CADCHF
CADCHF มีสัญญาณฟื้นตัวระยะสั้น 27/06/2023CADCHF อาจจะมีสัญญาณฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นถึงแม้ว่าสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะยังคงมีความผันผวนระยะสั้นก็ตาม
โดยปัจจัยหลายปัจจัยที่ทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์หรือตลาดเงินของแคนาดาที่มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นแต่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูว่าจะมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นหรือไม่
ซึ่งถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงไม่สามารถทะลุแนวรับที่ 0.67828 ลงมาได้สถานะซื้อที่ควรที่จะต้องเปิดสถานะซื้อที่ต้องจับตาดูก็คือ 0.67828 ไปยนถึง 0.68092 เป็นตำแหน่งที่ควรเปิดสถานะซื้ออย่างต่อเนื่องและถ้าเกิดมีการฟื้นตัวขึ้นทะลุแนวต้านสำคัญที่ 0.68403 ควรทำกำไรที่ 0.69358 ไปตำแหน่งที่ควรทำกำไรอย่างมาก
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งที่ควรที่จะตัดขาดทุนก็คือตำแหน่งสุดท้ายที่ 0.67633 เป็นตำแหน่งที่ควรตัดขาดทุนอย่างมาก
จับตาการประกาศตัวเลขสำคัญของแคนาดาหรือไม่กระทั่งการประกาศตัวเลขสำคัญของสวิตเซอร์แลนด์ที่อาจจำเป็นที่จะต้องติดตามเพราะคู่เงินนี้มีความผันผวนสำหรับตลาดนี้
CADCHF จะร่วงลงหรือไม่ 16/06/2023CADCHF มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงในเชิงระยะสั้น
ในรอบวันคู่กรณีมีการปรับตัวร่วงลง -0.35% จากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินฟรังก์สวิสทำให้มีความเป็นไปได้ในการปรับตัวร่วงลงในเชิงระยะสั้นต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแต่ไม่สามารถทะลุขยับตัวขึ้นไปถึงแนวต้านสำคัญที่ 0.67831 ขึ้นไปได้ตำแหน่งที่ควรเปิดสถานะขายก็คือ 0.67831 ไปยัง 0.67559 และถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงทะลุแนวรับสำคัญที่ 0.67247 ลงมาได้ควรทำกำไรที่ตำแหน่ง 0.66201 เป็นตำแหน่งที่ควรที่ต้องทำกำไรอย่างมาก
แต่ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นตำแหน่งที่ควรตัดขาดทุนก็คือ 0.67851 และ 0.67879 เป็นตำแหน่งที่ควรตัดขาดทุนอย่างมาก
ติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญของสวิตเซอร์แลนด์รวมทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญของแคนาดาที่อาจจะส่งผลทำให้ทิศทางของคู่เงินนี้มีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
CADCHF มีโอกาสขึ้นหลังจาก CAD แข็งค่า 14/06/2023CADCHF มีโอกาสฟื้นตัวขึ้นหลังจากที่คนนึงแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการประกาศตัวเลขสำคัญของแคนาดาที่เริ่มมีมุมมองทิศทางที่ดูเหมือนจะยังคงฟื้นตัวขึ้นจากดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นจากประธานาธิบดีโจ ไบเดนได้มีการส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐานทำให้จะเป็นแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
ในรอบวันมีการปรับตัวสูงขึ้นของคู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้น +0.17% ซึ่งอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องติดตามสกุลเงินฟรังก์สวิสอย่างต่อเนื่อง
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงไม่สามารถทะลุแนวรับสำคัญที่ 0.67743 ลงมาได้ ตำแหน่งสถานะซื้อที่น่าสนใจอยู่ในช่วงระหว่าง 0.68162 ไปยัง 0.67743 เป็นตำแหน่งที่น่าสนใจในการสะสมสถานะซื้ออะไรถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 0.68191 คือไปได้ควรทำกำไรที่ 0.69366
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งที่คนตัดขาดทุนตำแหน่งสุดท้ายก็คือ 0.67627
จับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาไม่ว่าจะเป็นทั้งทางด้านของอัตราเงินเฟ้อภาคการผลิตหรือแม้กระทั่งการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ
CADCHF ฟื้นตัวขึ้นในหลายวันที่ผ่านมา 31/05/2023CADCHF หรือเรียกว่าสกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสดูเหมือนมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการอ่อนค่าของสกุลเงินฟรังก์สวิสอย่างต่อเนื่องโดยเริ่มมีการปรับตัวฟื้นตัวขึ้นตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2023 ได้มีการฟื้นตัวขึ้นถึง +0.39% และในรอบวันฟื้นตัวขึ้นถึง +0.26%
ปัจจัยที่สะท้อนภาพให้เห็นว่าทางด้านของคู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นก็คือทางด้านของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้น ความเป็นไปได้ที่มีการปรับตัวฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการอ่อนค่าของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีถ้าไม่สามารถเอาร่วงหลุดทะลุแนวรับสำคัญที่ 0.66590 ออกมาได้เป็นสัญญาณของสถานะซื้อที่น่าสนใจอย่างมาก
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุแนวต้านสำคัญที่ 0.66868 ขึ้นไปได้ควรทำกำไรในสองตำแหน่งก็คือ 0.67165 และ 0.67452
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงโซนที่ต้องตัดขาดทุนก็คือ 0.66590 และ 0.66422 เป็นโซนที่ควรตัดขาดทุนอย่างยิ่งในคู่เงินนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูก็คือสกุลเงินแคนาดาที่ยังคงผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลางแต่ทางด้านของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องเฝ้าจับตาดูตัวเลขสำคัญในหลายตัวเลขที่กำลังจะประกาศในสัปดาห์นี้
แผนเทรด CAD/CHFแผนเทรด CAD/CHF เเนวโน้มมอง ขึ้น จาก TF D H4 ครั้งนี้ตามเทรน นะตอนนี้ ราคากำลังปรับตัว ลงมาถึง Demand zone ที่ตรงกับ Fibo 61.8 เเละเป็นโซนที่ดันไปทำ HH ใหม่ได้ เเละสัญญาณไปต่อทาง Rsi เป็น Hidden Divergence มีโอกาสที่ราคาจะปรับตัวในโซนนี้
เหตุผลมองขึ้น
- ตามเทรน
- Demand zone
- DP zone
- Fibo 61.8
- Hidden Divergence
ปัจจัยในการยืนยันจุดเข้า
- Hidden Divergence
-
: นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
แผนเทรด CAD/CHF แผนเทรด CAD/CHF เเนวโน้มมอง ลง จาก TF D H4 ครั้งนี้ตามเทรน นะตอนนี้ราคาได้มีการทำ เเพทเทิร์น Rising Wedge ที่มาพร้อมกับ Bearish Divergence H4 ด้วย เเล้ว อยู่เหนือ 80 ของ RSI เเต่ๆ ครั้งนี้ราคาผมมองว่าไม่สวยเท่าไหร่ เนื่องจาก ราคามาไม่ถึง Supply zone ที่วาดไว้ เข้าตอนนี้ ก้ได้นะเเต่อาจเสี่ยงหน่อย เลยคิดว่ารอราคาปรับตัวลงมา เบรค เเพทเทิร์น ออกไปก่อนเเล้วค่อยหาจังหวะตอน ราคาขึ้นมารีเทส อีกรอบ
เหตุผลมองลง 4 ปัจจัยดังนี้
- ตามเทรน
- Rising Wedge
- Bearish Divergence H4
- Reject TF H1
: ครั้งนี้ผมคิดว่ารอราคา เบรค เเล้วรอเล่นตอนขึ้นมารีเทสดี กว่า จริงๆ ก้เข้าได้ ตอนนี้ เเต่ครั้ง เอาเซฟ นิดนึง
: นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
การประกาศยอดขายภาคการผลิตแคนาดาติดตามการประกาศยอดขายภาคการผลิตของแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 09:30 น. จะมีการประกาศยอดขายภาคการผลิตและยอดขายส่งประจำเดือนมีนาคมเทียบเดือนต่อเดือนของแคนาดาซึ่งอาจจะส่งผลระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศยอดขายภาคการผลิตของแคนาดาประจำเดือนมีนาคมเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.7% ครั้งก่อน 4.2% ประกอบกับการประกาศยอดขายค่าส่งเก็บเงินตัวแทนประจำเดือนมีนาคมจะประกาศออกมา -0.3% ครั้งก่อน -0.4%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนโดยเฉพาะ CADCHF อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77722 แนวต้านที่สองก็คือ 0.77980 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.78118
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.77426 แนวรับที่สองก็คือ 0.77294 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.76880
สิ่งที่สำคัญเลยคืออัตราการว่างานสวิตเซอร์แลนด์อัตราการว่างานของสวิตเซอร์แลนด์กับสกุลเงินฟรังก์สวิส
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศอัตราการว่างานของสวิตเซอร์แลนด์โดยที่จะมีการประกาศอัตราการว่างานที่ไม่ได้ปรับปรุงตามฤดูกาลและอัตราการว่างานที่ได้ปรับปรุงตามฤดูกาลประจำเดือนมีนาคมซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 12:45 น. อาจจะเป็นอีกหนึ่งส่วนที่ทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศอัตราการว่างานที่ไม่ได้ปรับปรุงตามฤดูกาลประจำเดือนมีนาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.4% ครั้งก่อน 2.5% และการประกาศอัตราการว่างานที่ได้รับการปรับปรุงตามฤดูกาลเรียบร้อยแล้วประจำเดือนมีนาคมจะประกาศประมาณ 2.2% เท่ากันกับครั้งก่อนจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินฟังสวิตมีความผันผวนโดยเฉพาะ CADCHF อาจจะทำให้มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญก็คือ 0.74513 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74603 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74716
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74205 แนวรับที่สองก็คือ 0.74094 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73905
PMI จากสถาบันไอวีแคนาดาการประกาศดัชนีพีเอ็มไอจากสถาบันไอพีของแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนีพีเอ็มไอจากสถาบันไอพีของแคนาดาประจำเดือนมีนาคมจะมีการประกาศในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินแคนาดามีความผันผวนเพียงเล็กน้อยแต่อย่างไรก็ตามปัจจัยนี้อาจจะยังคงเป็นปัจจัยที่ติดตามว่าจะมีการ surprise ตลาดหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนโดยเฉพาะความผันผวนที่มีการประกาศในครั้งนี้ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศดัชนีพีเอ็มไอจะสามารถไอวี่ประจำเดือนมีนาคมจะมีการประกาศออกมา 60.0 ครั้งก่อน 60.6 จับตาดูว่าจะมีการประกาศใกล้เคียงกับการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
จากการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนโดยเฉพาะ CADCHF จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74622 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74790 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74984
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74266 แนวรับที่สองก็คือ 0.74090 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73909
แผนเทรด CAD/CHFแผนเทรด CADCHF เเนวโน้มมองลง ก่อนหน้านี้ราคาเหมือนได้ทำเเพทเทิร์นเหมือน Double Top เเล้วราคาก็ได้ ทะลุเเนวรับ เเล้วขึ้นมาทำ FTR ทิ้งไว้เเล้วลงต่อ นะตอนนี้หากราคาได้ปรับตัวขึ้นมาสามารภเข้าได้ เลย หรือจะรอสัญญาณกลับตัวก่อนค่อยเข้าก็ได้ เช่น เเท่งเทียน Reject หรือสัญญาณเเท่งเทียนกลับตัวต่างๆ
เหตุผลมองลง
1.เทรนขาลง ระยะยาว
2.Double Top ขึ้นมาเทส
3.FTR
4.Demand zone
5. RBD
ยอดขายปลีกแคนาดาจะมีการประกาศที่สำคัญของประเทศแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศตัวเลขที่สำคัญของแคนาดาไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของแคนาดาประจำเดือน พฤศจิกายนประกอบกับการประกาศดัชนีราคาบ้านใหม่รวมทั้งยอดขายค่าส่งของแคนาดาโดยดัชนียอดขายค้าส่งจะประกาศประจำเดือนพฤศจิกายนและดัชนีราคาบ้านใหม่จะประกาศของเดือนธันวาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของแคนาดาประจำเดือนพฤศจิกายนเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาร 1.3% เท่ากันกับครั้งก่อนซึ่งดัชนีราคาบ้านใหม่เทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนธันวาคม นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน 0.8% และยอดขายค่าส่งเก็บเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนครั้งก่อนประกาศออกมา 1.4% แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ที่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนโดยเฉพาะ CADCHF อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73307 แนวรับที่สองก็คือ 0.73193 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73121
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73468 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73535 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73672
น้ำมันย่อตัว CAD อ่อนค่าหรือไม่ราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลง สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลง
สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงโดยที่ดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงระยะสั้นทำให้ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงเช่นเดียวกันดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงหรือไม่เพราะจะกดดันสกุลเงินแคนาดาระยะสั้น
โดยที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงทำให้ CADCHF มีการปรับตัวร่วงลงเช่นเดียวกันจากปัจจัยสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าและสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72797 แนวรับที่สองก็คือ 0.72694 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72528
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 0.73162 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73308 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73603
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ CADCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองของราคาน้ำมัน : ปัจจัยทิศทางราคาน้ำมันยังคงเป็นปัจจัยทั้งกดดันและปัจจัยหนุนของสกุลเงินแคนาดาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์และตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : พักตัวเพื่อรอทิศทางน้ำมันCAD พักตัวหลังจากที่น้ำมันพักตัวประกอบกับดัชนีดาวน์โจนส์ฟิวเจอร์พักตัวระยะสั้น
ดูเหมือนสกุลเงินแคนาดายังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันยังคงมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ยังคงติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในค่ำคืนนี้ของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศดัชนีการใช้จ่ายผู้บริโภคของสหรัฐดังนั้นสกุลหนึ่งแคนาดาในช่วงนี้ต้องจับตามองการประกาศตัวเลขสำคัญนี้อย่างใกล้ชิด
ในส่วนของคู่เงิน CADCHF มีการย่อตัวลงในหลายวันที่ผ่านมาโดยปัจจัยสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยแต่ในส่วนของสกุลเงินแคนาดายังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74393 แนวรับที่สองก็คือ 0.74211 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74126
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74598 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74732 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74787
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน CADCHF ที่เป็นปัจจัยสำคัญในวันนี้ : ต้องจับตามองในส่วนของการเคลื่อนไหวของทิศทางราคาน้ำมันและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์เพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องจับตามองแต่หลังสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : มีโอกาสฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวสูงขึ้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74399 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74470 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74525
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74255 แนวรับที่สองก็คือ 0.74119 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74024
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่จำเป็นจะต้องติดตามทิศทางราคาน้ำมันและตลาดหุ้นฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : ยังวิ่งอยู่ในกรอบระยะกลางสกุลเงินแคนาดากับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงวิ่งอยู่ในกรอบ
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัววิ่งอยู่ในกรอบเนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวผันผวนในระยะกลางจึงควรติดตามกรอบแนวรับเดี๋ยวตอนที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74577 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74671 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74842
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74425 แนวรับที่สองก็คือ 0.74319 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74220
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากทิศทางของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามปัจจัยภายในและดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : มีโอกาสร่วงลงต่อเนื่องหรือไม่สกุลเงินแคนาดาอ่อนค่าลงต่อเนื่อง
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการร่วงลงของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.74384 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.74230 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74152
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 0.74647 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74820 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75004
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่ต้องติดตามราคาน้ำมันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : มีการขยับตัวสูงขึ้นต่อเนื่องคุณเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74019 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74112 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74211
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73832 แนวรับที่สองก็คือ 0.73704 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73557
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามทิศทางของราคาน้ำมันแล้วก็กลับมีส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : จะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินแคนาดาจะแข็งค่าหรือไม่
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยที่ธนาคารกลางแคนาดามีแนวโน้มที่จะ เริ่มลดการอัดฉีดเม็ดเงินประกอบกับในส่วนของมีการส่งสัญญาณในการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73604 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73901 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74089
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73196 แนวรับที่สองก็คือ 0.73058 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72971
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่ต้องติดตามประกาศตัวเลขที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นการประกาศอัตราเงินเฟ้อหรือแม้กระทั่งการประกาศดัชนีพีเอ็มไอต่างๆถ้ามีการขยับตัวขึ้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีการขยับตัวแข็งค่าขึ้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นสกุลเงินแคนาดาจะโดนกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการย่อตัวลงและมีการพักตัวเนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการประกาศตัวเลขที่สำคัญในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการพักตัวระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงทะลุ 0.73477 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.73339 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73241
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73657 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73900 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74080
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่ดูเหมือนว่ายังคงต้องติดตามถึงปัจจัยจากทิศทางของราคาน้ำมันและตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : จะย่อตัวลงหรือไม่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดาเริ่มมีการพักตัวระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73443 แนวรับที่สองก็คือ 0.73302 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72952
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73731 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73857 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74089
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามทิศทางของราคาน้ำมันและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : อาจจะเริ่มขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินแคนาดาอาจจะมีการแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินฟังสวิตตอร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการขยับตัวขึ้นของดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดาเริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74677 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74804 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74893
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74428 แนวรับที่สองก็คือ 0.74238 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74061
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามทิศทางราคาน้ำมันประกอบกับในส่วนของดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มักจะกดดันสกุลเงินฟรังก์สวิสจึงต้องติดตามในค่ำคืนนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด