USD/CAD : ในทางเทคนิคมีโอกาสย่อตัวUSD/CAD ในทางเทคนิคเริ่มมีโอกาสยอดตัวหลังจากดอลล่าร์อ่อนค่า
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในเชิงเทคนิคยังคงมีโอกาสปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของทิศทางของราคาน้ำมันมีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิค
อย่างไรก็ดีปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์นั้นยังคงคอยกดดันคู่เงินนี้อย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของตลาดยังคงจับตาดูทิศทางของราคาน้ำมันที่จะเกี่ยวเนื่องกับสกุลเงินแคนาดาดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะจำเป็นจะต้องจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหรือไม่
โดยถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25077 แนวรับที่สองก็คือ 1.24822 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24473
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25892 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26329 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26652
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในเชิงเทคนิคของ USD/CAD : ปัจจัยเสี่ยงแรกยังจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์เพราะจะมีการประชุม FOMC ในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของทิศทางของราคาน้ำมันยังคงต้องจับตาดูดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ซึ่งดูเหมือนว่าจะมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD (ดอลล่าร์สหรัฐ)
ผู้ช่วย RBA เผยนโยบายทางการเงินผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการแถลงถึงนโยบายทางการเงิน
ในช่วงเวลา 19:35 น. จะมีการแถลงของผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียโดยที่นักลงทุนยังคงคาดหวังและมีการคาดการณ์ว่าในการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการกระตุ้นเศรษฐกิจอีกครั้งหรือไม่
ซึ่งสกุลเงินออสเตรเลียนั้นยังคงมีการเคลื่อนไหวกับนโยบายทางการเงินนี้อย่างต่อเนื่องแต่ในการประกาศนโยบายทางการเงินที่ผ่านมาทางธนาคารกลางออสเตรเลียยังคงมีการอัดฉีดเม็ดเงินอย่างต่อเนื่องและยังมีแนวโน้มที่ยังคงอัดฉีดเม็ดเงินในเชิงระยะสั้น
ดังนั้นต้องจับตาดูนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียถ้ามีการประกาศเริ่มมีการส่งสัญญาณในการลดการอัดฉีดเม็ดเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียอาจจะส่งผลให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและในทิศทางกับการอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงถ้ามีการประกาศยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินอย่างต่อเนื่อง
ในคู่เงิน AUDUSD อาจจะมีการผันผวนในการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินในครั้งนี้ ซึ่งในรอบวันมีการปรับตัวขึ้น +0.22% และในระยะกลางยังคงมีการขยับตัวขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลง
จึงควรติดตามว่า AUDUSD มีการผันผวนในทิศทางไหนถ้ามีการประกาศนโยบายทางการเงินในครั้งนี้
ซึ่งถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสามารถทะลุ 0.73883 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.74151 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74420
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73515 แนวรับที่สองก็คือ 0.73360 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73130
GBP ในเชิงเทคนิคแข็งค่าขึ้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีโอกาสขยับตัวแข็งค่าขึ้น
ทางด้านเทคนิคสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ในทางด้านปัจจัยพื้นฐานยังคงมีการขยับตัวแข็งค่าขึ้นจากการที่นักลงทุนเริ่มเห็นว่าทางอังกฤษเริ่มมีรายงานผู้ติดเชื้อ โควิด-19 เริ่มลดน้อยลงและยิ่งผู้ที่เสียชีวิตมีการปรับตัวลงนั้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
ประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษใน หลายตัวเลขในสัปดาห์ที่ผ่านมาเริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นดังนั้นปัจจัยในหลายปัจจัยยังคงส่งทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
ซึ่งคู่เงิน GBPUSD ในสองวันที่ผ่านมามีการขยับตัวสูงขึ้น +1.31% อยู่ในระดับสูงที่สุดก็คือ 1.37784 อย่างไรก็ดีในรอบวันมีการพักตัวระยะสั้นในวันนี้
ดังนั้นจากปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและคู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.37754 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38117 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38591
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37314 แนวรับที่สองก็คือ 1.36985 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.36724
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPUSD ที่น่าจับตามองอย่างมาก : สกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์ถัดไปยังคงต้องจับตามองการประกาศตัวเลขผู้ที่ติดเชื้อและตัวเลขของผู้ที่เสียชีวิตของไวรัส โควิด-19 ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
JPY อ่อนค่าระยะสั้นในเชิงเทคนิคสกุลเงินเยนเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นในเชิงเทคนิค
จากปัจจัยตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นตามทิศทางของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นโดยทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวสูงขึ้นดังนั้นในส่วน USDJPY อาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นเช่นเดียวกัน
โดยปัจจัยทางด้านเทคนิค USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นจากสองปัจจัยหลักก็คือในส่วนของดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับดัชนีดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้ ในสองวันที่ผ่านมามีการขยับตัวสูงขึ้น +0.39% และทำ. ระดับสูงสุดที่ 110.328 ซึ่งเป็นการขยับขึ้นในช่วงระยะสั้น ในการเคลื่อนไหวดังกล่าวควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 110.326 แนวต้านที่สองก็คือ 110.517 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.633
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.063 แนวรับที่สองก็คือ 109.879 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.521
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมาก : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริการวมทั้งจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์และดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนในสัปดาห์ถัดไป
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB คงดอกเบี้ยตามคาดธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยตามการคาดการณ์
ธนาคารกลางยุโรปมีมติการคงอัตราดอกเบี้ยและวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรในการประชุมครั้งล่าสุดในวันนี้ตามที่มีการคาดการณ์ไว้
ในการประชุมธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรืออัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ที่ระดับ 0% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการและมีการคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ฝากไว้กับธนาคารกลางยุโรปที่ระดับ -0.50% ในขณะที่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ระดับ 0.25%
นอกจากนี้ธนาคารกลางยุโรปยังมีมติคงวงเงินในการเข้าซื้อพันธบัตรตามโครงการ PEPP ที่ระดับ 1.85 ล้านยูโร ซึ่ง ECB จะซื้อพันธบัตรตามโครงการดังกล่าวจนถึงเดือนมีนาคม 2 565 โดยจะซื้อพันธบัตรในวงเงินเดือนละสองหมื่นล้านยูโร
อย่างไรก็ดีธนาคารกลางยุโรปได้มีเป้าหมายเงินเฟ้อในระยะกลางอยู่ในระดับ 2% จากเดิมที่กำหนดให้อยู่ใกล้แต่ไม่เกิน 2%
ขณะเดียวกันธนาคารกลางยุโรปยังไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะแตะระดับเป้าหมาย 2% ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณว่าธนาคารกลางยุโรปจะไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปอีกสองปีเนื่องจากธนาคารกลางยุโรปคาดการณ์ก่อนหน้านี้ว่าเงินเฟ้อจะอยู่ในยูโรโซนซึ่งจะยังไม่แตะระดับ 2% อย่างน้อยในอีกสองปีข้างหน้า
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นโดย ได้ 4 ชั่วโมงที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลง -0.46% สำหรับ EURUSD โดยปัจจัยดังกล่าวส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าดังนั้นคู่ EURUSD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17598 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17392 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17241
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.17812 เป็นแนวต้านที่ 117179008 แนวต้านที่สองและแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18149
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในสัปดาห์หน้าที่จะต้องติดตามสำหรับคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนทำให้ EURUSD มีความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูในสัปดาห์ถัดไป
รายงานการประชุม BOJ กับ USDJPYการวิเคราะห์ของราคา
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.34% และ EURJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.22% ประกอบกับ CADJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.79% สะท้อนให้เห็นว่าสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
โดยปัจจัยของคู่เงิน USDJPY ที่มีการฟื้นตัวขึ้นนั้นต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์ว่าจะสามารถแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจะมีการปรับตัวอ่อนค่าหรือไม่ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.930 แนวต้านที่สองก็คือ 110.126 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.314
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.526 แนวรับที่สองก็คือ 109.420 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.192
ดัชนียอดขายปลีกพุ่งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานสหรัฐขยับตัวสูงขึ้น
ในวันนี้ในช่วงเวลา 19:30 น. มีการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนมิถุนายนโดยเฉพาะการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 1.3% ครั้งก่อน -0.9% ประกอบกับมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน -1.7%
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นโดยคู่เงิน USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นถึงแม้ว่าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงก็ตาม จากในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.21% แนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.316 แนวต้านที่สองก็คือ 110.511 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.630
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.955 แนวรับที่สองก็คือ 109.880 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.744
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่กระทบจากดอลล่าร์ : ปัจจัยที่น่าจับตามองของดอลล่าร์ที่ยังคงต้องจับตาก็คือการแถลงของสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในสัปดาห์ถัดไปเพราะจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมากในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในสัปดาห์ถัดไปเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
Stable Coins จำเป็นต้องมีกฎระเบียบPowell กล่าวว่า Stable Coins จำเป็นต้องมีกฎระเบียบเพื่อปกป้องสาธารณะของสหรัฐอเมริกา
นายเจอโรม พาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) กล่าวว่ามีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากเหรียญที่มีเสถียรภาพ และพวกเขาต้องการกฎระเบียบเพื่อความปลอดภัย
Powell บอกกับคณะกรรมการบริการทางการเงินของสภาเมื่อวันพุธว่าเหรียญที่มีเสถียรภาพนั้นคล้ายกับกองทุนตลาดเงินหรือเงินฝากธนาคาร “แต่ไม่มีข้อบังคับ”
“เรามีประเพณีในประเทศนี้ที่เงินของประชาชนถูกเก็บไว้ในสิ่งที่ควรจะเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัยมาก เรามีกรอบการกำกับดูแลที่รัดกุมเกี่ยวกับเงินฝากธนาคาร เช่น กองทุนตลาดเงิน นั่นไม่มีอยู่จริงสำหรับเหรียญที่มีเสถียรภาพ” เขากล่าวในระหว่างการให้การเป็นพยานครึ่งปีเกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินคลิปโต มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะสกุลเงินบิทคอยน์ ซึ่งในรอบวันมีการปรับตัวลงถึง -4.58% อยู่ในระดับต่ำกว่า 32,000 ดอลล่าร์ต่อหนึ่งบิทคอยน์ ดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินบิทคอยน์มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 31,228 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 30,257 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 29,222
แต่ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 31,860 แนวต้านที่สองก็คือ 32,100 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 32,509
ปัจจัยเสี่ยงของสกุลเงินบิทคอยน์ในระยะสั้น : ยังคงต้องติดตามปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการจำกัดของสกุลเงินดิจิตอลซึ่งต้องจับตาดูทั้งในส่วนของหน่วยงานรัฐบาลและหน่วยงานของเอกชนที่ยังคงจำเป็นจะต้องให้ความเชื่อมั่นกับสกุลเงินดิจิตอลอย่างต่อเนื่อง
USD จะแข็งค่าหรือไม่ธนาคารกลางสหรัฐจะมีการแถลงต่อหน้าสภาคองเกรสอีกครั้ง
ในวันนี้ประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาจะมีการแถลงต่อหน้าคณะกรรมาธิการธนาคารประจำวุฒิสภาในวันนี้ในช่วงเวลา 20:30 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยจะมีการแถลงและมีการตอบคำถามในสภาอย่างต่อเนื่องนักลงทุนยังคงจับตาดูการแถลงถึงการลดการอัดฉีดเม็ดเงินรวมทั้งการแถลงในช่วงครึ่งปีหลังว่าธนาคารกลางสหรัฐจะมีแนวโน้มอย่างไรกับนโยบายทางการเงิน
โดยปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและคู่เงิน USDCAD อาจจะมีความผันผวนเช่นเดียวกัน ซึ่ง USDCAD มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากทิศทางของราคาน้ำมันรวมทั้งดัชนีดาวโจนส์มีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นควรติดตามว่าจะมีความผันผวนอย่างไรและติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25830 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26335 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26764
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25064 แนวรับที่สองก็คือ 1.24555 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24254
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCAD ในปัจจัยนี้ยังคงต้องติดตามในส่วนของทิศทางราคาน้ำมันเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินแคนาดาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ต้องจับตาการแถลงต่อหน้าสภาของประธานธนาคารกลางสหรัฐ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์กดดัน JPYตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยกดดันสกุลเงินเยนให้มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
ในรอบวันนี้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นตามทิศทางเดียวกันกับดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ โดยดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้น +2.12% ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในวันนี้การเปิดตลาดสหรัฐจะส่งผลให้มีการขยับตัวสูงขึ้นหรือไม่ต้องจับตาดูในระยะสั้น
โดยคู่เงิน USDJPY มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่ดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงมีการย่อตัวลงแต่ไม่ทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.274 แนวต้านที่สองก็คือ 110.582 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.751
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.887 แนวรับที่สองก็คือ 109.748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.567
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่น่าจับตามอง ในสัปดาห์ถัดไป : ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยทั้งเป็นแรงหนุนและแรงกดดันให้กับสกุลเงินเยนดังนั้นจับตามองทั้งสองปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB แถลงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางยุโรปจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินในวันพฤหัสนี้เวลา 18:30 น.
ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2021 จะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรป ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตาดูว่าแถลงการณ์ในครั้งนี้จะส่งผลและมีการส่งสัญญาณเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินมากน้อยแค่ไหนและจะส่งผลให้กับสกุลเงินยูโรมากขนาดไหนซึ่งน่าจับตามองยากมาก
โดยคู่สกุลเงิน EURUSD มีการพักตัวในหลายชั่วโมงที่ผ่านมาหลังจากที่ดอลล่าร์มีการพักตัวเช่นเดียวกันทำให้นักลงทุนต่างจับตามองการประกาศตัวเลขที่สำคัญทั้งของดอลล่าร์และของสกุลเงินยูโรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18393 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18526 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18714
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18128 แนวรับที่สองก็คือ 1.17960 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17773
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองอย่างมากสำหรับสัปดาห์นี้ : ในสัปดาห์นี้จะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของการรายงานการประชุมของธนาคารกลางยุโรปและการประกาศจำนวน ผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ซึ่งต้องจับตามองอย่างมากในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD ยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการขึ้นไหวอยู่ในกรอบระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์ในสองวันที่ผ่านมายังคงเคลื่อนไหววิ่งอยู่ในกรอบโดยที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในวันจันทร์ที่ผ่านมาแต่ในวันอังคารมีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบเท่านั้นเนื่องจากในการประกาศปัจจัยในตารางยังส่งผลไม่มากประกอบกับในการประกาศสำคัญในสัปดาห์นี้ยังคงมีการประกาศเพียงแค่การรายงานการประชุมของ FOMC ดังนั้นปัจจัยอาจจะมีผลกระทบน้อยมาก
คุณสามารถซื้อขาย " USDCHF " ใน MT5 และ FBSTrader !
โดยสกุลเงิน USDCHF ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันถึงแม้ว่าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นในวันจันทร์ที่ผ่านมาแต่ก็มีการย่อตัวลงหลังจากที่ สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยแนะนำจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92483 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92590 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92727
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92288 แนวรับที่สองก็คือ 0.92130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92030
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF ที่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด : ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการรายงานการประชุมของ FOMC ในวันพุธที่จะถึงนี้แต่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ใน หลายสำนักยังคงมีการให้ความเห็นว่าอาจจะไม่ส่งผลมากเนื่องจากประเด็นอาจจะยังคงมีไม่มากและยังคงใช้ประเด็นเดิมของธนาคารกลางสหรัฐดังนั้นจับตาดูปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
RBA จะมีการปรับดอกเบี้ยอังคารนี้ธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยในวันอังคารที่จะถึงนี้
ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 แต่ช่วงเวลา 11:30 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียรวมทั้งแถลงของธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยที่มีการคาดการณ์ว่าอาจจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยที่เท่าเดิมที่ 0.10% แต่ต้องจับตาดูว่าจะมีการ ปรับนโยบายทางการเงินอย่างไร
โดยที่ AUDUSD มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสกุลเงินหยวนที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75465 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75639 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75729
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.75116 แนวรับที่สองก็คือ 0.74889 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : จะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของจีนรวมทั้งการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียประกอบกับจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญทั้งดัชนีพีเอ็มไอต่างๆซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนจึงควรจับตามองอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/USD : มีโอกาสปรับตัวลงจากรถล่ะในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตามองอย่างใกล้ชิด
สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีโอกาสปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทั้งปัจจัยในเชิงปัจจัยพื้นฐานโดยเฉพาะการดึงเงินออกของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 คือการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก ประกาศน้อยกว่าการคาดการณ์ส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้ในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
โดยในส่วนของ GBPUSD ในเชิงเทคนิคทั้งในแนวโน้มระยะสั้นและระยะกลางดูเหมือนมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37774 แนวรับที่สองก็คือ 1.37550 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37235
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 1.38197 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38334 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38669
ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงจำเป็นจะต้องติดตามของคู่เงินนี้ก็คือ : จะมีการประกาศตัวเลขของสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศตัวเลขอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกา ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูในส่วนของการแถลงแต่ละครั้งของอังกฤษเพราะจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD จับตาดูการประชุม OPCEการประชุม OPCE สำคัญอย่างมากกับสกุลเงินแคนาดา
ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 จะมีการประชุมโอเปคเกี่ยวเนื่องกับการลดกำลังการผลิตน้ำมันซึ่งจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวน ถ้ามีการลดกำลังการผลิตน้ำมันอาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าแต่ถ้ามีการเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมันอาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดาอ่อนค่าต้องจับตาดูการประกาศในส่วนของโอเปคในครั้งนี้
คู่เงิน USDCAD ยังคงมีความผันผวนและมีการปรับตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากทิศทางราคาน้ำมันที่มีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงแนวรับแรกก็คือ 1.23560 แนวรับที่สองก็คือ 1.23382 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.23259
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23802 แนวต้านที่สองก็คือ 1.24029 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24205
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCAD ที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยในส่วนของสกุลเงินแคนาดายังคงต้องจับตามองการประชุมโอเปคในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 นี้ว่าจะมีการตัดสินใจในการลดกำลังการผลิตหรือไม่ประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้จะเกี่ยวเนื่องกับสกุลเงินแคนาดาประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาด้วยเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EURUSD รอ NFPสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีความผันผวนในการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตร
ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญนี้และอาจจะมีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยคู่เงิน EURUSD ในช่วงนี้มีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบถึงแม้ว่าในระยะกลางยังคงมีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลสร้างความผันผวนอย่างรุนแรงให้กับคู่เงินนี้อย่างแน่นอนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นทะลุ 1.18578 ขึ้นไปได้กรอบแนวต้านที่สองก็คือ 1.18807 และแนวต้านสุดท้ายในระยะสั้นก็คือ 1.18922
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18390 แนวรับที่สองก็คือ 1.18283 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18023
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์แต่ในส่วนของสกุลเงินยูโรในช่วงเวลา 19:30 น. ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 ทางด้านประธานธนาคารกลางยุโรปจะมีการเข้าร่วมเสวนาในหัวข้อเรื่องเราจะได้เรียนรู้อะไรในปี 2020 ในประเทศฝรั่งเศสต้องจับตาดูว่าจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินหรือไม่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรอีกครั้งหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ยอดขายบ้านสหรัฐส่งผลกับดอลล่าร์วันพุธนี้จะมีการประกาศยอดขายบ้านของสหรัฐในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยในวันพุธนี้จะส่งผลให้กับดอลลาร์ระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่เริ่มมีการดึงเม็ดเงินออกจากระบบอย่างต่อเนื่องของธนาคารกลางสหรัฐส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของในวันพุธที่จะถึงนี้จะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญก็คือยอดขายบ้านที่รอการปิดการขายของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนพฤษภาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในเชิงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน USDCHF มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยได้รับแรงหนุนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92106 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92170 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92273
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91912 แนวรับที่สองก็คือ 0.91845 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91740
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : อย่างไรก็ดีจะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐในสัปดาห์นี้หลายการประกาศทั้งการประกาศยอดขายบ้านที่รอการปิดการขายหรือแม้กระทั่งในส่วนของวันศุกร์นี้จะมีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาซึ่งคู่เงินนี้จะโดนผลกระทบโดยตรงจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
เงินหยวนอาจกดดัน AUD วันพุธนี้เงินหยวนจะกดดันสกุลเงินออสเตรเลียในวันพุธที่จะถึงนี้
ดูเหมือนว่าจะมีการประกาศของจีนในการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนซึ่งจะส่งผลกับสกุลเงินออสเตรเลียในช่วงระยะสั้นอีกครั้งโดยที่ดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนมีการคาดการณ์ออกมาว่าในเดือนมิถุนายนจะประกาศออกมา 50.8 ครั้งก่อน 51.1 ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงไปในทิศทางเดียวกันกับสกุลเงินหยวน
โดยปัจจัยที่คู่เงินน่าจับตามองก็คือ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกดดันทำให้ สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.75268 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.75159 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74992
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75466 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75637 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75724 และแนวต้านอีกหนึ่งแล้วตามที่น่าจับตามองก็คือ 0.75849
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ซึ่งเป็นปัจจัยในเชิงระยะสั้น : ในวันพุธที่จะถึงนี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสกุลเงินหยวนคือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตรวมทั้งจะเป็น การประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ นอกภาคการผลิตของจีนประกอบกับจะมีรองผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินอีกครั้งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD จะอ่อนค่าหรือไม่ศูกร์นี้สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงติดตามปัจจัยหนุนสำคัญของการประกาศตัวเลขวันศุกร์นี้
นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเกี่ยวเนื่องกับการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้คือการประกาศดัชนีการใช้จ่ายผู้บริโภคส่วนบุคคลของสหรัฐอเมริกาที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 19:30 น. ตามเวลาประเทศไทยอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
เนื่องด้วยในตัวเลขนี้นักลงทุนต่างให้ความเห็นและในส่วนของธนาคารกลางสหรัฐยังคงจับตามองเพราะจะใช้ตัวเลขนี้เป็นตัวเลขที่คาดการณ์ว่าเงินเฟ้อจะมีความ ผันผวนและมีเงินเฟ้อมากน้อยแค่ไหนจึงส่งผลทำให้นักลงทุนต่างจับตามองตัวเลขนี้อย่างใกล้ชิด
โดยคู่เงิน USDJPY มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยแต่ในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เป็นตัวกดดันทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงในช่วงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.623 แนวรับที่สองก็คือ 110.450 แนวรับสุดท้ายก็คือ 110.261
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.871 แนวต้านที่สองก็คือ 111.043 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.119
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ที่หน้าจับตามองอย่างมาก : ในส่วนของ USDJPY ยังคงต้องจับตามองตัวเลขสำคัญในการประกาศสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้ประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงเป็นทั้งแรงหนุนและใส่กดดันของสกุลเงินเยนดังนั้นจับตามองตลาดหุ้นอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP อ่อนค่าหลังจาก BOE คงดอกเบี้ยธนาคารกลางอังกฤษมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมแต่สกุลเงินปอนด์อ่อนค่าลงระยะสั้น
ในเมื่อวานที่ผ่านมาธนาคารกลางอังกฤษได้มีการจัดการประชุมนโยบายทางการเงินเมื่อวานนี้โดยที่มีมติเป็นเอกฉันท์ในการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับ 0.10% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการสอทของกับการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
โดยนอกจากนี้ ธนาคารกลางอังกฤษได้มีการประกาศคงวงเงินในการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณที่ระดับ 8.95 แสนล้านปอนด์เพื่อลดผลกระทบเกิดจากวิกฤตโควิด 19
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเป็นปัจจัยมาจากยังคงมีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวร่วงลงดังกล่าว
ซึ่งสกุลเงิน GBPUSD มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ GBP มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.38917 แนวรับที่สองก็คือ 1.38662 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.38319
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านแรกก็คือ 1.39363 แนวต้านที่สองก็คือ 1.39735 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.40039
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPUSD ที่น่าจับตา : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในคู่เงินนี่จำเป็นต้องจับตามองในส่วนของสกุลดอลลาร์เนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินดอลลาร์ยังคงมีการประกาศที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาไหนวันนี้ดังนั้นคู่เงินนี้อาจมีความเสี่ยงเชิงระยะสั้นจับตามองอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD จับตาการเคลื่อนไวราคาน้ำมันการเคลื่อนไหวของทิศทางราคาน้ำมันในค่ำคืนนี้ส่งผลให้กับ CAD
ในค่ำคืนนี้การเคลื่อนไหวของทิศทางราคาน้ำมันยังคงส่งผลให้กับสกุลเงินแคนาดาในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของห้ามดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงในช่วงนี้ดังนั้นในค่ำคืนนี้ยังคงต้องจับตามองในส่วนของการขึ้นไหวของทิศทางราคาน้ำมัน
โดยในส่วนของคู่เงิน USDCAD ยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยและยังคงมีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นดังนั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.22883 แนวรับที่สองก็คือ 1.22597 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.22352
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23387 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23646 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23987
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCAD ที่สำคัญในวันนี้ : ยังคงต้องจับตามองในส่วนของการประกาศเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศดัชนีการใช้จ่ายผู้บริโภคส่วนบุคคลรวมทั้งทิศทางของราคาน้ำมันที่จะคอยทั้งเป็นแรงหนุนและแรงกดดันให้กับคู่เงินนี้ในช่วงระยะสั้นต้องจับตามองอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
เงินหยวนกดดัน AUD ระยะสั้นเงินหยวนยังคงกดดัน AUD ระยะสั้นแต่ยังต้องรอดู USD
ค่าเงินหยวนยังคงกดดันให้มีการแข็งค่าหลังจากที่ USD ยังคงมีการอ่อนค่าระยะสั้นโดยที่นักลงทุนยังคงรอปัจจัยหนุนที่สำคัญโดยเฉพาะเงินหยวนจะมีการประกาศที่สำคัญมากในสัปดาห์นี้ซึ่งเป็นการประกาศที่ผ่านมาแล้วแต่ก็ไม่ส่งผลให้กับเงินหยวนมากนัก
ดังนั้นในส่วนของ AUD ยังคงต้องติดตามว่าเงินหยวนนั้นจะยังเคลื่อนไหวอย่างไรหรือว่าในส่วนของการเคลื่อนไหวนั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรโดยเฉพาะ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้ดูเหมือนว่ามีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยจากเงิน USD ที่มีการอ่อนค่ารวมทั้งเงินหยวนที่มีการแข็งค่า
จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญของ AUDUSD
ถ้ามีการดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75598 และกรอบแนวต้านทีสองก็คือ 0.75994 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.76337
แต่ถ้ามีการร่วงลงระยะสั้นสองกรอบแนวรับที่สำคัญก็คือ 0.75091 เป็นแนวรับแรก และแนวรับที่สองก็คือ 0.74790
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน AUDUSD ก็คือ : ในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศที่สำคัญมากของสหรัฐก็คือการประกาศ GDP รวมทั้ง การประกาศ Core PCE ที่ต้องจับตามองเพราะจะคอยกดดันเงินหยวนและ AUD ในระยะสั้น ดังนั้นควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
BOJ คงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางญี่ปุ่นคงนโยบายทางการเงินในวันนี้
ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นโดยที่มีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ -0.10% ไว้ที่เท่าเดิม ประกอบกับการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีเนื้อหาใจความในช่วงสั้นว่าพร้อมที่จะมีการใช้มาตรการในการช่วยเหลือและอัดฉีดเม็ดเงินเพิ่มเติมถ้ามีความจำเป็นในการใช้ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นแต่อย่างไรก็ดี ในการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้ดูเหมือนมีการส่งสัญญาณของการเริ่มการลดการอัดฉีดเม็ดเงินส่งผลทำให้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงและทำให้สกุลเงินเยนนั้นมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน USDJPY ได้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินเยนโดยมีการปรับตัวร่วงลงของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ซึ่งควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.864 แนวรับที่สองก็คือ 109.660 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.464
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.328 แนวต้านที่สองก็คือ 110.501 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.769
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่ USDJPY : ติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่องเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยนในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด