 1294 ************แต่ถ้าหลุด 1186 ก็ถอยมาตั้งหลัก หาจังหวะใหม่โดย Investor_Tที่อัปเดต: 2
set ที่เปิดโดดเนื่องจากมีทุนมาดันตลาด และไปถึงต้านที่ตีไว้ บวกกับตลาดบ้านเราใกล้หยุดยาว ไม่ควรไล่หุ้น มองตัวที่มีโอกาส วันนี้เล่นไวน่าดีสุด มีโอกาสเบรค 1300.08 หรือจะย่อปิดแก้ป ก็ได้โดย NutaponKo3
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ปัจจัยเสี่ยงระยะสั้น ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆในแดนบวก ตามแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มปตท.แต่กลับมีแรงขายทำกำไรออกมาในหุ้นโรงไฟฟ้าและธนาคาร ดัชนีตลาดปิดที่ 1,282.68 จุด เพิ่มขึ้น 7.69 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาขายสุทธิเล็กน้อย ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (29/4) ปิดตลาดในแดนบวก ตลาดได้รับความหวังจากการผลิตวัคซีนป้องกันโควิด-19 หนุนดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิ่มขึ้น 532 จุด และเฟดยังมีนโยบายคงอัตราดอกเบี้ยไปอีกนาน ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ ขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวต้านถัดไปอยู่ที่ 1,306 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Doji ในเขตซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างในลักษณะจำหน่ายจ่ายแจก (Distribution) สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ และยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,293 – 1,306 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,271 – 1,264 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1
SET : Corrective Scenario1 >> Normal FlatSET : WaveLabel 's Humangraphy Corrective Scenario1 >> Normal Flat (A)(B)(C) Plan1 : แผนกรณีพักตัวแบบ Normal Flat Open Short เมื่อหลุด 2-4 เทรนไลน์ Stop @High Target1 @Wave 4 Target2 @61.8% of Wave(C) และ @wave (B) ตามลำดับลดลงโดย HumanGraphy5
SET index - วิเคราะห์ด้วย relative strength และ Elliott waveจาก wave count คราวก่อน ตอนนี้ ไม่รู้ว่ตรงลูกศร มือ ชี้ จะนับเป็น ((1)) หรือ ((A)) ถ้าเป็น ((1)) แสดงว่าเราจะเป็นขาขึ้น แต่ถ้าเป็น ((A)) แสดงว่าเมื่อชน แถว 1300-1350 เราจะลงไปทำ new low? ส่วนตัวผม bias ว่าไม่น่าจะมีนิวโล เพราะว่าอิงจาก ทฤษฎี Elliott wave wave 4 จะไม่ overlap wave 1 (ยกเว้นกรณี leading/ending diagonal) จากภาพ wave 4 ได้ลงไปเกือบจะชนเวฟ 1 แถว 900 ต้นๆแล้ว และกราฟเดือนได้ปิดเหนือ 50 fib (ถ้าเปิด MA200 จะเห็นว่าเราปิดเหนือเส้น MA200 ซึ่งสนับสนุนว่ายังเป็นขาขึ้น) ส่วนตัวผมที่ซื้อมาแถว SET 1000 คาดว่าต่อให้มี new low แต่ก้แค่ลงเล็กน้อยเท่านั้น คงจะไม่มีการคัทหุ้นทิ้งที่ก้นเหวครับ "ซื้อถูก ขายแพง" คือสิ่งที่ยังมีผลต่อการลงทุนในตลาดช่วงนี้ ในระยะสั้น คิดว่าจบเวฟ e ของ 3 เหลี่ยมเวฟ 4 ความสูง 75 จุด ได้เป้าที่ 1353 ซึ่งเป็น 0.5 fib วัดจาก low ล่าสุด ถึง swing high ปี 2019 พอดี แต่ทั้งนี้ ไอเดียนี้จะผิด ถ้า set ลงมาต่ำกว่าเวฟ C แต่บริเวณ psychological number 1300 เป็นแนว .382 วัดจาก all time high คงมีแรงขายกดลงมาบ้าง ต้องดูกันต่อครับ มาดู Emerging market index มีลักษณะทำ pattern triangle ที่ควรจะ break ขึ้น เมื่อเปรียบเทียบ performance ของ EEM กับ SP500 พบว่าตอนนี้ด้าน relative performance EEM เริ่มกลับมาทำท่าจะ outperform SP500 หมายความว่าควรลงทุนใน emerging market มากกว่า SP500 ด้าน relative strength ของ SET index ของไทย เทียบกับ EEM ตอนนี้ SET ก็ outperform กลุ่ม emerging market แล้ว ทุกครั้งที่ set outperform ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ ก้จะมีการ rally เกิดขึ้น สังเกตจากกราฟข้างล่าง เมื่อเทียบ SET vs SP500 พบว่าตอนนี้ relative performance ได้ทะลุแนวต้านตั้งแต่ 30 ปีก่อน และเมื่อ 2 ปีก่อนแล้ว และเป็นไปได้ว่าหลังจากนี้เรากำลังเข้าสู่การทำฐาน ก่อนที่จะขึ้นไป all time high Fibonacci ratio แสดงให้เห็นว่า performance chart เจอแนวต้านที่ .148 และ .236 มานานหลายปี และเป็นไปได้ว่าภายใน10 ปีเราจะ outperform ขึ้นไปข้างบน เพิ่มขึ้นโดย UNRPPที่อัปเดต: 16
อัพเดท SET INDEX อัพเดท SET ขึ้นไม่ได้ก็ต้องลงมาทำคลื่น b ย่อยก่อน ให้สองเป้า เป้าเบาที่ 38.2% กับเป้าหนัก 61.8%ลดลงโดย Eaw_Neowaveที่อัปเดต: 4
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย จำหน่ายจ่ายแจก ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวออกด้านข้าง ตามแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า และแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคาร ดัชนีตลาดปิดที่ 1,274.99 จุด เพิ่มขึ้น 7.58 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิเล็กน้อยในรอบ 15 วัน ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (28/4) ปรับตัวลดลง ดัชนี Nasdaq รูดลง 122 จุด ตามแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่ม FANG ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง (Sideways) ดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวต้านร่วมอยู่ที่ 1,306 จุด ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างในลักษณะจำหน่ายจ่ายแจก (Distribution) ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ และยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,285 – 1,299 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,265 – 1,256 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1
ถ้าไม่กลับมาแนว คงขอพักก่อนใครที่มานั่งไล่ราคาช่วงบ่ายคงเหนื่อย มีการพยายามให้กลับไปแนวขาขึ้น แต่ก็โดนตบลงมา ถ้าพรุ่งนี้เปิดเหนือ 1282 ได้น่าจะดี แค่ถ้าหลุด 1257 ก็พักก่อน รอฟอร์มตัวใหม่ ต้านนี้จะเหนื่อยๆ โดย NutaponKo1
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ทดสอบแนวต้านทางเทคนิคัล ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ จากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า และแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,267.41 จุด เพิ่มขึ้น 8.63 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 14 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (27/4) ปิดตลาดในแดนบวก ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิ่มขึ้น 358 จุด นักลงทุนขานรับการยกเลิกมาตรการล็อกดาวน์และหันมาเปิดธุรกิจ ขณะที่ราคาน้ำมันดิบ WTI ปรับตัวลดลง 24 เปอร์เซ็นต์ และการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ยังดำเนินต่อไป ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Star ในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน แรงขายที่มีออกมาจะกดดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,200 จุด ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,280 – 1,292 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,256 – 1,241 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1
sell in may รอบนี้จะมีอีกหรือไม่sell in may วัดสถิติ ถึงปี 2007 เดือน พ.ค. 13 ครั้ง ปรากฏว่า เดือน พ.ค.ขึ้นเพียง 4ครั้ง ลง 9 ครั้งโดย MasterTraderist5
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ระวังเปิดสูงปิดต่ำ แรงขายที่มีออกมาในช่วงบ่าย กดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,258.78 จุด ลดลง 13.75 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.87 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,184 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 13 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (24/4) ปิดตลาดในแดนบวก ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 260 จุด ขานรับราคาน้ำมันดิบที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นและได้รับแรงหนุนจากหุ้นเทคโนโลยี ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Engulfing ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณทางเทคนิคัลที่เริ่มกลับมาเป็นลบ จะกระตุ้นแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน แรงขายที่มีออกมาจะกดดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,200 จุด ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,269 – 1,280 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,248 – 1,234 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv3
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย สัญญาณซื้อมากเกิน แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,272.53 จุด เพิ่มขึ้น 10.72 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 12 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (23/4) ตลาดเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเล็กน้อย เนื่องจากข่าวล้มเหลวการทดลองยาต้านโควิด-19 และยอดขอรับสวัสดิการว่างงานพุ่งขึ้นแตะ 4.4 ล้านราย ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างและมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้ 38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด 50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ 61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 860 – 870 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 838 – 825 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv116
SET : ย้อนมอง Price Pattern จากช่วงวิกฤต subprime และต้มยำกุ้งSET : ย้อนมอง Price Pattern จากช่วงวิกฤต subprime และต้มยำกุ้ง ================= ตลาด มักจะเคลื่อนที่ในรูปแบบเดิมๆ ดังนั้น การมองรูปแบบของราคาในอดีต เพื่อช่วยในการตัดสินใจเข้า order ก็น่าจะปลอดภัยกว่า.. โดยในวันนี้ผมจะมานั่งวิเคราะห์รูปแบบของ Weekly Price Pattern ในช่วงวิกฤตใหญ่ของตลาดหุ้นไทยที่ผ่านมา นั่นก็คือ ช่วงวิกฤต subprime ปี 2008 และวิกฤตต้มยำกุ้ง ปี 1998 ครับ 1) วิกฤต sub prime ปี 2008 ถ้าเราดูโดยใช้ MACD เพื่อระบุ trend ขาลง เราจะเห็นได้ว่า จุดที่เริ่ม confirm trend ขาลง คือ MACD < 0 ที่แถวๆ ช่วงวันที่ 23 มิ.ย. 2008 และลากยาวไปจน MACD เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน ที่แถวๆ 7 เม.ย. 2009 โดยใช้เวลาทั้งสิ้น 288 วัน ในการสร้างฐานราคา จากรูป จะเห็นได้ว่า เราเห็นแท่งแดงยาวๆ ใหญ่ๆ จาก 580 ลงมา 446 ในเวลาเพียงแค่อาทิตย์เดียว และหลังจากนั้นก็มีการลงต่อไปเรื่อยๆ จนทำ double bottom แล้วเด้งกลับ ในการเด้งกลับ ถ้าวัดแล้ว เราจะเห็นได้ว่า มันขึ้นจาก 380 ไปสูงสุดที่ 480 หรือชนเส้น EMA 18 แล้วก็ร่วงลงมาต่อ ที่ 400 .. ถ้าว่ากันตามรูปแบบของเวฟ ตรงนี้ก็คือ เวฟ 1-2 แบบ classic เลย เพราะมันเด้งแล้วย่อมาถึงแนว fibo 0.618 โดยไม่ทำ new low ซึ่ง ตรง 400 นี้ น่าจะเป็นจุดเริ่มทยอยเข้าหุ้น แบบคุมความเสี่ยง โดยถ้า SET หลุด low 380 weekly ก็หนีต่อ นั่นเอง ( จะเห็นได้ว่า เสี่ยงแค่นิดเดียว ) ถ้ากลัวโดนหลอก เราสามารถรอเข้าตอนปิดวีค แท่งน้ำเงิน เหนือ EMA 18 + Action Zone ก็ได้เช่นกัน หลังจากนั้น ตลาดหุ้นก็ขึ้นยาว.. 2) วิกฤตต้มยำกุ้ง ปี 1996-1998 วิกฤตรอบนี้เกิดจากไทยโดยตรง ทำให้กว่าจะฟื้นได้ก็ใช้เวลานานมาก แถมหลังจากนั้นก็เจอ วิกฤตดอตคอม มาซ้ำเติมอีก รอบนี้ ตลาดหุ้น ลงจาก 1300 จุด ตอน MACD เริ่มวิ่งใต้ 0 และมาจบ เจอ bottom จริงๆ ตรง 200 จุด โดยใช้เวลาทั้งสิ้นถึง 882 วัน ( 2 ปีกว่า ) ถ้าเราสังเกตุกราฟ จะเห็นได้ว่า มีการ "เด้งหลอก" บ่อยมากๆ โดยจุดที่เด้งหลอกแบบรุนแรงมาก มีอยู่สองจุดด้วยกันคือ 2.1) เด้งหลอก ครั้งที่ (1) มิ.ย. 97 : ขาดทุนประมาณ 3-4% มีการเด้งมาในโซน EMA 18 + แล้วหลังจากนั้นก็มีการย่อลงไปที่ 0.786-0.887 fib แต่ทว่า ก็ไม่สามารถไปต่อ และกราฟปิดวีคด้วย new low และหลังจากนั้นก็มีการลงต่อยาว โดยช่วงหลังจากเด้งหลอกไปจนถึงการทำ new low ใช้เวลาทั้งสิ้น 133 วัน ( สี่เดือนกว่า ) 2.2) เด้งหลอก ครั้งที่ (2) ม.ค. 98 : ขาดทุนประมาณ 3-4% การเด้งหลอกรอบนี้ น่าจะถือว่าเป็นการเด้งหลอกที่สุดแสบก็ว่าได้ เพราะว่า - เด้งขึ้นมาจาก จุดต่ำสุดที่ 338 ขึ้นไป 500 ในเวลาเพียง 3 อาทิตย์ หรือขึ้นไปทั้งหมดเกือบ 47% - ปิดแท่งสวย ด้วยการปิดเหนือ EMA 18 + action zone พร้อม bear div ก่อนหน้า - จุด buy แรก ถ้าตามระบบ เราก็ต้องเข้า แต่ก็จะเห็นได้ว่า ไม้นี้ ถ้าต้อง Stop ก็จะต้อง stop ถึง -31% ( ยังไม่นับหุ้นรายตัว ) ทำให้ ถ้าเราต้องเข้าจริงๆ ก็ต้องเข้าได้แค่นิดเดียว - จุด buy ที่สอง ที่ตรง 0.786 จะเห็นได้ว่า วีคถัดไปมันก็ลงต่อยาวเลย จนสุดท้ายก็ไปทำ new low ซึ่งถ้าตามระบบก็ต้อง stop ทุกไม้ออกมาดูลาดเลาก่อน 2.3) เด้งแล้วขึ้นจริง และไม่กลับมาอีกเลย หลังจากหลอกคนให้หมดตัว หรือขาดทุนหนักกันไปสองรอบ ทำให้การดีดรอบนี้ คนน่าจะระแวง และถอดใจกับหุ้นไทยกันไปเยอะมาก โดยการดีดรอบนี้ ขึ้นมาจาก bottom ที่ 200 ไปที่สัญญาณ buy แรก ถึง +57% ( สัญญาณ buy แรก คือ แท่งวีค ปิดเหนือ EMA18 + Action zone ) ซึ่งถ้าเราเข้าแบบคุมเสี่ยง 1% สำหรับไม้แรก เราก็จะเข้าได้แค่เพียง 2.7% ของพอร์ตเท่านั้น และถ้าเรารอให้ Action Zone Weekly เขียว แล้วค่อยเข้า อีก risk 1% เราก็จะเข้าได้อีกแค่ 2.5% ของพอร์ตเท่านั้น รวมเบ็ดเสร็จแล้วประมาณ 5% ของพอร์ตใหญ่เท่านั้น จะเห็นได้ว่า เอาจริงๆ ก็เข้าได้ไม่มาก ถ้าต้องคุมความเสี่ยง เพราะถ้าเราเข้าแบบไม่ยอมคุม เราก็จะขาดทุนหนักไปตั้งแต่การดีดหลอกสองครั้งแรกแล้ว และถ้าเราต้องไปออกตอน Action Zone แดงแรก ตอน ตุ.ค. 99 เราก็จะได้กำไรแค่ +19% เท่านั้น .. และหลังจากนั้นเราก็จะโดนสับขาหลอกอีกรอบ เพราะวิกฤต ดอตคอม..ที่ทำให้ตลาดซึมไปอีกเกือบปี ซึ่งพอเข้ามาเจอวิกฤตดอตคอม เราก็จะเห็นได้ว่า กราฟก็ทำ pattern เดิมๆ อีกแล้ว นั่นก็คือ ลง แล้วก็เด้งหลอก แล้วก็ลงต่อแล้วก็เด้งหลอกอีกที กว่าจะลงสุดจริงก็ปาเข้าไปเกือบปี แถมหลังจากนั้นก็ sideway ต่ออีกปีกว่า กว่าจะพอเริ่ม take off จริงได้ สรุปสิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากการนั่งไล่ดูกราฟย้อนหลัง 1) ตอนลง ยังไงก็จะมีเด้งกลับ แต่ก็มักจะเป็นการเด้งหลอก 2) กว่ากราฟจะสร้างฐานเสร็จ มันใช้เวลา ไม่ต้องรีบร้อนเข้าก็ได้ เอาง่ายๆ แค่จากช่วงต่ำสุด มาช่วงยกโลว สัญญาณเข้าซื้อแรก ยังใช้เวลาเป็นเดือนๆ 3) ถ้าตกรถไม่ทันเวฟ 2 ก็จะยังมีจุดเข้าน่าสนใจคือ กราฟวีค ปิดเหนือ EMA 18 + Action zone + break out เหนือ high เดิมได้อีก 4) ในการเข้าซื้อทุกครั้ง ต้องมีแผนคุมความเสี่ยง แหละจุดยอมแพ้เสมอ เพราะอย่างตอนต้มยำกุ้ง จะเห็นได้ว่า พอกราฟมันย่อแล้วทำ new low มันก็ลงต่อแรง 5) เป็นไปได้ควรแบ่งไม้เป็นสองไม้ คือไม้ที่เข้าซื้อตอน week ปิดเหนือ EMA 18 + Action Zone แบบแรงๆ 1 ไม้ และไม้สองเข้าตอนมันย่อลง 0.618-0.786 โดยทั้งสองไม้นี้ จะต้องออกถ้าราคาปิด week new low ห้ามอิดออด และสองไม้นี้ max risk ควรอยู่ประมาณ 3-4% 6) มันก็มีบางจังหวะที่ขึ้นแล้วขึ้นไปเลยเหมือนกัน ดังนั้น จุดสำคัญคือ ไม้สองต้องเป็นไม้ที่ค่อนข้าง flexible และพร้อมเข้าถ้ามีสัญญาณซื้อแบบจริงๆ ( new high หรือ action zone เขียว ) 7) ตอนนี้ได้ไอเดียคร่าวๆ เกี่ยวกับการดูกราฟ week แต่สุดท้าย เราก็ต้องไปดูหุ้นรายตัว หรือเทรดใน TF Daily อยู่ดี ซึ่งก็ต้องมาดูกันต่อไปว่า ระบบนี้ จะให้ผลที่ดีได้หรือไม่โดย Real_inwCoin118
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย แนวต้าน 1,300 – 1,306 จุด ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก จากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า ดัชนีตลาดปิดที่ 1,261.81 จุด เพิ่มขึ้น 8.89 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.67 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 11 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (22/4) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 456 จุด หลังราคาน้ำมันดิบเวสต์เท็กซัสปรับเพิ่มขึ้น 20 เปอร์เซ็นต์ หลังจากดิ่งลงในแดนลบ ตลาดยังถูกครอบงำจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างและมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้ 38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด 50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ 61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,273 – 1,285 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,247 – 1,234 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1
set เด้งพรุ่งนี้น่าจะปิดแก้ป เบรคขึ้นไปก่อน แล้วย่อในวันศุกร์ ถ้าย่อไม่หลุด 1246.63 ก็ยกอย่างสวยงามโดย NutaponKo1
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ราคาน้ำดิบล่วงหน้าติดลบ ราคาน้ำมันดิบ TWI ล่วงหน้าดิ่งลง ฉุดราคาหุ้นกลุ่มพลังงานในตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง ส่งผลให้ดัชนีดาวโจนส์ประจำวันอังคาร (21/4) ทรุดตัวลง 631 จุด ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,252.92 จุด ลดลง 13.48 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.86 หมื่นล้านบาท ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 10 ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Harami ขาขึ้นในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้ 38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด 50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ 61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,267 – 1,281 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,237 – 1,222 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
Bottom of SETshort projection of w.5 after long w.3 , we can find bottom of SET as per above picture.ลดลงโดย jokenakrub7ที่อัปเดต: 3
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ราคาน้ำมันดิบดิ่งลงติดลบ ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (20/4) ปรับตัวลดลง ดาวโจนส์รูดลง 592 จุด ตลาดได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ในสหรัฐ และราคาน้ำมันดิบ WTI ล่วงหน้าทรุดตัวลงติดลบ ดัชนีตลาดหุ้นไทยได้รับผลดีจากการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19 ชะลอตัว จนนำไปสู่การเปิดภาคธุรกิจ ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,266.40 จุด เพิ่มขึ้น 27.16 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.7 หมื่นล้านบาท ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขาย ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 9 ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้ 38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด 50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ 61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,281 – 1,299 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,251 – 1,236 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv113
บ่ายน่าย่อ แนวรับทดสอบว่าเอาอยู่หรือไม่ตอนนี้มาวัดใจที่ 1248.23 ยืนอยู่หรือเบรคกลับไปได้ ก็น่าไปต่อโดย NutaponKo2
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ยิ่งสูงยิ่งหนาว แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,239.24 จุด เพิ่มขึ้น 39.09 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.89 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิออกมาเล็กน้อย ความหวังในยาและวัคซีนป้องโควิด-19 กระตุ้นความเชื่อมั่นนักลงทุนย่านวอลล์สตรีท ที่จะเห็นการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐ ส่งผลให้ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 704 จุด ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนและมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,267 จุด หลังดัชนีอ่อนตัวลงปิดช่องว่าง (Filling the gap) ที่ 1,184 – 1,150 จุด และมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (1267/969 จุด) อยู่ที่ 1,153 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ จะกระตุ้นแรงขายระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้ 38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด 50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ 61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบ ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,253 – 1,267 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,226 – 1,210 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1