Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะปรับฐาน
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลงทดสอบแนวรับของเส้นแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางและมีแนวรับ 38.2% Fibonacci retracement ที่ 1,696 จุดเป็นแนวรับร่วม แท่งเทียนเกิดเป็น Harami ในเขตขายมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดมีการปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลสลับกับการปรับตัวลง
ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลาง โดยมีแนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci retracement อยู่ที่ 1,696 จุด, 1,675 จุด และ 1,653 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) โดยมีเส้นแนวรับอยู่ที่ 1,675 จุด และ 1,653 จุด ตามลำดับ (แนวรับเหล่านี้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,584 จุด กับจุดสูงที่ 1,765 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับด้วย Fibonacci ratio จะได้แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci retracement อยู่ที่ 1,696 จุด, 1,675 จุด และ 1,653 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ซึ่งจะทำให้เกิดแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีการปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลสลับกับการปรับตัวลงต่อ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,705 – 1,712 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,687 – 1,680 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต และจะกลับเข้าซื้อหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
หลุด 1,700 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดิ่งลงทดสอบแนวรับของเส้นแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางที่ 1,700 จุด และมีแนวรับ 38.2% Fibonacci retracement ที่ 1,696 จุดเป็นแนวรับร่วม ระยะสั้นหากดัชนีตลาดไม่สามารถยืนเหนือแนวรับได้ สัญญาณทางเทคนิคัลจะเป็นลบเพิ่มมากขึ้น ดัชนีตลาดจะมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,675 จุด และ 1,653 จุด ซึ่งเป็นแนวรับของ 50.0% และ 61.8% Fibonacci retracement
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) โดยมีเส้นแนวรับอยู่ที่ 1,675 จุด และ 1,653 จุด ตามลำดับ (แนวรับเหล่านี้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,584 จุด กับจุดสูงที่ 1,765 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับด้วย Fibonacci ratio จะได้แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci retracement อยู่ที่ 1,696 จุด, 1,675 จุด และ 1,653 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ซึ่งจะทำให้เกิดแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีการปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลสลับกับการปรับตัวลงต่อ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,705 – 1,712 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,687 – 1,680 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต และจะกลับเข้าซื้อหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Filling The Gap
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดทรุดตัวลงทดสอบแนวรับของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด ดัชนีตลาดหลุดแนวรับของเส้นคอ (Neckline) แบบมีช่องว่าง (Gap) จะทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อปิดช่องว่าง (Filling the gap) ก่อนที่จะปรับตัวลงต่อ โดยมีเส้นแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางเป็นแนวรับอยู่ที่ 1,700 จุด+/-
ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในช่องแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดมีแนวรับ 38.2% Fibonacci retracement อยู่ที่ 1,696 จุด (คำนวณระหว่างจุดต่ำที่ 1,584 จุดกับจุดสูงที่ 1,765 จุด)
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) และกำลังปรับตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) โดยมีเป้าหมายของคลื่นอยู่ที่ 1,700 – 1,696 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับของเส้นแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางที่ 1,700 จุด+/-
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,735 – 1,740 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,722 – 1,716 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต และจะกลับเข้าซื้อหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI
ระยะสั้นดัชนีตลาดอาจปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างที่ 1,735 – 1,741 จุด ก่อนที่จะปรับตัวลงต่อ
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แนวรับ 1,730 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเป็นวันที่สอง หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,766 จุด หากดัชนีตลาดไม่สามารถยืนเหนือแนวรับของเส้นคอ (Neckline) ที่ 1,735 จุด จะเป็นการยืนยันสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ที่เกิดในเขตซื้อมากเกินร่วมกับสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด
ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้นและมีเส้นแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางเป็นแนวรับอยู่ที่ 1,700 จุด+/-
จากกราฟรายวัน กรณีที่ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,735 จุด จะเป็นสัญญาณยืนยันการจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) โดยคลื่น v) เป็นคลื่นหดตัว (Truncation wave) ซึ่งจะทำให้การปรับตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) มีโอกาสปรับตัวลงแรงเข้าหาแนวรับที่ 1,730 จุด และ 1,700 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบ ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นบวก (สัญญาณ MACD มีโอกาสที่จะเป็นลบสูง) ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,730 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,748 – 1,753 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,735 – 1,730 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต และจะกลับเข้าซื้อหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
หลุด 1,750 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,755 จุด ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำสัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นลบ หากดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือแนวรับของเส้นคอ (Neckline) จะเป็นสัญญาณยืนยันการกลับตัวลงแบบ Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI จะทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด
ดัชนีตลาดปรับตัวลงด้วยมูลค่าการซื้อขายที่เพิ่มขึ้น ตอกย้ำถึงสัญญาณลบและดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลง และมีเส้นแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวรับอยู่ที่ 1,700 จุด+/-
จากกราฟรายวัน กรณีที่ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,735 จุด จะเป็นสัญญาณยืนยันการจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) โดยคลื่น v) เป็นคลื่นหดตัว (Truncation wave) ซึ่งจะทำให้การปรับตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) มีโอกาสปรับตัวลงแรงเข้าหาแนวรับที่ 1,730 จุด และ 1,700 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวอยู่ในเขตซื้อมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish divergence ตอกย้ำว่าดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปลายตลาดขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,755 – 1,762 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,740 – 1,735 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ควรปรับพอร์ตถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต และจะกลับเข้าซื้อหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระวังเปิดสูงปิดต่ำ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด แท่งเทียนเกิดเป็นกลุ่มของ Shooting Star ตามด้วย Hanging Man และสตาร์ในเขตซื้อมากเกิน สะท้อนถึงการเกิดแนวต้าน โดยมีจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุดทำหน้าที่เป็นแนวรับ
ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้นและมีแนวต้านอยู่ที่ 1,795 จุด ภาวะซื้อมากเกินและความเสี่ยงที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัล จึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) โดยคลื่น v) มีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,795 จุด+/- ก่อนที่จะพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) โดยมีจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุดเป็นแนวรับหรือเป้าหมายในการพักตัวลง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,766 – 1,770 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,755 – 1,750 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะปรับพอร์ตเพื่อถือเงินสดเพิ่มช่วงที่ดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,766 – 1,770 จุด ควรถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์
JFIN Coin จะพา JMART ทะยาน-:- CONDITIONS -:-
1. BULLISH DIVERGENCE
2. HIGHER LOW
3. HIGHER HIGH
#มีข่าวกับAIS>> bit.ly
#State2
#จบC
#JMART
#JFINCoin
จบเวฟ C มี bullish divergence
ทำเวฟ 1 และย่อ เวฟ 2 อยู่ระหว่าง 61.8 และ 78.6
ปัจจุบันกำลังฟอร์มตัวเวฟ 3
รอสัญญาณเขียวของชมรมเพื่อทะยอยซื้อ
ถ้าเบรค 9.75 ได้และยังคงยกโลว์อยู่ให้เพิ่มน้ำหนักในการลงทุน
เป้าหมายคือเวฟ 3 ที่ 161.8 ของ fibo คือแถวๆ 13 บาท
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Hanging Man
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเข้าหาแนวต้านของเป้าหมาย 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Hanging Man ตามหลังแท่งเทียนที่เกิดเป็นกลุ่มของ Shooting Star ในเขตซื้อมากเกิน มูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางอ่อนตัวลงเข้าหาแนวรับที่เกิดจากจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด
ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในช่องแนวโน้มขาขึ้น ภาวะซื้อมากเกินและเสี่ยงที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวไปตามช่องแนวโน้มขาขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) ขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v) หลังจากที่ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,780 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลงสลับกับการปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,759 – 1,766 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,747 – 1,740 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ปลายสัปดาห์นี้ตลาดมีแนวโน้มที่จะทำราคาปิดประจำไตรมาสสาม (Window dressing) ควรหาจะหวะปรับพอร์ตเพื่อถือเงินสดเพิ่ม (40 เปอร์เซ็นต์) ช่วงที่ราคาหุ้นปรับตัวขึ้น เนื่องจากดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยเสี่ยงเพิ่ม
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆใกล้แนวต้าน 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Shooting Star และสตาร์ มูลค่าการซื้อขายลดลง สะท้อนว่าดัชนีตลาดกำลังทดสอบแนวต้านทางเทคนิคัล โดยมีจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุดทำหน้าที่เป็นแนวรับ
ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในช่องแนวโน้มขาขึ้นและมีแนวต้านอยู่ที่ 1,780 จุด ภาวะซื้อมากเกินและความเสี่ยงที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสามารถทะลุผ่านแนวต้านที่ 1,730 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น เป็นสัญญาณยืนยันว่าดัชนีตลาดได้จบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,780 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลงสลับกับการปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,755 – 1,760 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,744 – 1,740 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ปลายสัปดาห์นี้ตลาดมีแนวโน้มที่จะทำราคาปิดประจำไตรมาสสาม (Window dressing) ควรหาจะหวะปรับพอร์ตเพื่อถือเงินสดเพิ่ม (40 เปอร์เซ็นต์) ช่วงที่ราคาหุ้นปรับตัวขึ้น เนื่องจากดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ขึ้นเพื่อขาย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของเป้าหมายที่ 1,755 จุด แต่ไม่สามารถผ่านขึ้นไปได้ แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาดฉุดดัชนีตลาดปรับตัวลง เกิดแท่งเทียนเป็น Shooting Star มูลค่าการซื้อขายลดลง ดัชนีตลาดมีทิศทางพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่เกิดจากจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด
ภาวะซื้อมากเกินและแนวโน้มที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงที่จะเกิดตามมา ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในช่องแนวโน้มขาขึ้นและมีแนวต้านที่เกิดจากช่องแนวโน้มขาขึ้นอยู่ที่ 1,780 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสามารถทะลุผ่านแนวต้านที่ 1,730 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น เป็นสัญญาณยืนยันว่าดัชนีตลาดได้จบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,780 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลงสลับกับการปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,755 – 1,762 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,744 – 1,738 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ช่วงกลางสัปดาห์ถึงสิ้นเดือนจะเป็นช่วงการทำราคาปิดประจำไตรมาสสาม (Window dressing) แนะนำให้ปรับพอร์ตทำกำไรช่วงที่ดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,755 – 1,762 จุด ปรับพอร์ตถือเงินสดเพิ่ม 20 เปอร์เซ็นต์ (เท่ากับมีถือสด 40 เปอร์เซ็นต์) ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,755 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆขึ้นทดสอบแนวต้านเป้าหมาย 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด มูลค่าการซื้อขายหนาแน่น ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามช่องแนวโน้มขาขึ้นและมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,780 จุด+/- และมีจุดสูงเก่าทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,730 จุด
ภาวะซื้อมากเกินและแนวโน้มที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI คือความเสี่ยงด้านปัจจัยทางเทคนิคัลของดัชนีตลาดในระยะสั้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสามารถทะลุผ่านแนวต้านที่ 1,730 จุดด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น เป็นสัญญาณยืนยันว่าดัชนีตลาดได้จบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,775 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,757 – 1,762 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,747 – 1,740 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานอยู่ที่ระดับ 80 เปอร์เซ็นต์ และถือเงินสด 20 เปอร์เซ็นต์ ระยะสั้นดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,755 – 1,780 จุด ทยอยขายทำกำไรเมื่อเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI (ควรรอให้เส้น RSI ตัดเส้น Signal line ลง)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,775 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบเป้าหมาย 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด แรงเทขายที่มีออกมาในช่วงบ่ายฉุดดัชนีตลาดลดช่วงบวก แท่งเทียนเกิดเป็น Shooting Star ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น (กว่า 9 หมื่นล้านบาท) ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้นและมีช่องแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,775 จุด
ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสามารถทะลุผ่านแนวต้านที่ 1,730 จุดด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น เป็นสัญญาณยืนยันว่าดัชนีตลาดได้จบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,775 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,755 – 1,762 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,744 – 1,737 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานอยู่ที่ระดับ 80 เปอร์เซ็นต์ และถือเงินสด 20 เปอร์เซ็นต์ ระยะสั้นดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,755 – 1,775 จุด ทยอยขายทำกำไรเมื่อเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI (ควรรอให้เส้น RSI ตัดเส้น Signal line ลง)
RUN ให้สุดเทรนกับ BollingerBand with CDC Action Zone By TheKiosK#contest การประกวดแข่งขันการเผยแพร่ไอเดียเกี่ยวกับหุ้นและดัชนีจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET)
Indicator following the trend ที่พัฒนามาจากต้นแบบ CDC Action Zone ของลุงโฉลกและปรับปรุงความสามารถให้ระบบเข้าออกรวดเร็วยิ่งขึ้นด้วย Bollinger Band
หลักการทำงานของ indicator BollingerBand with CDC Action Zone By TheKiosK
ราคา = ohlc4
จะซื้อ ก็ต่อเมื่อ (ราคา > upper BB หรือ ระบบเขียว) และก่อนหน้านี้เป็นแดง
จะขาย ก็ต่อเมื่อ (ราคา < upper BB หรือ ระบบแดง) และก่อนหน้านี้เป็นเขียว
จาก indicator BollingerBand with CDC Action Zone By TheKiosK มีสัญญาณเขียวใน SET ตั้งแต่วันที่ 14-Sep-2018 ที่ผ่านมาและเมื่อวานวันที่ 18-Sep-2018 SET ได้ทำการเบรคไฮด์ก่อนหน้าที่ทำไว้ 1730.65 ด้วยปริมาณการซื้อขายที่เยอะมาก พร้อมกับการปิดเขียวเต็มแท่งเป็นการ confirm ได้ว่า trend ใหม่น่าจะมาแล้ว
ประกอบกับข่าวการเลือกตั้งที่ทะยอยออกมาเพื่อกระตุ้นให้นักลงทุนต้องจับตามองตลาดมากขึ้น เพราะมันน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของ Bullish Trend
bias BUY
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
เป้าหมาย 1,755 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแรงซื้อที่โถมเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดทะลุผ่านแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น ตอกย้ำว่าดัชนีตลาดได้ผ่านพ้นการพักตัวอยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม (Rectangular) แท่งเทียนเกิดเป็น Long Bullish Candlestick และกำลังเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวเข้าหาเป้าหมาย 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด และมีช่องแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวต้านถัดไปอยู่ที่ 1,775 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสามารถทะลุผ่านแนวต้านที่ 1,730 จุดด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น เป็นสัญญาณยืนยันว่าดัชนีตลาดได้จบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,775 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,755 – 1,760 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,737 – 1,730 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐานอยู่ที่ระดับ 80 เปอร์เซ็นต์ และถือเงินสด 20 เปอร์เซ็นต์ ระยะสั้นดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,755 – 1,775 จุด ทยอยขายทำกำไรเมื่อเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI (ควรรอให้เส้น RSI ตัดเส้น Signal line ลง)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและมีทิศทางแกว่งตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด หากดัชนีตลาดสามารถกลับขึ้นยืนเหนือแนวต้านนี้ด้วยมูลค่าการซื้อขายระดับ 6 หมื่นล้านบาท ดัชนีตลาดจะปรับตัวเข้าหาเป้าหมาย 61.8% Fibonacci projection ที่ 1,755 จุด
ดัชนีตลาดที่เคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้นจะมีแนวต้านที่เกิดจากช่องแนวโน้มขาขึ้นอยู่ที่ 1,775 จุด
จากกราฟรายวัน กรณีที่ดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,730 จุดด้วยมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละการซื้อขายที่หนาแน่น จะเป็นสัญญาณยืนยันการจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
โดยหลักการของคลื่นเอลเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด ขณะที่ช่องแนวโน้มขาขึ้นแสดงจุดจบของคลื่น v) อยู่ที่ 1,775 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,725 – 1,730 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,710 – 1,704 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
แนะนำให้เพิ่มน้ำหนักการลงทุนอีก 20 เปอร์เซ็นต์ในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน (ปันผล 3%) ช่วงที่ราคาพักตัวลงระหว่างการซื้อขาย โดยมีเป้าหมายทำกำไร 1,755 – 1,775 จุด และควรถือเงินสดอย่างน้อย 20 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากดัชนีตลาดจากกราฟรายวันยังแฝงด้วยความเสี่ยงที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นต่อเนื่องเป็นวันที่สามและกำลังปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด หลังดัชนีตลาดพักตัวลงทดสอบแนวรับของเส้นคอ (Neckline) ของ Double Top ที่ 1,665 จุด หากดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือแนวต้านที่ 1,730 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง ดัชนีตลาดจะเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้นหลังพักตัวลงเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า และมีแนวต้านอยู่ที่ 1,775 จุด
จากกราฟรายวัน หากดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,730 จุดด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง จะเป็นการยืนยันการจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น iv) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) และดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอเลียต คลื่น v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v) จึงมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด แต่ถ้าใช้หลักการของช่องแนวโน้มขาขึ้น คลื่น v) จะจบที่ 1,775 จุดโดยประมาณ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ สัญญาณทางเทคนิคัลชี้ว่าดัชนีตลาดระยะสั้นกลับมาเป็นบวก แต่ดัชนีตลาดยังแฝงไว้ด้วยโอกาสการเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ในรอบสัปดาห์นี้ มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,730 – 1,735 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,714 – 1,704 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้เพิ่มน้ำหนักการลงทุนอีก 20 เปอร์เซ็นต์ในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน (ปันผล 3%) ช่วงราคาพักตัวลงระหว่างการซื้อขาย โดยมีเป้าหมายทำกำไร 1,755 – 1,775 จุด และควรถือเงินสดอย่างน้อย 20 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากดัชนีตลาดจากกราฟรายวันยังแฝงด้วยความเสี่ยงที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น (สะท้อนถึงความเชื่อมั่น) หลังดัชนีตลาดพักตัวลงทดสอบแนวรับของเส้นคอ (Neckline) ของ Double Top ที่ 1,665 จุด หากดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,730 จุด ดัชนีตลาดจะกลับมาเคลื่อนตัวไปตามช่องแนวโน้มขาขึ้นและมีแนวต้านที่เกิดจากช่องแนวโน้มขาขึ้นอยู่ที่ 1,780 จุด+/-
จากกราฟรายวัน หากดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,730 จุด จะเป็นสัญญาณยืนยันการจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น vi) ที่พักตัวแบบ a)-b)-c) และดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นต่อเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (i),v)
จากหลักการของคลื่นเอลเลียต v) จะยาวเท่ากับ 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น iii) ที่วัดจากจุดเริ่มต้นของคลื่น i) หรือคลื่น (i),v) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,755 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,730 จุด แต่ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นยังมีความเสี่ยงที่จะเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,724 – 1,730 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,708 – 1,700 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มน้ำหนักการลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน 20 เปอร์เซ็นต์ (ถือเงินสด 20 เปอร์เซ็นต์) เข้าซื้อช่วงที่ราคาอ่อนตัวลงระหว่างการซื้อขาย เป้าหมายทำกำไรระยะสั้นอยู่ที่ 1,755 – 1,780 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI โดยมีแนวรับของเส้นคอ (Neckline) อยู่ที่ 1,664 จุด และมีแนวรับ 50.0% Fibonacci retracement ที่ 1,657 จุดเป็นแนวรับร่วม และมีแนวรับ 61.8% Fibonacci retracement ที่ 1,641 จุด เป็นแนวรับถัดไป
รูปแบบการกลับตัว Double Top ทำให้มีราคาเป้าหมาย (Measuring target) อยู่ที่ 1,600 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเกิดคลื่น v) หรือคลื่น (i),v) ในลักษณะคลื่นหดตัว (Truncation wave) โดยคลื่น iii) และคลื่น v) มียอดสูงใกล้เคียงกัน ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวลงแรงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci retracement ที่ 1,641 จุด หรืออาจปรับตัวลงลึกกว่านี้ แต่ต้องไม่ต่ำกว่า 1,584 จุด ซึ่งเป็นไปตามหลักการ Overlapping ของคลื่นเอลเลียต
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าในเขตขายมากเกิน (Oversold) จะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร โดยดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,675 – 1,664 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,686 – 1,690 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,672 – 1,665 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ เลือกลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน (จ่ายเงินปันผลอย่างน้อย 3 เปอร์เซ็นต์) ทยอยเข้าซื้อเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI และดัชนีตลาดปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,660 – 1,640 จุด
สงครามการค้าระหว่างจีนและสหรัฐฯที่ส่อเค้าบานปลายอาจสร้างความเสี่ยงให้กับตลาดทุนเพิ่มขึ้น
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ที่ 1,709 – 1,714 จุด ดัชนีตลาดพักตัวเป็นรูปสามเหลี่ยมเล็ก (Pennant) ซึ่งเป็นสัญญาณลงต่อเนื่อง สอดคล้องกับแท่งเทียนที่เกิดเป็น Falling Three Methods ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับของเส้นคอ (Neckline) ที่ 1,664 จุด และมีแนวรับ 50.0% Fibonacci retracement เป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,657 จุด
สัญญาณกลับตัวรูป Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวลงไปหาแนวรับที่ 61.8% Fibonacci retracement ที่ 1,641 จุด หรือต่ำกว่า
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเกิดคลื่น v) หรือคลื่น (i),v) ในลักษณะคลื่นหดตัว (Truncation wave) โดยคลื่น iii) และคลื่น v) มียอดสูงใกล้เคียงกัน ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวลงแรงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci retracement ที่ 1,641 จุด หรืออาจปรับตัวลงลึกกว่านี้ แต่ต้องไม่ต่ำกว่า 1,584 จุด ซึ่งเป็นไปตามหลักการ Overlapping ของคลื่นเอลเลียต
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,675 – 1,664 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,680 – 1,686 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,665 – 1,657 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ เลือกลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน (จ่ายเงินปันผลอย่างน้อย 3 เปอร์เซ็นต์) ทยอยเข้าซื้อเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI และดัชนีตลาดปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,660 – 1,640 จุด
สงครามการค้าระหว่างจีนและสหรัฐฯที่ส่อเค้าบานปลายอาจสร้างความเสี่ยงให้กับตลาดทุนเพิ่มขึ้น
Por : Technical Analysisระยะพักตัว
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างและมีทิศทางปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลงที่ 1,709 – 1,714 จุด มูลค่าการซื้อขายลดลง หลังดัชนีตลาดเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish divergence ของ RSI ระยะสั้นดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci retracement ที่ 1,675 จุด โดยมีเส้นคอ (Neckline) ของ Double Top เป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,664 จุด
ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อปิดช่องว่างขาลง และแกว่งออกด้านข้างเป็นสามเหลี่ยมเล็กๆ (Pennant) ซึ่งเป็นสัญญาณว่าดัชนีตลาดยังมีโอกาสที่จะปรับตัวลง
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเกิดคลื่น v) หรือคลื่น (i),v) ในลักษณะคลื่นหดตัว (Truncation wave) โดยคลื่น iii) และคลื่น v) มียอดสูงใกล้เคียงกัน ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวลงแรงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci retracement ที่ 1,641 จุด หรืออาจปรับตัวลงลึกกว่านี้ แต่ต้องไม่ต่ำกว่า 1,584 จุด ซึ่งเป็นไปตามหลักการ Overlapping ของคลื่นเอลเลียต
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,675 – 1,664 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,700 – 1,705 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,685 – 1,680 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือเงินสดอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ เลือกลงทุนในหุ้นที่มีปัจจัยพื้นฐาน (จ่ายเงินปันผลอย่างน้อย 3 เปอร์เซ็นต์) ทยอยเข้าซื้อเมื่อเกิดสัญญาณ Bullish divergence ของ RSI และดัชนีตลาดปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,660 – 1,640 จุด
สงครามการค้าระหว่างจีนและสหรัฐฯที่ส่อเค้าบานปลายอาจสร้างความเสี่ยงให้กับตลาดทุนเพิ่มขึ้น
Por : Technical AnalysisEthereum (ETHUSD)
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคา ETHUSD แกว่งตัวลงหลังราคาปรับขึ้นทำจุดสูงที่ 981 เหรียญ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Engulfing ราคาเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาลงระยะกลาง เมื่อนำจุดต่ำที่ 564 เหรียญกับจุดสูงที่ 981 เหรียญ มาวิเคราะห์แนวรับตัวตัวเลข Fibonacci ratio จะได้แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci retracement อยู่ที่ 824 เหรียญ, 773 เหรียญ และ 725 เหรียญ ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบ ทำให้ราคา BTCUSD ระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลง
ทิศทางราคา ETH ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 885 – 939 เหรียญ และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 824 – 773 เหรียญ
กลยุทธ์การลงทุน
ควรรอดูสัญญาณซื้อเมื่อราคา ETH ปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 725 เหรียญ หรือต่ำกว่า
Por : Technical AnalysisBitcoin (BTCUSD)
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคา BTCUSD ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่สอง หลังราคาปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงระยะยาวแต่ไม่สามารถผ่านขึ้นไปได้ แท่งเทียนเกิดเป็น Shooting star เมื่อนำจุดต่ำที่ 5,968 เหรียญกับจุดสูงที่ 11,808 เหรียญ มาวิเคราะห์แนวรับตัวตัวเลข Fibonacci ratio จะได้แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci retracement อยู่ที่ 9,592 เหรียญ, 8,893 เหรียญ และ 8,225 เหรียญ ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบ ทำให้ราคา BTCUSD ระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลง
ทิศทางราคา Bitcoin ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 10,480 – 11,097 เหรียญ และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 9,592 – 8,893 เหรียญ
กลยุทธ์การลงทุน
ควรรอดูสัญญาณซื้อเมื่อราคา BTC ปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 8,225 เหรียญ หรือต่ำกว่า