SET H1 ปรับตัว Flat ต้าน 1320 รับ 1300SET H1 ตลาดหุ้นไทยกระชากขึ้นไปวานนี้ ท่อนล่าสุดมีลักษณะ 3 คลื่น ตั้งชื่อเป็น B ไว้ก่อนซึ่ง B นี้ไปติดที่ระดับ 123.6% ของท่อน A หากดัชนีไปไม่เกิน 138.2% ของ A ราว 1320 แล้วย้อนกลับมาต่ำกว่า 1300 มีโอกาสเป็นปรับลงเป็น Actionary Wave C ครับลดลงโดย Tanakorn_Koomrampai_CMT_CFTe11
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ระยะสั้นเสี่ยง แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ขานรับตลาดหุ้นนิวยอร์กที่กลับมาร้อนแรง ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,309.95 จุด เพิ่มขึ้น 23.42 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.88 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินและสัญญาณ Bearish Divergence จะทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 12 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (19/5) ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 390 จุด หลังข้อมูลการผลิตวัคซีนต้านโควิด-19 ของบริษัท Moderna ยังขาดข้อมูลที่พอเพียง ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (Gap) ทะลุผ่านแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,303 จุด และปิดขึ้นเหนือแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,306 จุด ขึ้นมาทำจุดสูงที่ 1,318 จุด แท่งเทียนเกิดเป็นสตาร์ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีโอกาสพักตัวลง สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ระยะสั้นควรระวังดัชนีเปิดสูงปิดต่ำ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเป็นคลื่น II,E ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นเป็นคลื่น i) โดยมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement 1,306 จุด เป็นเป้าหมาย และดัชนีตลาดจะพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ และดัชนีตลาดต้องปรับลดลงไม่ต่ำกว่า 969 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก สัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นจะเผชิญแรงขาย ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,317 – 1,330 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,301 – 1,290 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
SET 1302 ยืนได้ ก็ไปต่อSET ใช้สูตรกระโดดข้ามต้าน 1300 กว่าๆ ที่เทสมาหลายรอบ จากข่าวบวกเรื่องการทดลองวัคซีนป้องกันไวรัส ยื้อรอข่าว ข่าวบวกมา โดดข้ามต้าน สูตรนี้ใช้มาหลายครั้ง จนขาแช่งท้อใจ แต่เอาละ สายเทคนิค ก็ต้องเชื่อเทคนิค เอาเป็นว่า ตามเทคนิคล้วนๆ ถ้าหลุดแนวรับแถว 1302 (ต้านเดิม) ลงมา ชุดที่วิ่งชึ้นไปเทส 1315 (Fibo 127.2%) นั้น ก็จะกลายเป็น False break ทันที แต่ถ้ายืนได้ ไม่หลด และอาศัยช่วงชุลมุนบินข้าม 1315 ได้อีกละก็ หึ หึ หึ ไปได้อีกไกลเลยทีนี้ ว่าว ที่ไม่มีลมต้าน คนชัก พยายามวิ่งต้านลมให้มากที่สุด พอลมมันพัดจนติดลมบนแล้ว มันลงยากจริงๆ หลายคน รวมทั้งผมมองว่า มันจะไหวเร๊อะ แต่ถ้าผ่านแนว 1315 ไปได้ ไม่เชื่อ ก็ต้องเชื่อละว่า.....กุตกรถ!!!!! เพิ่มขึ้นโดย cyberpop14
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย แรงส่งจากตลาดหุ้นนิวยอร์ก ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (18/5) ความหวังจากการผลิตวัคซีนต้านโควิด-19 ปลุกความเชื่อมั่นนักลงทุนให้หันเข้าซื้อหุ้น หนุนดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 911 จุด ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ดัชนีตลาดหุ้นไทยได้รับแรงหนุนจากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มพลังงาน หลังราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปรับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดัชนีตลาดปิดที่ 1,286.53 จุด เพิ่มขึ้น 5.18 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.58 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 11 ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง โดยมีจุดสูงเก่าที่ 1,303 จุดทำหน้าที่เป็นแนวต้าน ดัชนีเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,252 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีระยะสั้นอยู่ในช่วงพัก หากดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,252 จุด ดัชนีตลาดจะพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,174 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเป็นคลื่น II,E ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นเป็นคลื่น i) โดยมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement 1,306 จุด เป็นเป้าหมาย และดัชนีตลาดจะพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ และดัชนีตลาดต้องปรับลดลงไม่ต่ำกว่า 969 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ และสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลง ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 867 – 873 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 850 – 842 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย สัญญาณกลับตัว Double Top แรงขายที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด กดดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดที่ 1,280.76 จุด ลดลง 0.36 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 10 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (15/5) ปรับตัวขึ้นแคบๆ ดัชนีหลักปรับตัวขึ้นเล็กน้อยแต่ทั้งสัปดาห์ปรับลดลง จากการรายงานตัวเลขเศรษฐกิจที่ย่ำแย่และความตึงเครียดระหว่างจีนและสหรัฐเริ่มกลับมา ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางแกว่งตัวลง หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,303 จุด เกิดสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ทำให้ดัชนีระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,252 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีระยะสั้นอยู่ในช่วงพัก หากดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,252 จุด ดัชนีตลาดจะพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,174 จุด จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มพักจัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) หลังจากดัชนีปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 969 จุด กรณีที่ดัชนีปรับตัวลงเป็นคลื่นปรับ จะมีแนวรับที่เกิดจากนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ สัญญาณ RSI เกิดเป็น Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มมากขึ้น ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,290 – 1,300 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,270 – 1,259 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ระยะพักตัว แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงปิดที่ 1,280.40 จุด ลดลง 14.15 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.66 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ และเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขายและมีโอกาสปรับตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 9 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (14/5) ตลาดแกว่งตัวผันผวน ตลาดทรุดตัวลงในช่วงเปิดตลาด แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มธนาคารหนุนดัชนีดาวโจนส์กลับมาปิดในแดนบวก ปรับเพิ่มขึ้น 377 จุด ดาวโจนส์สวิง 800 จุด ตัวเลขการว่างงานปรับเพิ่มขึ้น ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,303 จุด ดัชนีตลาดเกิดรูปแบบ Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงหรือแกว่งตัวออกด้านข้างในทางลง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ สัญญาณ RSI เกิดเป็น Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มมากขึ้น ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,290 – 1,300 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,270 – 1,257 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย Harami ขาขึ้น ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบจากตลาดเกิดภาวะซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดปิดที่ 1,294.55 จุด ลดลง 5.14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.2 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขาย ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 8 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (13/5) ปรับตัวลดลง หลังประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เตือนว่าเศรษฐกิจสหรัฐมีความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่างขาลงที่ 1,287 – 1,297 จุด โดยมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,306 จุดเป็นแนวต้านร่วม แท่งเทียนเกิดเป็น Harami ขาขึ้น ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI มีสัญญาณของ Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มมากขึ้น ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,306 – 1,317 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,283 – 1,274 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
แนวทดสอบแนวรับ 1293แนวนี้น่าจะเป็นแนววัดใจเขย่าเม่า หากออกข้างยืนอยู่แถวนี้ ไม่บ่ายนี้ก็พรุ่งนี้น่าเทส 1301.74 อีกที หากทะลุแล้วยืนได้ หุ้นน่าจะวิ่งหลายตัว วันนี้น่าจะเป็นคิวหุ้นเล็กก่อนโดย NutaponKo2
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ทดสอบแนวต้านที่ 1,306 จุด นักลงทุนกลับเข้าซื้อหุ้นกลุ่มนำตลาด หลังมีสัญญาณผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ขั้นที่สอง ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,299.69 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 12.39 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน และสัญญาณ Bearish Divergence จะทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 7 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (13/5) ปรับตัวลดลง นักลงทุนกังวลถึงการเปิดดำเนินธุรกิจเร็วเกินไป จะส่งผลให้เชื้อโควิด-19 กลับมาระบาดรอบสอง แรงขายที่มีออกมาฉุดดาวโจนส์ปรับตัวลง 457 จุด และ Nasdaq ปรับลดลง 189 จุด ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่างที่ 1,287 – 1,297 จุด โดยมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,306 จุดเป็นแนวต้านร่วม สัญญาณกลับตัวรูป Isolated Island จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขาย สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI มีสัญญาณของ Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มมากขึ้น ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,306 – 1,317 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,287 – 1,277 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv3
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ตอบรับมาตรการผ่อนคลาย แรงซื้อกลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หลังมีสัญญาณผ่อนคลายทางเศรษฐกิจรอบสอง ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,287.30 จุด เพิ่มขึ้น 21.28 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.68 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นจะเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ ขณะที่ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (11/5) ปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 109 จุด จากความกังวลว่าเชื้อโควิด-19 จะกลับมาระบาดรอบสอง ขณะที่ดัชนี Nasdaq ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ที่ 1,287 – 1,297 จุด โดยมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,306 จุดเป็นแนวต้านร่วม สัญญาณกลับตัวรูป Isolated Island จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขาย สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,297 – 1,306 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,277 – 1,266 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
รัดเข็มขัด อาจมีตกหลุมอากาศหากหลุดแท่งเทียน 1287 น่าจะมีการตกหลุมอากาศเกิดขึ้น แต่ถ้าทนยื้อออกไปอีกผ่านไปได้น่าจะมีเล่นรอบเด้งอีกที ต้านเดิม 1301โดย NutaponKo114
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย Filling the Gap แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นและปิดที่ 1,266.02 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 8.04 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.4 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 5 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (8/5) ตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก จากการที่นักลงทุนตีความว่าเศรษฐกิจสหรัฐจะกลับมาเปิดดำเนินการ หลังตัวเลขการว่างงานแตะระดับ 30 ล้านคน ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) หลังจากดัชนีตลาปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Isolated Island ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,277 – 1,287 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,254 – 1,245 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv2
SET wait for bullish divergenceลองย้อนดูเรื่องไดเวอร์เจนของ SET บ้าง โดยที่ TF month ณ จุดกลับตัวต่างๆ เทียบกับ idicator Woody พบปรากฏตามรูปที่แสดงไว้ ลดลงโดย jokenakrub72
SET Index - พฤษภาคม 2563 ตอนนี้หากหลุด 1255 เราคงลงไปพักข้างล่าง แต่ถ้าอยู่เหนือ 1255 เป้าข้างบนคือ 1350-1400 ถ้าจะขึ้นต่อโดยที่ไม่มี new lowคิดว่าไม่หลุดเส้นดำข้างล่าง ถ้าหลุดจะน่าเป็นห่วงว่ามีนิวโลเพิ่มขึ้นโดย UNRPPที่อัปเดต: 282812
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นลบ สัญญาณทางเทคนิคัลที่กลับมาเป็นลบ กดดันให้เกิดแรงขายออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงปิดที่ 1,257.98 จุด ลดลง 20.65 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นพักตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 4 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (7/5) นักลงทุนตอบรับการเปิดดำเนินการธุรกิจ แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี หนุนดัชนี Nasdaq ปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก และเป็นการปิดบวกของปี ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 211 จุด ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 และตัวเลขการว่างงานแตะ 33.5 ล้านคน ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่สอง หลังดัชนีตลาปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Isolated Island ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,301 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement จะได้แนวรับที่ 1,174 จุด, 1,135 จุด และ 1,096 จุด ตามลำดับ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,271 – 1,281 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,246 – 1,234 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv3
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ระยะพักตัว สัญญาณเศรษฐกิจที่ชะลอตัวและผลประกอบการไตรมาสสองที่ทรุดลง ทำให้นักลงทุนนำหุ้นออกเทขายเพื่อลดความเสี่ยง ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดที่ 1,278.63 จุด ลดลง 23.03 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.18 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (6/5) ปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง ดัชนี Nasdaq ปรับตัวเพิ่ม 45 จุด จากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ขณะที่ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 213 จุด หลังตัวเลขเศรษฐกิจ GDP ไตรมาสสอง ปรับลดลง 18% ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำแบบมีช่องว่าง (Gap) ทั้งขาขึ้นและลง ดัชนีตลาดเกิดรูปแบบกลับตัวเป็น Isolated Island ในเขตซื้อมากเกิน หลังดัชนีตลาปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นพักตัวลง สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างในทิศทางลง (Sideways down) จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงหลังดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,300 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นจะเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,289 – 1,301 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,267 – 1,255 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv1
SETindex 1997, 2020 (BOT) BANK OF THAILAND YEAR GDP 1992 9.2 1993 8.7 1994 8.0 1995 8.1 1996 5.7 1997 -2.8 * 1998 -7.6 * 1999 4.6 2000 4.5 2001 3.4 2002 6.1 2020 -6.7 (Projected Real GDP,IMF) * 2019 2.4 2018 4.2ลดลงโดย APINTHASEMที่อัปเดต: 3
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย ทดสอบแนวต้าน 1,306 จุด แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ดัชนีตลาดปิดที่ 1,301.66 จุด เพิ่มขึ้น 18.98 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (4/5) ปิดตลาดในแดนบวก หลังดัชนีดิ่งลงในช่วงเปิดตลาด แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีเป็นปัจจัยหนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ปัจจัยทางเทคนิค จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (อาจเป็น Breakaway gap หรือ Exhaustion gap) ดัชนีตลาดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวต้านถัดไปอยู่ที่ 1,306 จุด ดัชนีตลาดเกิดเป็น Star ในเขตซื้อมาก สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ และจะยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดเหนือแนวต้านที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดทรุดตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,307 – 1,317 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,293 – 1,281 จุด กลยุทธ์การลงทุน ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุดโดย prajobv3