จับตาปริมาณยื่นขอสินเชื่อเพื่อที่อยู่สหรัฐจะมีการเผยปริมาณการยื่นขอสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการเผยรายงานปริมาณการขอสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของสหรัฐอเมริการวมทั้งดัชนีการจัดซื้อจัด MBA ของสหรัฐอเมริการวมทั้งดัชนีรีไฟแนนซ์สินเชื่อที่อยู่อาศัยซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองปัจจัยนี้โดยที่ถ้าเกิดมีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการประกาศในครั้งนี้จะประกาศในช่วงเวลา 19:00 น. ซึ่งแน่นอนว่าจะมีการประกาศทั้งอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะ 30 ปีจากสมาคม MBA ซึ่งครั้งก่อนประกาศออกมาอยู่ที่ 3.64% รวมทั้งประมาณการขอสินเชื่อเพื่อ ที่อยู่อาศัยเทียบสัปดาห์ต่อสัปดาห์ครั้งก่อนอยู่ที่ 2.3% ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะ USDCHF อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92008 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92152 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92272
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91760 แนวรับที่สองก็คือ 0.91640 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91528
Chf
ยอดขายปลีกแคนาดาจะมีการประกาศที่สำคัญของประเทศแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศตัวเลขที่สำคัญของแคนาดาไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของแคนาดาประจำเดือน พฤศจิกายนประกอบกับการประกาศดัชนีราคาบ้านใหม่รวมทั้งยอดขายค่าส่งของแคนาดาโดยดัชนียอดขายค้าส่งจะประกาศประจำเดือนพฤศจิกายนและดัชนีราคาบ้านใหม่จะประกาศของเดือนธันวาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของแคนาดาประจำเดือนพฤศจิกายนเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาร 1.3% เท่ากันกับครั้งก่อนซึ่งดัชนีราคาบ้านใหม่เทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนธันวาคม นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน 0.8% และยอดขายค่าส่งเก็บเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนครั้งก่อนประกาศออกมา 1.4% แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ที่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนโดยเฉพาะ CADCHF อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73307 แนวรับที่สองก็คือ 0.73193 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73121
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73468 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73535 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73672
CPI สหรัฐกับ USDจับตาการประกาศเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาหรือดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาโดยจะเป็นการประกาศของเดือนธันวาคมซึ่งแน่นอนว่าอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์ไม่น้อยเลยทีเดียว
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ยังคงต้องจับตาดูว่าจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์อย่างไรโดยเฉพาะการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนธันวาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.5% ประกอบกับดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนธันวาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 7.0% ครั้งก่อน 6.8% จับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลอย่างไรให้กับตลาด
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้ USDCHF มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92479 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92623 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92733
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92154 แนวรับที่สองก็คือ 0.92003 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91833
ประกาศสำคัญ ของ CADจับตาการประกาศอัตราการว่างานของแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศอัตราการว่างานของแคนาดารวมทั้งการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานของแคนาดาประจำเดือนธันวาคมทั้งการเปลี่ยนแปลงแบบเต็มเวลาและไม่เต็มเวลาของแคนาดานั้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนเพราะเห็นว่าในส่วนของการด้วยกันครั้งนี้อาจจะเป็นตัวชี้วัดว่าอัตราการว่างานนั้นมากน้อยแค่ไหนและจำเป็นที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายทางการเงินหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งการประกาศในครั้งนี้มีหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศอัตราการว่างานประจำเดือนธันวาคมของแคนาดาโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 6.0% เท่ากันกับครั้งก่อนแล้วก็กลับจะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานของแคนาดาประจำเดือนธันวาคมโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ได้ว่าจะประกาศออกมา 27.5K ครั้งก่อน 153.7K จับตาดูว่าการประกาศครั้งนี้ออกมาตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้ของแคนาดาอาจจะสร้างความผันผวนให้กับค่าเงินแคนาดาโดยเฉพาะ CADCHF ที่อาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72322 แนวรับที่สองก็คือ 0.72255 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72093
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72533 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72725 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72902
ดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของสหรัฐจาก ISMการประกาศดัชนี PMI ภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 22:00 น. จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริการวาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มของเดือนธันวาคมรวมทั้งจะมีการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนด้วยเช่นเดียวกันของสหรัฐ
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างจับตามองปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิดเพราะอาจจะทำให้ความผันผวนของค่าเงินดอลล่าร์และ ตลาดหุ้นมีอย่างต่อเนื่องดังนั้นติดตามการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์โดยที่ ดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐจำนวนธันวาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 66.9 ครั้งก่อน 69.1 รวมทั้งการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานของสหรัฐประจำเดือนพฤศจิกายนอาจจะมีการประกาศออกมา 1.5% ครั้งก่อน 1.0%
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนอาจจะทำให้คู่เงิน USDCHF มีความผันผวนเช่นเดียวกันจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91830 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91927 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92010
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91598 แนวรับที่สองก็คือ 0.91487 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91421
จับตาจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานจับตาการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานของสหรัฐอเมริกาทั้งการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 20:30 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามจะมีอยู่หลายการประกาศ ที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 208K ครั้งก่อนก็คือ 205K ประกอบกับจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานเฉลี่ยสี่สัปดาห์ครั้งก่อนอยู่ที่ 206.25K กลับแต่ว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมากโดยเฉพาะค่าเงิน USDCHF ซึ่งอาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้าน ที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงกล่องแนวรับแรกก็คือ 0.91284 แนวรับที่สองก็คือ 0.91047 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90903
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91495 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91606 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91698
การประกาศยอดขายบ้านมือสองสหรัฐการประกาศที่สำคัญที่จะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนก็คือการประกาศยอดขายบ้านมือสองสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐอเมริกาคือเป็นอีกหนึ่งการประกาศที่จะทำให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าสหรัฐอเมริกายังคงมีการจับจ่ายใช้สอยดีหรือไม่โดยเฉพาะการประกาศยอดขายบ้านมือสองดังนั้นจับตาดูการประกาศในครั้งนี้ซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ประกอบกับจะมีการรายงานความเชื่อมั่นผู้บริโภคจากซีบีของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนธันวาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศในครั้งนี้นักลงทุนต่างจับตามองในระยะสั้นซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศยอดขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนจะมีการประกาศออกมา 6.52M ครั้งก่อนก็คือ 6.34M โดยที่จะมีการประกาศรายงานความเชื่อมั่นผู้บริโภคจากซีบีประจำเดือนธันวาคมของสหรัฐอเมริกาซึ่งจะมีการประกาศออกมาในครั้งนี้โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศออกมา 110.8 ครั้งก่อนก็คือ 109.5 จับตาดูอย่างใกล้ชิด
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยที่จะต้องติดตามที่อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนในปัจจัยนี้อย่างมากก็คือการประกาศยอดขายบ้านมือสองซึ่งสกุลเงินที่น่าจับตามองก็คือ USDCHF ถ้ามีการประกาศอาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นซึ่งคู่เงินนี้อาจจะมีการขยับตัว ขึ้นโดยที่กรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92543 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92685 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92858
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92267 แนวรับที่สองก็คือ 0.92195 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92132
EURCHF : อาจย่อตัวลงสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะมีความผันผวนระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิส หรือเรียกว่า EURCHF ที่มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวระยะสั้นดังนั้นอาจจะทำการ ผันผวนในทิศทางเดียวกันกับดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.04104 แนวรับที่สองก็คือ 1.04039 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.03963
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.04226 แนวต้านที่สองก็คือ 1.04345 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.04562
PMI ภาภาคการบริการจาก ISMการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 22:00 น. จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกาถึงนักลงทุนต่างจับตามองว่าในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนเพราะนักลงทุนต่างจับตามองว่าถ้ามีการประกาศออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์อาจจะทำให้ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาอาจจะต้องชะลอการลดขนาด QE หรือไม่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกาในการประกาศประจำเดือนพฤศจิกายนนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 65.0 ครั้งก่อน 66.7 และจะมีการประกาศเดี๋ยวชะนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนพฤศจิกายน เช่นเดียวกันโดยที่จะมีการคาดการณ์ออกมาในระยะสั้นแต่ยังไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์โดยที่ครั้งก่อนอยู่ที่ 57.0
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนดังนั้นคู่เงินที่สำคัญที่อาจจะมีความผันผวนก็คือ USDCHF จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92192 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92474 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92698
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91864 แนวรับที่สองก็คือ 0.91707 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91608
จับตาดัชนียอดขายปลีกสหรัฐจับตาการประกาศดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริกา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกายังคงต้อง เฝ้าจับตามองอย่างมากเนื่องจากว่าจะมีการประกาศออกมาและเป็นการประกาศตัวเลขที่สำคัญที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนนั้นจะมีการฟื้นตัวขึ้นได้จริงหรือไม่โดยเฉพาะการฟื้นตัวขึ้นของอัตราเงินเฟ้อโดยที่การประกาศยอดขายปลีกต้องมีการฟื้นตัวขึ้นไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราเงินเฟ้อต้องจับตาดูอย่างมาก
\
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ในหลายภาคส่วนแต่สิ่งที่น่าสนใจจะมีการประกาศออกมาดังนี้ การประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะมีการประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน 0.8% ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ประกอบกับในส่วนของการประกาศดัชนียอดขายปลีกที่เบนตัวเดียวประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.2% ครั้งก่อน 0.7% ซึ่งจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทุกคู่เงินที่เทียบกับดอลล่าร์และโครงการที่สำคัญก็คือ USDCHF โดยในคู่เงินนี้อาจจะเป็นปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่จะต้องจับตามองอย่างมากจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
\
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92336 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92472 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92641
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92026 แนวรับที่สองก็คือ 0.91889 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91790
"พาวเวล" ส่งสัญญาณเฟดไม่เร่งขึ้นดอก"พาวเวล" ส่งสัญญาณเฟดไม่เร่งขึ้นดอกเบี้ย รอตลาดแรงงานขยายตัวเต็มศักยภาพ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
นายเจอโรม พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ได้แถลงต่อสื่อมวลชนภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมนโยบายการเงินเมื่อคืนนี้ว่า เฟดสามารถอดทนต่อการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย พร้อมกับกล่าวว่าเฟดจะเริ่มปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในเดือนนี้ แม้มีความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้นก็ตาม
คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน (FOMC) ของเฟดประกาศว่าจะปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) เดือนละ 15,000 ล้านดอลลาร์ เริ่มตั้งแต่เดือนพ.ย. โดยเฟดจะปรับลดวงเงินซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐเดือนละ 10,000 ล้านดอลลาร์ และปรับลดวงเงินซื้อตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจำนอง (MBS) เดือนละ 5,000 ล้านดอลลาร์
การคาดหวังในครั้งนี้?
"การตัดสินใจปรับลดวงเงิน QE ในการประชุมครั้งนี้ ไม่ได้แปลว่าเรากำลังส่งสัญญาณเกี่ยวกับนโยบายอัตราดอกเบี้ย เราจะยังคงทำการทดสอบภาวะเศรษฐกิจอย่างเข้มงวดมากขึ้น ก่อนที่จะตัดสินใจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย โดยเงื่อนไขที่จะนำไปสู่การปรับขึ้นดอกเบี้ยคือการที่ตลาดแรงงานขยายตัวอย่างเต็มศักยภาพ ทั้งในแง่ของตัวเลขจ้างงานและอัตราการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน"
"เราไม่คิดว่า ขณะนี้เป็นเวลาที่จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย และหากเราสามารถสรุปได้ว่า จำเป็นต้องทำเช่นนั้น เราจะใช้ความอดทน แต่เราก็จะไม่ลังเล" นายพาวเวลกล่าว
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงิน USDCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91485 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91684 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91898
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91049 แนวรับที่สองก็คือ 0.90861 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90617
USD/CHF : เริ่มฟื้นตัวขึ้นจากดอลล่าห์แข็งค่าสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นเนื่องจากในส่วนของดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของ สกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้ในเชิงเทคนิคอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92235 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92476 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92642
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91917 แนวรับที่สองก็คือ 091827 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91650
EUR/CHF : อาจจะมีการย่อระยะสั้นสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะมีการย่อตัวลงระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวช่วงโรงเรียนสั้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดดังนั้นถ้าเกิดปัจจัยที่กดดันสกุลเงินฟรังก์สวิสทั้งในและนอกต่างประเทศอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.07003 แนวรับที่สองก็คือ 1.06893 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.06807
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.07225 แนวต้านที่สองก็คือ 1.07309 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.07415
จับตายอดขายบ้านมือสองสหรัฐจะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกันยายน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศของสหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองประจำเดือนกันยายนและดัชนียอดขายบ้านมือสองซึ่งนักลงทุนและนักวิเคราะห์ยังคงเฝ้าจับตาดูว่าในการประกาศดัชนีนี้จะส่งผลถึงตัวเลขของสหรัฐอเมริกาที่จะมีความเป็นไปได้ในการใช้จ่ายภาพครัวเรือนได้หรือไม่ดังนั้นจับตาดูในการ
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศยอดขายบ้านมือสองครั้งก่อนอยู่ที่ -2.0% จับตาดูว่าจะประกาศออกมาได้ทิศทางไหนแต่ในส่วนของจำนวนยอดขายบ้านมือสองนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 6.09M ครั้งก่อน 5.88M จับตาดูว่าจะเป็นปัจจัยที่จะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
คู่เงินที่ต้องเฝ้าจับตามองก็คือ USDCHF โดยคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นทุกคนติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91796 แนวรับที่สองก็คือ 0.91652 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91526
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92058 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92191 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92417
GBP ส่งผลกับค่าเงินปอนด์การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษส่งผลกับค่าเงินปอนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 13:00 น. จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษโดยที่จะมีการประกาศทั้ง ปีต่อปีและเดือนต่อเดือนนักลงทุนยังคงจับตาดูว่าการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษจะส่งผลให้กับสกุลเงินปอนด์หรือไม่อย่างไรก็ดีมีการประกาศดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมด้วยเช่นเดียวกันซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการผันผวนของดัชนีจีดีพีนั้นนักวิเคราะห์ยังคงมีความคาดการณ์ในบางมุมแต่ในส่วนของดัชนีจีดีพีเทียบเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ 0.8% ประกอบกับดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมของปีต่อปีของอังกฤษครั้งก่อน 22.2% ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 0.2% รวมทั้งดุลการค้าของอังกฤษประจำเดือน กรกฎาคมด้วยเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยของสกุลเงินปอนด์จะส่งผลให้กับหลายคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPCHF โดยมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวดังนั้นอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นถ้ามีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวก'
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27244 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27537 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27760
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26910 แนวรับที่สองก็คือ 1.26605 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26518
USD/CHF : ปัจจัยทางเทคนิคยังคงวิ่งอยู่ในกรอบสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงวิ่งในกรอบ
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการวิ่งอยู่ในกรอบไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการปรับตัวผันผวนจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ดังนั้นจับตาดูในการประกาศตัวเลขสำคัญที่เกี่ยวกับดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91724 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91829 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91896
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91371 แนวรับที่สองก็คือ 0.91216 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91048
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF : อย่างไรก็ดีจับตาดูดอลล่าร์อย่างใกล้ชิดเพราะจะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรและดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิต ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องจับตาดูดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ดอลล่าร์อ่อนค่าหลังจาก FED แถลงสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาได้มีการแถลงในการประชุมแจ็คสันโฮที่มีการแถลงในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่ใจความสำคัญยังคงพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเม็ดเงินในปีนี้แต่ ยังไม่มีแผนที่จะมีการปรับขึ้นอัตราเบี้ยทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
คู่เงินที่ได้รับผลกระทบก็คือ USDCHF ซึ่งมีการปรับตัวร่วงลง -0.74% ในรอบวันส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ยังคงมีการพักตัวถึงแม้ว่ามีการขยับตัวสูงขึ้นของตลาดหุ้นฟิวเจอร์ทำให้คู่เงินนี้ มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.90841 แนวรับที่สองก็คือ 0.90717 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90524
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91212 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91346 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91649
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจำเป็นจะต้องติดตามในหลายปัจจัยมากกว่าจะเป็นทั้งในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศที่สำคัญในสัปดาห์หน้าคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : ปัจจัยเชิงเทคนิคขยับตัวสกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ดูเหมือนมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์เริ่มฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อย
GBPCHF จากปัจจัยสองปัจจัยที่เป็นปัจจัยหนุนทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นโดยในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.33% และอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นปัจจัยทางเทคนิคที่อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นนั้นมีความเป็นไปได้มาก
โดยกรอบที่สำคัญที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25803 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26078 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26239
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25511 แนวรับที่สองก็คือ 1.25302 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24968
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากที่จำเป็นจะต้องติดตามก็คือการประชุมที่แจ็คสันโฮโดยนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินฟังสวิตมีความผันผวนจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้ออังกฤษประกาศวันนี้วันที่ 5 สิงหาคม 2021 มีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของอังกฤษ
ในวันที่ 5 สิงหาคม 2021 ในช่วงเวลา 15:30 น. จะมีการประกาศแบบนี้ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างของอังกฤษหรือเรียกว่า Construction PMI ซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนกรกฎาคมโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 64.0 ครั้งก่อน 66.3 ถ้าประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
อย่างไรก็ดีการประกาศนี้จะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ GBPCHF ซึ่งคู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นดังนั้นทางการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะส่งผลทำให้ขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.26169 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26458 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26561
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25941 แนวรับที่สองก็คือ 1.25801 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.25685
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : โดยอย่างไรก็ตามจะมีการประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประกอบกับจะมีการประกาศปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษดังนั้นจับตาดูอย่างใกล้ชิดในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ในเชิงเทคนิคอาจย่อตัวลงดูเหมือนสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงก่อนการประชุม FED
สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอีกครั้งหลังจากที่เริ่มมีการผันผวนและอ่อนค่าลงก่อนการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวทำให้ในเชิงเทคนิคคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้น
คู่เงิน USDCHF มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ทั้ง สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในแนวโน้มระยะสั้นและระยะกลางดังนั้นในการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาที่กำลังจะถึงนี้อาจจะส่งผลทำให้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91216 แนวรับที่สองก็คือ 0.91019 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90771
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91423 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91635 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91817
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCHF : ซึ่งต้องจับตาดูในการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐรวมทั้งการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐเพราะจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์ประกอบกับ ในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
น้ำมันย่อตัว CAD อ่อนค่าหรือไม่ราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลง สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลง
สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงโดยที่ดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงระยะสั้นทำให้ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงเช่นเดียวกันดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงหรือไม่เพราะจะกดดันสกุลเงินแคนาดาระยะสั้น
โดยที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงทำให้ CADCHF มีการปรับตัวร่วงลงเช่นเดียวกันจากปัจจัยสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าและสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72797 แนวรับที่สองก็คือ 0.72694 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72528
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 0.73162 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73308 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73603
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ CADCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองของราคาน้ำมัน : ปัจจัยทิศทางราคาน้ำมันยังคงเป็นปัจจัยทั้งกดดันและปัจจัยหนุนของสกุลเงินแคนาดาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์และตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/CHF : ปัจจัยเชิงเทคนิคเริ่มย่อตัวลงสกุลเงินยูโรจะโดนกดดันจากดอลล่าร์ในปัจจัยเชิงเทคนิค
ในส่วนของสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเป็นปัจจัยในเชิงเทคนิคโดยที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยพื้นฐานไม่ว่าจะเป็นทั้งการดึงเงินกลับของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยทำให้มีการย่อตัวลงในเชิงเทคนิค
โดยคู่เงิน EURCHF มีการปรับตัวร่วงลง -0.13% ในรอบวันและดูเหมือนว่าอาจจะมีการปรับตัวย่อตัวลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.09099 แนวรับที่สองก็คือ 1.08994 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.08912
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.09239 แนวต้านที่สองก็คือ 1.09341 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.09432
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURCHF ที่น่าสนใจในสัปดาห์นี้ : ปัจจัยในเชิงเทคนิคยังคงต้องจับตาดูสกุลเงินดอลล่าร์เพราะจะเป็นทั้งแรงหนุนและแรงกดดันทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนแต่ในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังต้องจับตามองดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงสั้นครับ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด