ดอลล่าร์ฟื้นจาก NFPการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรทำให้ดอลลาร์ฟื้นตัวขึ้น
กระทรวงแรงงานสหรัฐได้มีการรายงานตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตรพุ่งขึ้นถึง 943,000 ตำแหน่งในเดือนกรกฎาคมซึ่งสูงกว่าที่ นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ประกอบกับอัตราการว่างานปรับตัวลดลงถึง 5.4% ในเดือนกรกฎาคมต่ำกว่าที่ นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ในระดับ 5.7% ทำให้สกุลดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง
จากปัจจัยนี้ทำให้ USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดไม่ว่าจะเป็นทั้งดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาที่มีการสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นจากการประกาศนี้เช่นเดียวกันส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น
ดังนั้นต้องจับตาดูว่า USDJPY มีการฟื้นตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.380 แนวต้านที่สองก็คือ 110.572 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.753
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.118 แนวรับที่สองก็คือ 109.979 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.795
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ดอลล่าร์สหรัฐ
EUR/AUD : ปัจจัยเชิงเทคนิคอาจย่อตัวลงAUD อาจมีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในปัจจัยเนี่ยทางด้านเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น โดยในอีกหนึ่งสวนก็คือในส่วนของสกุลเงินยูโรมีความผันผวนในเชิงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงโดยเฉพาะสกุลเงินดอลล่าร์มี การปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60418 แนวรับที่สองก็คือ 1.60136 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.59782
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.60782 แนวต้านที่สองก็คือ 1.61211 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61629
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURAUD ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าสนใจอย่างมาก : คู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนในเชิงระยะสั้นโดยเฉพาะปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีความ ความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงินนี้เป็นปัจจัยระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
การประกาศยอดขายปลีกออสเตรเลียการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียมี อาจมีความผันผวนกับสกุลเงินออสเตรเลีย
ในช่วงเวลา 08:30 น. จะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียประจำเดือนมิถุนายนโดยที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากซึ่งจะมีการประกาศในวันที่ 4 สิงหาคม 2021 แล้วลงทุนได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะมีการประกาศออกมาที่เท่าเดิมที่ -1.8% ซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเช่นเดียวกัน
ซึ่งสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีความผันผวนในช่วงสั้นกับการประกาศตัวเลขนี้อย่างไรก็ดีสกุลออสเตรเลียมักจะมีความผันผวนกับสกุลเงินดอลล่าร์ในทิศทางฝั่งตรงกันข้ามและต้องจับตาดูสกุลเงินหยวนโดยที่การประกาศครั้งนี้อาจจะมีความผันผวนเพียงระยะสั้นเท่านั้น
คู่เงินที่สำคัญก็คือ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้มีการฟื้นตัวขึ้นหลังจากที่จะมีการคงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียในระยะสั้นดังนั้นต้องจับตามองว่าจะมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องของสกุลออสเตรเลียหรือไม่ ซึ่งอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74022 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74143 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74416
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73846 แนวรับที่สองก็คือ 0.73749 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามอง : โดยที่ในการประกาศนี้อาจจะจับตาดูว่าจะมีการประกาศในความเป็นไปได้ในการมากกว่าที่คาดการณ์ไว้หรือไม่ถ้ามีการคาดการณ์ไว้ในระดับนี้และมีการประกาศมาสูงกว่าอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUDUSD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD อ่อนค่าหลัง FED แถลงสกุลเงินดอลล่าร์อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ ประธาน FED แถลงเมื่อวานที่ผ่านมา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จากการที่ประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาได้มีการแถลงนโยบายทางการเงินเมื่อคืนวันพุธที่ผ่านมาส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงโดยเนื้อความสำคัญยังคงไม่มีการส่งสัญญาณในการลดการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้
ประกอบกับมีการตอบคำถามจากผู้สื่อข่าวที่มีการถามในการแถลงในครั้งนี้โดยเนื้อความของผู้สื่อข่าวที่มีการถามที่มีใจความสำคัญก็คือจะมีโอกาสในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือไม่ซึ่งประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาได้มีการตอบคำถามนี้อย่างน่าสนใจว่า
" ในการขึ้นอัตราดอกเบี้ยจำเป็นที่จะต้องมีการหยุดการอัดฉีดเม็ดเงินให้เป็นศูนย์ถึงจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้ " ดังนั้นนักลงทุนจึงตีความจากการตอบคำถามในครั้งนี้ว่ามีความเป็นไปได้น้อยมากที่อาจจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยในเร็ววันนี้เพราะยังมีการอัดฉีดเม็ดเงินอย่างต่อเนื่อง
และอีกหนึ่งคำถามที่สำคัญอย่างมากก็คือตราสาร MBS จะมีความสำคัญหรือไม่เนื่องจากในส่วนของ ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยยังคงมีจึงมีคำถามจากผู้สื่อข่าวถามว่าตราสารหนี้ยังคงมีความสำคัญหรือไม่ประธานธนาคารกลางสหรัฐได้มีคำตอบออกมาและเนื้อความว่า "ตราสารนี้ยังคงมีความจำเป็นอยู่เนื่องจากว่าปัญหาของภาคที่อยู่อาศัยยังคงมีอยู่และยังคงต้องปรึกษาและอภิปรายกันครั้งถัดไปสำหรับตราสารนี้ " จากคำตอบนี้ทำให้นักลงทุนยังคงคาดการณ์ว่าอาจจำเป็นจะต้องมีการเข้าซื้อตราสาร MBS จนกว่าราคาที่อยู่อาศัยและปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยจะน้อยลง
การคาดหวังในครั้งนี้?
ดังนั้นจากปัจจัยในการตอบคำถามของประธานธนาคารกลางสหรัฐทำให้นักลงทุนในหลายสำนักเริ่มตั้งข้อสังเกตว่าการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้อาจจะยังคงอาทิตย์เม็ดเงินอย่างต่อเนื่องและในส่วนของการขึ้นอัตราดอกเบี้ยยังคงไม่ขึ้นอัตราดอกเบี้ยในปีถัดไปแน่นอนจึงทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยในรอบวันทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง -0.36% ในรอบวันและดูเหมือนว่าอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องนักลงทุนยังคงมีการคาดการณ์ว่าสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะลงไปถึงแนวรับสำคัญที่ 91.51 ดังนั้นถ้ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องจะสะท้อนให้เห็นถึงคู่เงินอื่นที่มีการเทียบกับดอลล่าร์ดีดตัวขึ้น
ซึ่งในส่วนของ NZDUSD ได้มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในรอบวันมีการขยับตัวขึ้นถึง +0.73% และอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70186 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70274 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0770402
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.69874 แนวรับที่สองก็คือ 0.69718 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69522
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ NZDUSD : ยังคงต้องเฝ้าจับตามองสกุลเงินนิวซีแลนด์อย่างมากเพราะจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้แต่ในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศดัชนี PCE วันศุกร์นี้เพราะอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนจึงควรติดตามอย่างมาก
USD/CHF : ในเชิงเทคนิคอาจย่อตัวลงดูเหมือนสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงก่อนการประชุม FED
สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอีกครั้งหลังจากที่เริ่มมีการผันผวนและอ่อนค่าลงก่อนการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวทำให้ในเชิงเทคนิคคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้น
คู่เงิน USDCHF มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ทั้ง สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในแนวโน้มระยะสั้นและระยะกลางดังนั้นในการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาที่กำลังจะถึงนี้อาจจะส่งผลทำให้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91216 แนวรับที่สองก็คือ 0.91019 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90771
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91423 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91635 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91817
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCHF : ซึ่งต้องจับตาดูในการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐรวมทั้งการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐเพราะจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์ประกอบกับ ในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาดูการประชุมของ FEDแม้ว่าจะเน้นไปที่ 40% ของประชากรสหรัฐฯ ที่เป็นผู้ใหญ่เป็นส่วนใหญ่ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน แต่การระบาดในปัจจุบันยังคงเพิ่มความตึงเครียดให้กับเฟดว่าการวางแผนป้องกันเงินเฟ้อควรเป็นความกังวลสูงสุดในช่วงเวลาที่วิกฤตสุขภาพยังอาจควบคุมอย่างอื่นหรือไม่ การกู้คืนที่ลุกลาม
“น่าเศร้าที่ (ประธานเฟดเจอโรม) พาวเวลล์จะต้องยอมรับความเสี่ยงด้านลบที่เริ่มปรากฏขึ้น” ไดแอน สวอนก์ หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของแกรนท์ ธอร์นตัน เขียนก่อนการประชุมนโยบายสองวันของเฟดในสัปดาห์นี้ "เครื่องหมายคำถามคือการแพร่กระจายของตัวแปรเดลต้าส่งผลต่อการกลับมาทำงานอย่างไรและช่วยลดความต้องการบริการบางส่วนหรือไม่" ซึ่งเริ่มนำไปสู่การฟื้นตัวและดึงผู้คนนับล้านที่ถูกกีดกันกลับเข้าทำงาน
ซึ่งต้องจับตาดูในการแถลงของประธาน FED อย่างไรก็ดีในช่วงเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากประกอบกับในส่วนของในช่วงเวลา 01:30 น. ก็ยังคงเป็นการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธาน FED ที่จะมีการแถลงโดยเฉพาะการตอบคำถามของประธานธนาคารกลางสหรัฐ
คู่เงินที่สองที่สำคัญอย่างมากเช่นเดียวกันก็คือ USDJPY ซึ่งคู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยในช่วงสั้น จะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงของสกุลเงินเยนที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นแต่ถ้ามีการแถลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.200 แนวต้านที่สองก็คือ 110.382 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.570
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.923 แนวรับที่สองก็คือ 109.768 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.619
ประชุม FED ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 อัตราเงินเฟ้อธนาคารกลางสหรัฐจะสรุปการประชุมนโยบายล่าสุดในวันพุธที่ชั่งน้ำหนักความเสี่ยงของการฟื้นตัวของ COVID-19 ในสหรัฐอเมริกาและการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับภัยคุกคามเงินเฟ้อที่กำลังพัฒนาซึ่งเป็นจุดสนใจหลัก
คาดว่าเจ้าหน้าที่ของ Fed จะอภิปรายกันต่อไปว่าเมื่อใดควรหย่านมเศรษฐกิจจากมาตรการที่ใช้มานานกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมาเพื่อต่อสู้กับอาฟเตอร์ช็อกทางเศรษฐกิจของโรคระบาดใหญ่ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อหารือว่าเมื่อใดที่จะลดพันธบัตรกระทรวงการคลังจำนวน 120,000 ล้านดอลลาร์และการจำนอง หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางสหรัฐกำลังซื้อในแต่ละเดือนเพื่อระงับอัตราดอกเบี้ยระยะยาว
แต่การสนทนานั้นเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อหกสัปดาห์ก่อนเมื่อกรณีของ COVID-19 ในสหรัฐอเมริกาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของการฉีดวัคซีน มีความซับซ้อนโดยการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของไวรัสเดลต้าที่ติดเชื้อมากขึ้น การต่ออายุของเงื่อนไขวิกฤตในบาง โรงพยาบาลและคืนสถานะหน้ากากในบางเมือง
สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการผันผวนถ้ามีการยังคงการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าของสกุลเงินดอลล่าร์แต่ถ้ามีการส่งสัญญาณในการเริ่มลดการอัดฉีดเม็ดเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์
คู่เงินแรกที่สำคัญก็คือ EURUSD ที่ดูเหมือนว่าจะจับตาดูดอลล่าร์อย่างต่อเนื่องเพราะเริ่มมีการปรับตัวร่วงลงในช่วงสั้นจากการแข็งค่าขึ้นของดอลลาร์แต่ยังคงต้องจับตาดูเพราะยังคงมีความผันผวนในกรอบดังนั้นถ้าเกิดมีการแถลงในครั้งนี้ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18145 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18280 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18356
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17987 แนวรับที่สองก็คือ 1.17852 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17763
USD/CAD : ในทางเทคนิคมีโอกาสย่อตัวUSD/CAD ในทางเทคนิคเริ่มมีโอกาสยอดตัวหลังจากดอลล่าร์อ่อนค่า
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในเชิงเทคนิคยังคงมีโอกาสปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของทิศทางของราคาน้ำมันมีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิค
อย่างไรก็ดีปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์นั้นยังคงคอยกดดันคู่เงินนี้อย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของตลาดยังคงจับตาดูทิศทางของราคาน้ำมันที่จะเกี่ยวเนื่องกับสกุลเงินแคนาดาดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะจำเป็นจะต้องจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหรือไม่
โดยถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25077 แนวรับที่สองก็คือ 1.24822 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24473
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25892 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26329 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26652
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในเชิงเทคนิคของ USD/CAD : ปัจจัยเสี่ยงแรกยังจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์เพราะจะมีการประชุม FOMC ในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของทิศทางของราคาน้ำมันยังคงต้องจับตาดูดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ซึ่งดูเหมือนว่าจะมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ผู้ช่วย RBA เผยนโยบายทางการเงินผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการแถลงถึงนโยบายทางการเงิน
ในช่วงเวลา 19:35 น. จะมีการแถลงของผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียโดยที่นักลงทุนยังคงคาดหวังและมีการคาดการณ์ว่าในการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการกระตุ้นเศรษฐกิจอีกครั้งหรือไม่
ซึ่งสกุลเงินออสเตรเลียนั้นยังคงมีการเคลื่อนไหวกับนโยบายทางการเงินนี้อย่างต่อเนื่องแต่ในการประกาศนโยบายทางการเงินที่ผ่านมาทางธนาคารกลางออสเตรเลียยังคงมีการอัดฉีดเม็ดเงินอย่างต่อเนื่องและยังมีแนวโน้มที่ยังคงอัดฉีดเม็ดเงินในเชิงระยะสั้น
ดังนั้นต้องจับตาดูนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียถ้ามีการประกาศเริ่มมีการส่งสัญญาณในการลดการอัดฉีดเม็ดเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียอาจจะส่งผลให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและในทิศทางกับการอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงถ้ามีการประกาศยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินอย่างต่อเนื่อง
ในคู่เงิน AUDUSD อาจจะมีการผันผวนในการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินในครั้งนี้ ซึ่งในรอบวันมีการปรับตัวขึ้น +0.22% และในระยะกลางยังคงมีการขยับตัวขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลง
จึงควรติดตามว่า AUDUSD มีการผันผวนในทิศทางไหนถ้ามีการประกาศนโยบายทางการเงินในครั้งนี้
ซึ่งถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสามารถทะลุ 0.73883 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.74151 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74420
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73515 แนวรับที่สองก็คือ 0.73360 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73130
GBP ในเชิงเทคนิคแข็งค่าขึ้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีโอกาสขยับตัวแข็งค่าขึ้น
ทางด้านเทคนิคสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ในทางด้านปัจจัยพื้นฐานยังคงมีการขยับตัวแข็งค่าขึ้นจากการที่นักลงทุนเริ่มเห็นว่าทางอังกฤษเริ่มมีรายงานผู้ติดเชื้อ โควิด-19 เริ่มลดน้อยลงและยิ่งผู้ที่เสียชีวิตมีการปรับตัวลงนั้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
ประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษใน หลายตัวเลขในสัปดาห์ที่ผ่านมาเริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นดังนั้นปัจจัยในหลายปัจจัยยังคงส่งทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
ซึ่งคู่เงิน GBPUSD ในสองวันที่ผ่านมามีการขยับตัวสูงขึ้น +1.31% อยู่ในระดับสูงที่สุดก็คือ 1.37784 อย่างไรก็ดีในรอบวันมีการพักตัวระยะสั้นในวันนี้
ดังนั้นจากปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและคู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.37754 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38117 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38591
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37314 แนวรับที่สองก็คือ 1.36985 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.36724
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPUSD ที่น่าจับตามองอย่างมาก : สกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์ถัดไปยังคงต้องจับตามองการประกาศตัวเลขผู้ที่ติดเชื้อและตัวเลขของผู้ที่เสียชีวิตของไวรัส โควิด-19 ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
JPY อ่อนค่าระยะสั้นในเชิงเทคนิคสกุลเงินเยนเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นในเชิงเทคนิค
จากปัจจัยตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นตามทิศทางของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นโดยทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวสูงขึ้นดังนั้นในส่วน USDJPY อาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นเช่นเดียวกัน
โดยปัจจัยทางด้านเทคนิค USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นจากสองปัจจัยหลักก็คือในส่วนของดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับดัชนีดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้ ในสองวันที่ผ่านมามีการขยับตัวสูงขึ้น +0.39% และทำ. ระดับสูงสุดที่ 110.328 ซึ่งเป็นการขยับขึ้นในช่วงระยะสั้น ในการเคลื่อนไหวดังกล่าวควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 110.326 แนวต้านที่สองก็คือ 110.517 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.633
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.063 แนวรับที่สองก็คือ 109.879 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.521
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมาก : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริการวมทั้งจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์และดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนในสัปดาห์ถัดไป
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB คงดอกเบี้ยตามคาดธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยตามการคาดการณ์
ธนาคารกลางยุโรปมีมติการคงอัตราดอกเบี้ยและวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรในการประชุมครั้งล่าสุดในวันนี้ตามที่มีการคาดการณ์ไว้
ในการประชุมธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรืออัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ที่ระดับ 0% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการและมีการคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ฝากไว้กับธนาคารกลางยุโรปที่ระดับ -0.50% ในขณะที่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ระดับ 0.25%
นอกจากนี้ธนาคารกลางยุโรปยังมีมติคงวงเงินในการเข้าซื้อพันธบัตรตามโครงการ PEPP ที่ระดับ 1.85 ล้านยูโร ซึ่ง ECB จะซื้อพันธบัตรตามโครงการดังกล่าวจนถึงเดือนมีนาคม 2 565 โดยจะซื้อพันธบัตรในวงเงินเดือนละสองหมื่นล้านยูโร
อย่างไรก็ดีธนาคารกลางยุโรปได้มีเป้าหมายเงินเฟ้อในระยะกลางอยู่ในระดับ 2% จากเดิมที่กำหนดให้อยู่ใกล้แต่ไม่เกิน 2%
ขณะเดียวกันธนาคารกลางยุโรปยังไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะแตะระดับเป้าหมาย 2% ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณว่าธนาคารกลางยุโรปจะไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปอีกสองปีเนื่องจากธนาคารกลางยุโรปคาดการณ์ก่อนหน้านี้ว่าเงินเฟ้อจะอยู่ในยูโรโซนซึ่งจะยังไม่แตะระดับ 2% อย่างน้อยในอีกสองปีข้างหน้า
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นโดย ได้ 4 ชั่วโมงที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลง -0.46% สำหรับ EURUSD โดยปัจจัยดังกล่าวส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าดังนั้นคู่ EURUSD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17598 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17392 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17241
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.17812 เป็นแนวต้านที่ 117179008 แนวต้านที่สองและแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18149
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในสัปดาห์หน้าที่จะต้องติดตามสำหรับคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนทำให้ EURUSD มีความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูในสัปดาห์ถัดไป
รายงานการประชุม BOJ กับ USDJPYการวิเคราะห์ของราคา
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.34% และ EURJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.22% ประกอบกับ CADJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.79% สะท้อนให้เห็นว่าสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
โดยปัจจัยของคู่เงิน USDJPY ที่มีการฟื้นตัวขึ้นนั้นต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์ว่าจะสามารถแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจะมีการปรับตัวอ่อนค่าหรือไม่ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.930 แนวต้านที่สองก็คือ 110.126 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.314
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.526 แนวรับที่สองก็คือ 109.420 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.192
ดัชนียอดขายปลีกพุ่งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานสหรัฐขยับตัวสูงขึ้น
ในวันนี้ในช่วงเวลา 19:30 น. มีการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนมิถุนายนโดยเฉพาะการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 1.3% ครั้งก่อน -0.9% ประกอบกับมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน -1.7%
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นโดยคู่เงิน USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นถึงแม้ว่าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงก็ตาม จากในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.21% แนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.316 แนวต้านที่สองก็คือ 110.511 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.630
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.955 แนวรับที่สองก็คือ 109.880 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.744
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่กระทบจากดอลล่าร์ : ปัจจัยที่น่าจับตามองของดอลล่าร์ที่ยังคงต้องจับตาก็คือการแถลงของสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในสัปดาห์ถัดไปเพราะจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมากในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในสัปดาห์ถัดไปเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
Stable Coins จำเป็นต้องมีกฎระเบียบPowell กล่าวว่า Stable Coins จำเป็นต้องมีกฎระเบียบเพื่อปกป้องสาธารณะของสหรัฐอเมริกา
นายเจอโรม พาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) กล่าวว่ามีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากเหรียญที่มีเสถียรภาพ และพวกเขาต้องการกฎระเบียบเพื่อความปลอดภัย
Powell บอกกับคณะกรรมการบริการทางการเงินของสภาเมื่อวันพุธว่าเหรียญที่มีเสถียรภาพนั้นคล้ายกับกองทุนตลาดเงินหรือเงินฝากธนาคาร “แต่ไม่มีข้อบังคับ”
“เรามีประเพณีในประเทศนี้ที่เงินของประชาชนถูกเก็บไว้ในสิ่งที่ควรจะเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัยมาก เรามีกรอบการกำกับดูแลที่รัดกุมเกี่ยวกับเงินฝากธนาคาร เช่น กองทุนตลาดเงิน นั่นไม่มีอยู่จริงสำหรับเหรียญที่มีเสถียรภาพ” เขากล่าวในระหว่างการให้การเป็นพยานครึ่งปีเกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินคลิปโต มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะสกุลเงินบิทคอยน์ ซึ่งในรอบวันมีการปรับตัวลงถึง -4.58% อยู่ในระดับต่ำกว่า 32,000 ดอลล่าร์ต่อหนึ่งบิทคอยน์ ดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินบิทคอยน์มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 31,228 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 30,257 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 29,222
แต่ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 31,860 แนวต้านที่สองก็คือ 32,100 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 32,509
ปัจจัยเสี่ยงของสกุลเงินบิทคอยน์ในระยะสั้น : ยังคงต้องติดตามปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการจำกัดของสกุลเงินดิจิตอลซึ่งต้องจับตาดูทั้งในส่วนของหน่วยงานรัฐบาลและหน่วยงานของเอกชนที่ยังคงจำเป็นจะต้องให้ความเชื่อมั่นกับสกุลเงินดิจิตอลอย่างต่อเนื่อง
USD จะแข็งค่าหรือไม่ธนาคารกลางสหรัฐจะมีการแถลงต่อหน้าสภาคองเกรสอีกครั้ง
ในวันนี้ประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาจะมีการแถลงต่อหน้าคณะกรรมาธิการธนาคารประจำวุฒิสภาในวันนี้ในช่วงเวลา 20:30 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยจะมีการแถลงและมีการตอบคำถามในสภาอย่างต่อเนื่องนักลงทุนยังคงจับตาดูการแถลงถึงการลดการอัดฉีดเม็ดเงินรวมทั้งการแถลงในช่วงครึ่งปีหลังว่าธนาคารกลางสหรัฐจะมีแนวโน้มอย่างไรกับนโยบายทางการเงิน
โดยปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและคู่เงิน USDCAD อาจจะมีความผันผวนเช่นเดียวกัน ซึ่ง USDCAD มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากทิศทางของราคาน้ำมันรวมทั้งดัชนีดาวโจนส์มีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นควรติดตามว่าจะมีความผันผวนอย่างไรและติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25830 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26335 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26764
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25064 แนวรับที่สองก็คือ 1.24555 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24254
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCAD ในปัจจัยนี้ยังคงต้องติดตามในส่วนของทิศทางราคาน้ำมันเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินแคนาดาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ต้องจับตาการแถลงต่อหน้าสภาของประธานธนาคารกลางสหรัฐ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์กดดัน JPYตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยกดดันสกุลเงินเยนให้มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
ในรอบวันนี้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นตามทิศทางเดียวกันกับดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ โดยดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้น +2.12% ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในวันนี้การเปิดตลาดสหรัฐจะส่งผลให้มีการขยับตัวสูงขึ้นหรือไม่ต้องจับตาดูในระยะสั้น
โดยคู่เงิน USDJPY มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่ดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงมีการย่อตัวลงแต่ไม่ทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.274 แนวต้านที่สองก็คือ 110.582 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.751
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.887 แนวรับที่สองก็คือ 109.748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.567
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่น่าจับตามอง ในสัปดาห์ถัดไป : ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยทั้งเป็นแรงหนุนและแรงกดดันให้กับสกุลเงินเยนดังนั้นจับตามองทั้งสองปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB แถลงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางยุโรปจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินในวันพฤหัสนี้เวลา 18:30 น.
ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2021 จะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรป ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตาดูว่าแถลงการณ์ในครั้งนี้จะส่งผลและมีการส่งสัญญาณเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินมากน้อยแค่ไหนและจะส่งผลให้กับสกุลเงินยูโรมากขนาดไหนซึ่งน่าจับตามองยากมาก
โดยคู่สกุลเงิน EURUSD มีการพักตัวในหลายชั่วโมงที่ผ่านมาหลังจากที่ดอลล่าร์มีการพักตัวเช่นเดียวกันทำให้นักลงทุนต่างจับตามองการประกาศตัวเลขที่สำคัญทั้งของดอลล่าร์และของสกุลเงินยูโรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18393 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18526 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18714
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18128 แนวรับที่สองก็คือ 1.17960 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17773
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองอย่างมากสำหรับสัปดาห์นี้ : ในสัปดาห์นี้จะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของการรายงานการประชุมของธนาคารกลางยุโรปและการประกาศจำนวน ผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ซึ่งต้องจับตามองอย่างมากในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD ยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการขึ้นไหวอยู่ในกรอบระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์ในสองวันที่ผ่านมายังคงเคลื่อนไหววิ่งอยู่ในกรอบโดยที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในวันจันทร์ที่ผ่านมาแต่ในวันอังคารมีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบเท่านั้นเนื่องจากในการประกาศปัจจัยในตารางยังส่งผลไม่มากประกอบกับในการประกาศสำคัญในสัปดาห์นี้ยังคงมีการประกาศเพียงแค่การรายงานการประชุมของ FOMC ดังนั้นปัจจัยอาจจะมีผลกระทบน้อยมาก
คุณสามารถซื้อขาย " USDCHF " ใน MT5 และ FBSTrader !
โดยสกุลเงิน USDCHF ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันถึงแม้ว่าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นในวันจันทร์ที่ผ่านมาแต่ก็มีการย่อตัวลงหลังจากที่ สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยแนะนำจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92483 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92590 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92727
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92288 แนวรับที่สองก็คือ 0.92130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92030
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF ที่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด : ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการรายงานการประชุมของ FOMC ในวันพุธที่จะถึงนี้แต่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ใน หลายสำนักยังคงมีการให้ความเห็นว่าอาจจะไม่ส่งผลมากเนื่องจากประเด็นอาจจะยังคงมีไม่มากและยังคงใช้ประเด็นเดิมของธนาคารกลางสหรัฐดังนั้นจับตาดูปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
RBA จะมีการปรับดอกเบี้ยอังคารนี้ธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยในวันอังคารที่จะถึงนี้
ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 แต่ช่วงเวลา 11:30 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียรวมทั้งแถลงของธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยที่มีการคาดการณ์ว่าอาจจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยที่เท่าเดิมที่ 0.10% แต่ต้องจับตาดูว่าจะมีการ ปรับนโยบายทางการเงินอย่างไร
โดยที่ AUDUSD มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสกุลเงินหยวนที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75465 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75639 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75729
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.75116 แนวรับที่สองก็คือ 0.74889 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : จะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของจีนรวมทั้งการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียประกอบกับจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญทั้งดัชนีพีเอ็มไอต่างๆซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนจึงควรจับตามองอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/USD : มีโอกาสปรับตัวลงจากรถล่ะในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตามองอย่างใกล้ชิด
สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีโอกาสปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทั้งปัจจัยในเชิงปัจจัยพื้นฐานโดยเฉพาะการดึงเงินออกของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 คือการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก ประกาศน้อยกว่าการคาดการณ์ส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้ในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
โดยในส่วนของ GBPUSD ในเชิงเทคนิคทั้งในแนวโน้มระยะสั้นและระยะกลางดูเหมือนมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37774 แนวรับที่สองก็คือ 1.37550 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37235
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 1.38197 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38334 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38669
ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงจำเป็นจะต้องติดตามของคู่เงินนี้ก็คือ : จะมีการประกาศตัวเลขของสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศตัวเลขอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกา ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูในส่วนของการแถลงแต่ละครั้งของอังกฤษเพราะจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD จับตาดูการประชุม OPCEการประชุม OPCE สำคัญอย่างมากกับสกุลเงินแคนาดา
ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 จะมีการประชุมโอเปคเกี่ยวเนื่องกับการลดกำลังการผลิตน้ำมันซึ่งจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวน ถ้ามีการลดกำลังการผลิตน้ำมันอาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าแต่ถ้ามีการเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมันอาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดาอ่อนค่าต้องจับตาดูการประกาศในส่วนของโอเปคในครั้งนี้
คู่เงิน USDCAD ยังคงมีความผันผวนและมีการปรับตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากทิศทางราคาน้ำมันที่มีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงแนวรับแรกก็คือ 1.23560 แนวรับที่สองก็คือ 1.23382 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.23259
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23802 แนวต้านที่สองก็คือ 1.24029 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24205
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCAD ที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยในส่วนของสกุลเงินแคนาดายังคงต้องจับตามองการประชุมโอเปคในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 นี้ว่าจะมีการตัดสินใจในการลดกำลังการผลิตหรือไม่ประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้จะเกี่ยวเนื่องกับสกุลเงินแคนาดาประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาด้วยเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EURUSD รอ NFPสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีความผันผวนในการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตร
ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญนี้และอาจจะมีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยคู่เงิน EURUSD ในช่วงนี้มีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบถึงแม้ว่าในระยะกลางยังคงมีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลสร้างความผันผวนอย่างรุนแรงให้กับคู่เงินนี้อย่างแน่นอนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นทะลุ 1.18578 ขึ้นไปได้กรอบแนวต้านที่สองก็คือ 1.18807 และแนวต้านสุดท้ายในระยะสั้นก็คือ 1.18922
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18390 แนวรับที่สองก็คือ 1.18283 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18023
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์แต่ในส่วนของสกุลเงินยูโรในช่วงเวลา 19:30 น. ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 ทางด้านประธานธนาคารกลางยุโรปจะมีการเข้าร่วมเสวนาในหัวข้อเรื่องเราจะได้เรียนรู้อะไรในปี 2020 ในประเทศฝรั่งเศสต้องจับตาดูว่าจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินหรือไม่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรอีกครั้งหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด