Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
สหรัฐอัดฉีดสภาพคล่อง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กกลับมาร้อนแรง หลังสภาคองเกรสอนุมัติเงินช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 และธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อัดฉีดสภาพคล่องด้วยการเข้าซื้อพันธบัตร ส่งผลให้ตลาดทุนปรับตัวขึ้น 6 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ราคาทองคำและราคาน้ำมันดิบทรงตัว
แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,091.96 จุด เพิ่มขึ้น 11.93 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.2 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 16 ขณะที่สถาบันในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นต่อเนื่องเป็นวันที่สอง ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,130 จุด และมีเส้น MMA2 เป็นแนวต้านถัดไป ลักษณะของ Common gap ที่เกิดเป็นช่องว่างที่เกิดในช่วงที่ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้าง (Sideways) การเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง และการเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางแกว่งตัวขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,113 – 1,133 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,064 – 1,047 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัว
ตลาดหุ้นนิวยอร์กแกว่งตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังนักลงทุนขาดหลังว่าสภาคองเกรสจะผ่านเงินช่วยเหลือ 2 ล้านล้านดออลาร์ เพื่อรองรับผลกระทบจากการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19
อานิสงส์จากตลาดโลกที่มีสัญญาณฟื้นตัว หนุนแรงซื้อกลับเข้ามาในตลาดหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,080.03 จุด เพิ่มขึ้น 46.19 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.49 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลขัดแย้งกันจะทำให้ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างแบบไร้ทิศทาง ต่างชาติชาติขายสุทธิเล็กน้อย 109 ล้านบาท ดัชนีตลาดระมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,130 จุด ก่อนที่จะพักตัวลง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,130 จุด และมีเส้น MMA2 เป็นแนวต้านถัดไป ลักษณะของ Common gap ที่เกิดเป็นช่องว่างที่เกิดในช่วงที่ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้าง (Sideways) การเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง และการเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI เป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นแกว่งตัวออกด้านข้างแบบไร้ทิศทาง ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,105 – 1,128 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,053 – 1,024 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัว
ตลาดหุ้นนิวยอร์กแกว่งตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังนักลงทุนขาดหลังว่าสภาคองเกรสจะผ่านเงินช่วยเหลือ 2 ล้านล้านดออลาร์ เพื่อรองรับผลกระทบจากการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19
อานิสงส์จากตลาดโลกที่มีสัญญาณฟื้นตัว หนุนแรงซื้อกลับเข้ามาในตลาดหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,080.03 จุด เพิ่มขึ้น 46.19 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.49 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลขัดแย้งกันจะทำให้ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างแบบไร้ทิศทาง ต่างชาติชาติขายสุทธิเล็กน้อย 109 ล้านบาท ดัชนีตลาดระมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,130 จุด ก่อนที่จะพักตัวลง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,130 จุด และมีเส้น MMA2 เป็นแนวต้านถัดไป ลักษณะของ Common gap ที่เกิดเป็นช่องว่างที่เกิดในช่วงที่ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้าง (Sideways) การเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง และการเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI เป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นแกว่งตัวออกด้านข้างแบบไร้ทิศทาง ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,105 – 1,128 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,053 – 1,024 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
การระบาดโควิด-19 ในไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (23/3) ดาวโจนส์ปรับตัวลดลงกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ หลังร่างกฏหมายมาตรการเยียวผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ไม่ผ่านวุฒิสภาครั้งที่ 2
ดัชนีตลาดหุ้นไทยทรุดตัวลงปิดที่ 1,024.46 จุด ลดลง 102.78 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.96 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน แต่มีโอกาสที่จะปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 13
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงแบบมีช่องว่าง การปรับตัวขึ้นปิดและปรับตัวลงปิดช่องว่าง เป็นลักษณะของ Common gap ที่เกิดในช่วงที่ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้าง (Sideways) การเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง และการเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน โดยดัชนีตลาดอาจแกว่งตัวอยู่ในกรอบ 969 – 1,133 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,053 – 1,077 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 997 – 969 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
สัปดาห์ที่บอบช้ำ
การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐในวงกว้าง นักลงทุนตื่นนำหุ้นออกเทขายฉุดตลาดหุ้นนิวยอร์กดิ่งลงแรง ในรอบสัปดาห์ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ดิ่งลง 4,011 จุด หรือดิ่งลง 17.3%
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวกส่งท้ายสัปดาห์ หลังตลาดออกมาตรการสกัดการขายล่วงหน้า ดัชนีตลาดวันศุกร์ปิดที่ 1,127.24 จุด เพิ่มขึ้น 83.05 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9.3 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 850 จุด ก่อนที่จะปรับตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 12 ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (Gap = 1,044 – 1,077 จุด) ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville โดยมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,164 จุด และมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านถัดไป ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,164 – 1,223 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,077 – 1,010 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ไร้ทิศทาง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (17/3) ปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังเตรียมออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ท่ามกลางความไม่แน่ถึงผลกระทบเศรษฐกิจในวงกว้าง หลังผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในสหรัฐเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยเผชิญแรงขายในช่วงท้ายตลาด เนื่องจากจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง สร้างความวิตกให้กับประชาชนในวงกว้าง และรัฐบาลขาดมาตรการเด็ดขาดในการความคุมการแพร่ระบาด ดัชนีตลาดปิดที่ 1,035.17 จุด ลดลง 10.91 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.7 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก แต่ระยะกลาง - ยาวเป็นลบ ต่างชาติเดินหน้าขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 9
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ หลังจากดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 969 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Inverted Hammer ในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากเส้น MMA2 เรียงตัวแบบตลาดขาลง และสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด)
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,105 – 1,152 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,008 – 942 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
โควิด-19 ทุบตลาดหุ้น
การแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19 ในสหรัฐสร้างความวิตกกังวลให้กับนักลงทุนย่านตลาดหุ้นวอลล์สตรีทนำหุ้นออกเทขาย ส่งผลให้ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (17/3) ดิ่งลง 12 เปอร์เซ็นต์ ระหว่างการซื้อขายตลาดติด Circuit Breaker นักลงทุนเมินการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเหลือ 0.00 – 0.25% และการเพิ่มเม็ดเงิน 7 แสนล้านดอลลาร์ของเฟด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยเผชิญแรงเทขายออกมาอย่างต่อเนื่อง ดัชนีตลาดทรุดตัวลงปิดที่ 1,046.08 จุด ลดลง 82.83 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.8 หมื่น ต่างชาติเดินหน้าขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 8 ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ หลังจากดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 969 จุด แรงซื้อที่กลับเข้ามาหนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง Gap = 1,184 จุด – 1,249 จุด (Filling the gap) แท่งเทียนเกิดเป็น In-neck pattern ในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไน หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากเส้น MMA2 เรียงตัวแบบตลาดขาลง และสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด)
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเพื่อปิดช่องว่างขาลง แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,116 – 1,164 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,008 – 942 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ฟื้นตัว
นักลงทุนย่านวอลล์สตรีทกลับเข้าซื้อหุ้น หลังทรัมป์ออกมาตรการเข้มเพื่อป้องกันการระบาดของโควิด 19 ดาวโจนส์ทะยานขึ้นเกือบ 2,000 จุด และแรงซื้อบางส่วนกลับมาเพื่อดักมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของทรัมป์ช่วงวันที่ 16 – 17 นี้
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,128.91 จุด เพิ่มขึ้น 14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.19 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,200 จุด ระยะสั้นดัชนีตลาดยังมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงหรือปรับฐาน สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ ขณะที่ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 7
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดทรุดตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 969 จุด แรงซื้อที่กลับเข้ามาหนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง Gap = 1,184 จุด – 1,249 จุด (Filling the gap) แท่งเทียนเกิดเป็น In-neck pattern ในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไน หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากเส้น MMA2 เรียงตัวแบบตลาดขาลง และสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด)
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเพื่อปิดช่องว่างขาลง แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนียังมีโอกาสปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,164 – 1,200 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,068 – 1,008 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ลุ้นทดสอบแนวรับที่ 1,000 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กติด Circuit Breaker เป็นครั้งที่สองในรอบสัปดาห์ หลังตลาดทรุดตัวลง 10 เปอร์เซ็นต์ ภัยคุกคามจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 สร้างความตื่นตระหนกให้กับนักลงทุน ต่างนำหุ้นออกเทขาย ส่งผลให้ดาวโจนส์ดิ่งลง 2,352 จุด หวั่นเศรษฐกิจสหรัฐทรุดตัวลงหนัก
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,114.91 จุด ลดลง 134.95 จุด มูลค่าการซื้อขายกว่า 1 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,000 จุด นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ ต่างชาติเดินหน้าขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดทรุดตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 1,095 จุด ดัชนีตลาดเปิดลงแบบมีช่องว่างขาลง (Gap = 1,184 จุด – 1,249 จุด) ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเพื่อปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD Histogram เป็น Convergence ที่แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางเคลื่อนตัวลง และเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาลง เป็นการยืนยันว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,000 จุด มีแนวรับ 50.0% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) อยู่ที่ 1,116 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 942 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,000 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,159 – 1,204 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,070 – 1,045 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ตื่นการระบาดเชื้อโควิด 19
นักลงทุนตื่นการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 หลัง WHO ยกระดับการแพร่ระบาดเชื้อโควิด 19 เป็นการแพร่ระบาดระดับโลก นักลงทุนต่างนำหุ้นออกเทขาย ส่งผลให้ตลาดหุ้นนิวยอร์กวันพุธ (11/2) ทรุดตัวลง ดาวโจนส์ดิ่งลงกว่า 1,400 จุด และเข้าสู่ภาวะตลาดหมี (Bear Market) เนื่องจากดาวโจนส์ปรับลดลงจากจุดสูงถึง 20 เปอร์เซ็นต์
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,249.89 จุด ลดลง 21.36 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.2 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับจิตวิทยาที่ 1,200 จุด นักลงทุนทั่วไปเป็นฝ่ายซื้อสุทธิ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 5
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Gap = 1,272 – 1,364 จุด) เป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) และเกิดแท่งเทียนรูป Falling Three Methods ทั้งสองรูปแบบเป็นสัญญาณลงต่อเนื่อง (Continuation pattern) ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเพื่อ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อลงต่อหรือเพื่อปรับฐาน เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาลง ซึ่งเป็นการยืนยันว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด มีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) อยู่ที่ 1,292 จุด และมีแนวรับของคลื่น (4) อยู่ที่ 1,220 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,200 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,262 – 1,287 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,238 – 1,220 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แนวโน้มปรับฐาน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กเริ่มกลับมาฟื้นตัวในแดนบวก จากแรงซื้อเก็งกำไรและการคาดหวังว่าเฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอีกครั้งเพื่อรองรับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นเกือบ 5 เปอร์เซ็นต์ หลังจากทรุดตัวลงในวันจันทร์กว่า 7 เปอร์เซ็นต์
ดัชนีตลาดหุ้นไทยฟื้นตัวขึ้นปิดที่ 1,271.25 จุด ลดลง 15.31 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.4 หมื่นล้านบาท จากแรงซื้อเก็งกำไรที่กลับเข้ามา สัญญาณทางเทคนิคัลที่เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง ต่างชาติยังเดินหน้าไถ่ถอนเงินลงทุนจากตลาดหุ้นไทยต่อเนื่องเป็นวันที่ 4
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Gap = 1,272 – 1,364 จุด) หลังดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 1,249 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Harami ขาลง สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเพื่อปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างเพื่อลงต่อหรือเพื่อปรับฐาน เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาลง ซึ่งเป็นการยืนยันว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด มีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) อยู่ที่ 1,292 จุด และมีแนวรับของคลื่น (4) อยู่ที่ 1,220 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,200 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,290 – 1,299 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,258 – 1,249 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Black Monday
วิกฤติโคโรนาไวรัสและสงครามราคาน้ำมัน สร้างความแตกตื่นให้กับนักลงทุนต่างนำหุ้นออกเทขาย ตลาดหุ้นนิวยอร์กทรุดตัวลงกว่า 7 เปอร์เซ็นต์ นับเป็นวันที่เลวร้ายที่สุดนับจากปี 2551 ราคาน้ำมันดิบทรุดตัวลงเกือบ 30 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,255.94 จุด ลดลง 105.63 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,200 จุด ต่างชาติและสถาบันภายในประเทศเป็นฝ่ายขายสุทธิ ดัชนีตลาดระยะสั้นยังมีแนวโน้มผันผวนในทิศทางลง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดดิ่งลงแบบมีช่องว่างขาลง (Gap = 1,272 – 1,364 จุด) สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเพื่อปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างเพื่อลงต่อหรือเพื่อปรับฐาน เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาลง ซึ่งเป็นการยืนยันว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลง
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด มีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) อยู่ที่ 1,292 จุด และมีแนวรับของคลื่น (4) อยู่ที่ 1,220 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,200 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,272 – 1,289 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,220 – 1,200 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวเพื่อปรับฐาน
ตลาดหุ้นทั่วโลกผวาการแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 จะสร้างผลกระทบเศรษฐกิจโลกในวงกว้าง นักลงทุนต่างนำหุ้นออกเทขาย ส่งผลให้ตลาดหุ้นทั่วโลกปรับตัวลง ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,364.57 จุด ลดลง 26.26 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.2 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจันศุกร์ (6/3) ปรับลดลงเกือบ 2 เปอร์เซ็นต์ แม้ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะลดดอกเบี้ยนโยบายลง 0.50 เปอร์เซ็นต์ เพื่อรองรับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 แต่ไม่สามารถทำให้นักลงทุนผ่อนคลายลงได้
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,400 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงระหว่างการซื้อขายที่ 1,408 จุด แท่งเทียนมีลักษณะของ Gravestone Doji แต่ไม่อยู่ในเขตซื้อมากเกิน มีช่องว่างทั้งขาขึ้นขาลง สะท้อนถึงการเกิดแนวต้าน สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดมีแนวต้านกรอบล่างของช่องแนวโน้มขาลงอยู่ที่ 1,430 จุด แต่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากการเรียงตัวของเส้น MMA2 แสดงถึงดัชนีตลาดยังมีทิศทางเคลื่อนตัวลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด มีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) อยู่ที่ 1,292 จุด และมีแนวรับของคลื่น (4) อยู่ที่ 1,220 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่การที่สัญญาณ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Convergence ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวลงหรือปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,375 – 1,390 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,348 – 1,335 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปรับฐาน
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวผันผวน แรงซื้อที่มีเข้ามาในช่วงเช้าหนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,400 จุด แรงขายที่มีออกมาในช่วงท้ายตลาดฉุดดัชนีตลาดกลับลงมาปิดที่ 1,390.83 จุด เพิ่มขึ้น 12.22 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.68 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,400 จุด ก่อนที่จะพักตัวตามมา สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กทรุดตัวลงกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ นักลงทุนผวาการแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 ในสหรัฐจะส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจมากกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,400 จุด ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,408 จุด แรงขายที่มีออกมา ส่งผลให้เกิดแท่งเทียนรูป Gravestone Doji (แต่ยังไม่เข้าเขตซื้อมากเกิน) สะท้อนถึงการเกิดแนวต้าน สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านกรอบล่างของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,430 จุด แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากการเรียงตัวของเส้น MMA2 แสดงถึงดัชนีตลาดยังมีทิศทางเคลื่อนตัวลง
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด มีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับของคลื่น (4) อยู่ที่ 1,220 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่การที่สัญญาณ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Convergence ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวลงหรือปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,400 – 1,408 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,378 – 1,369 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,400
ตลาดทุนเริ่มกลับมาคึกคักหลังธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ปรับลดดอกเบี้ยนโยบายนอกรอบลง 0.50 เปอร์เซ็นต์ หนุนแรงซื้อกลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,378.61 จุด เพิ่มขึ้น 3.59 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.85 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านทางจิตวิทยาที่ 1,400 จุด ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิครั้งแรกในรอบ 10 วัน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (4/3) กลับมาร้อนแรง ดาวโจนส์ปรับเพิ่มขึ้น 1,173 จุด หลัง Joe Biden คว้าชัยชนะศึก “Super Tuesday”
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดต่ำปิดสูงต่อเนื่องเป็นวันที่สอง ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดช่องว่าง (Gap) ขาขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านกรอบล่างของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,430 จุด แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากการเรียงตัวของเส้น MMA2 แสดงถึงดัชนีตลาดยังมีทิศทางเคลื่อนตัวลง
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E ที่มีแนวรับทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด มีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับของคลื่น (4) อยู่ที่ 1,220 จุด
หมายเหตุ
ได้ตัดการนับคลื่นช่วงวันที่ 30 เมษายน 2518 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 76.43 จุด ถึงวันที่ 4 กันยายน 2541 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 204 จุด ในช่วงเวลานี้ดัชนีตลาดได้ปรับตัวขึ้นไปทำจุดสูงที่ 1,789 จุด เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2537 เหตุที่ต้องตัดช่วงนี้ออก เนื่องจากการนับคลื่นเอลเลียต นับคลื่น III จบที่ 1,850 จุด คลื่น IV จะซ้อนทับกับคลื่น I ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping และช่วงที่ดัชนีตลาดทำจุดต่ำที่ 204 จุด ราคาหุ้นธนาคารขนาดใหญ่หลายตัวปรับตัวลงทำจุดใหม่ต่ำกว่าช่วงที่ตลาดหลักทรัพย์เปิดทำการซื้อ หุ้นกลุ่มธนาคารจึงไม่สามารถนำมานับคลื่นได้ จึงต้องตัดดัชนีตลาดออก
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่การที่สัญญาณ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Convergence ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวลงหรือปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,385 – 1,397 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,366 – 1,357 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ยังมีความเสี่ยง
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,375.02 จุด เพิ่มขึ้น 39.30 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากเส้น MMA2 แสดงถึงทิศทางขาลง สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ ขณะที่ต่างชาติขายสุทธิ 5,324 ล้านบาท ต่อเนื่องเป็นวันที่ 9
ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง แม้ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะปรับลดดอกเบี้ยนโยบายลง 0.50 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากนักลงทุนมองว่าการแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 จะกระทบเศรษฐกิจในวงกว้าง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดต่ำปิดสูง หลังดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,317 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงที่ 1,430 จุด แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากการเรียงตัวของเส้น MMA2 แสดงถึงดัชนีตลาดยังมีทิศทางเคลื่อนตัวลง
จากกราฟรายเดือน ดัชนีตลาดจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,850 จุด ก่อนที่จะปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II ตามหลักการคลื่น II มีโอกาสพักตัวลง 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น I แต่ต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น I
หมายเหตุ
ได้ตัดการนับคลื่นช่วงวันที่ 30 เมษายน 2518 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 76.43 จุด ถึงวันที่ 4 กันยายน 2541 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 204 จุด ในช่วงเวลานี้ดัชนีตลาดได้ปรับตัวขึ้นไปทำจุดสูงที่ 1,789 จุด เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2537 เหตุที่ต้องตัดช่วงนี้ออก เนื่องจากการนับคลื่นเอลเลียต นับคลื่น III จบที่ 1,850 จุด คลื่น IV จะซ้อนทับกับคลื่น I ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping และช่วงที่ดัชนีตลาดทำจุดต่ำที่ 204 จุด ราคาหุ้นธนาคารขนาดใหญ่หลายตัวปรับตัวลงทำจุดใหม่ต่ำกว่าช่วงที่ตลาดหลักทรัพย์เปิดทำการซื้อ หุ้นกลุ่มธนาคารจึงไม่สามารถนำมานับคลื่นได้ จึงต้องตัดดัชนีตลาดออก
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่การที่สัญญาณ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Convergence ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวลงหรือปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,385 – 1,397 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,357 – 1,348 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Technical Rebound
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาดหนุนดัชนีตลาดยืนบวกในช่วงเช้า แรงขายที่มีออกในช่วงบ่ายฉุดดัชนีตลาดลงมาปิดที่ 1,337.20 จุด ลดลง 3.32 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.4 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล ต่างชาติเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ 4,326 ล้านบาท
ตลาดหุ้นนิวยอร์กกลับมาร้อน หลังนักลงทุนตีความว่าเฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เนื่องจากการแพร่ระบาดของ Covid-19 จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ โดยดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,358.52 จุด เป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล และเป็นการปรับตัวขึ้นตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากเส้น MMA2 เรียงตัวแบบตลาดขาลง และสัญญาณ MACD Histogram ยังเป็นสัญญาณ Convergence ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวลงหรือปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
จากกราฟรายเดือน ดัชนีตลาดจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,850 จุด ก่อนที่จะปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II ตามหลักการคลื่น II มีโอกาสพักตัวลง 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น I แต่ต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น I
หมายเหตุ
ได้ตัดการนับคลื่นช่วงวันที่ 30 เมษายน 2518 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 76.43 จุด ถึงวันที่ 4 กันยายน 2541 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 204 จุด ในช่วงเวลานี้ดัชนีตลาดได้ปรับตัวขึ้นไปทำจุดสูงที่ 1,789 จุด เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2537 เหตุที่ต้องตัดช่วงนี้ออก เนื่องจากการนับคลื่นเอลเลียต นับคลื่น III จบที่ 1,850 จุด คลื่น IV จะซ้อนทับกับคลื่น I ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping และช่วงที่ดัชนีตลาดทำจุดต่ำที่ 204 จุด ราคาหุ้นธนาคารขนาดใหญ่หลายตัวปรับตัวลงทำจุดใหม่ต่ำกว่าช่วงที่ตลาดหลักทรัพย์เปิดทำการซื้อ หุ้นกลุ่มธนาคารจึงไม่สามารถนำมานับคลื่นได้ จึงต้องตัดดัชนีตลาดออก
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มกลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ แรงซื้อเก็งกำไรที่กลับเข้ามาจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณ MACD เกิดสัญญาณเป็น Convergence
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,355 – 1,369 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,317 – 1,308 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปรับฐาน
แรงเทขายที่มีออกมาอย่างต่อเนื่องในหุ้นกลุ่มตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงทำจุดต่ำที่ 1,337 จุด และปิดที่ 1,340.52 จุด ปรับลดลง 54.56 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน แรงซื้อที่กลับเข้ามาเก็งกำไรจะหนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน เนื่องจากดัชนีตลาดยังมีทิศทางเคลื่อนตัวลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 7
ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง ดาวโจนส์ลดลง 357 จุด นักลงทุนผวาเชื้อ Covid-19 อาจแพร่ระบาดในวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงแบบมีช่องว่างเป็นครั้งที่ 3 แสดงถึงภาวะขายมากเกิน แท่งเทียนเกิดเป็นสตาร์ตามหลังแท่งเทียนรูป Thrusting pattern ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล สอดคล้องกับหลักการของ Granville ที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวเข้าหาแนว MMA2 แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อพักตัว เนื่องจากการเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI และ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวลง
นักลงทุนควรกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,850 จุด ก่อนที่จะปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II ตามหลักการคลื่น II มีโอกาสพักตัวลง 0.618 เท่าของความยาวของคลื่น I แต่ต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น I
หมายเหตุ
ได้ตัดการนับคลื่นช่วงวันที่ 30 เมษายน 2518 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 76.43 จุด ถึงวันที่ 4 กันยายน 2541 ที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 204 จุด ในช่วงเวลานี้ดัชนีตลาดได้ปรับตัวขึ้นไปทำจุดสูงที่ 1,789 จุด เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2537 เหตุที่ต้องตัดช่วงนี้ออก เนื่องจากการนับคลื่นเอลเลียต นับคลื่น III จบที่ 1,850 จุด คลื่น IV จะซ้อนทับกับคลื่น I ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping และช่วงที่ดัชนีตลาดทำจุดต่ำที่ 204 จุด ราคาหุ้นธนาคารขนาดใหญ่หลายตัวปรับตัวลงทำจุดใหม่ต่ำกว่าช่วงที่ตลาดหลักทรัพย์เปิดทำการซื้อ หุ้นกลุ่มธนาคารจึงไม่สามารถนำมานับคลื่นได้ จึงต้องตัดดัชนีตลาดออก
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบในเขตขายมากเกิน จะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่การเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI และ MACD Histogram ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสที่จะปรับตัวลงต่อหรือปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,357 – 1,369 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,324 – 1,308 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พิษ Covid-19
แรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไรหลังดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงต่อเนื่อง แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,395.08 จุด เพิ่มขึ้น 28.67 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.45 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (27/2) ดาวโจนส์ดิ่งลง 1,190 จุด (จากจุดสูงดาวโจนส์ปรับลดลง 10%) นักลงทุนกลัวว่า Covid-19 จะระบาดในสหรัฐ ส่งผลต่อเศรษฐกิจในวงกว้าง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 1,355 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Thrusting pattern (เป็นสัญญาณตัวอ่อนๆ) ในเขตขายมากเกิน แรงซื้อที่กลับเข้ามาจะหนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลงหรือปรับฐาน เนื่องจากดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาลง และการเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง ยืนยันดัชนีตลาดยังเป็นตลาดขาลง และการเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI ชี้ว่าดัชนีตลาดยังมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางการจบคลื่น III ที่ 1,848 จุด จากนั้นดัชนีตลาดแกว่งตัวลงไปตามช่องแนวโน้มขาลงระยะยาวเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) แบบ A-B-C-D-E ดัชนีตลาดปรับตัวลงหลุดแนวรับของแนวโน้มขาลงที่ 1,455 จุด และมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,343 จุด ซึ่งจะเป็นเป้าหมายของคลื่น IV, E
การนับคลื่นเอลเลียตอาจผิดพลาดเนื่องจากไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping แต่อย่างไรก็ดี การที่ดัชนีตลาดปรับขึ้นเป็นคลื่น III แบบ Truncation wave จะทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงแรงตามมา
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่การเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI และ MACD Histogram ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสที่จะปรับตัวลงต่อหรือปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,415 – 1,435 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,376 – 1,355 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Technical Rebound
การระบาดของเชื้อ Covid-19 ในไทย ทำให้เกิดแรงขายออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,366.41 จุด ทรุดตัวลง 72.69 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9.29 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ การเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดยังมีความเสี่ยง ต่างชาติและสถาบันในประเทศเป็นฝ่ายขายสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์ก (26/2) ดาวโจนส์ปรับตัวลดลง แรงซื้อที่กลับเข้าหนุนดัชนี Nasdaq กลับมาปิดในแดนบวก บรรยากาศการลงทุนยังถูกคุกคามด้วยการแพร่ระบาดของ Covid-19 นอกจีน ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดทรุดตัวลงหลุดแนวรับของช่องแนวโน้มขาลงและทำจุดต่ำที่ 1,366 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Long Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,395 จุด ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาลง สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,343 จุด ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล การเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงต่อ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางการจบคลื่น III ที่ 1,848 จุด จากนั้นดัชนีตลาดแกว่งตัวลงไปตามช่องแนวโน้มขาลงระยะยาวเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) แบบ A-B-C-D-E ดัชนีตลาดปรับตัวลงหลุดแนวรับของแนวโน้มขาลงที่ 1,455 จุด และมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,343 จุด ซึ่งจะเป็นเป้าหมายของคลื่น IV, E
การนับคลื่นเอลเลียตอาจผิดพลาดเนื่องจากไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping แต่อย่างไรก็ดี การที่ดัชนีตลาดปรับขึ้นเป็นคลื่น III แบบ Truncation wave จะทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงแรงตามมา
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ การที่สัญญาณ Convergence ของ RSI เป็นการล้างสัญญาณ Bullish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงต่อ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,395 – 1,410 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,356 – 1,343 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Filling The Gap
แรงซื้อเก็งกำไรระยะสั้น หนุนให้ดัชนีตลาดกลับมาปิดในแดนบวกที่ 1,439.10 จุด เพิ่มขึ้น 3.54 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ การเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง ต่างชาติและบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นฝ่ายขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กดิ่งลงต่อเนื่องเป็นวันที่ ตลาดถูกคุกคามจากการแพร่ระบาดของโคโรนาไวรัสนอกจีน จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกในวงกว้าง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดิ่งลงไปทำจุดต่ำที่ 1,416 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Hammer ในเขตขายมากเกิน จะทำให้ดัชนีปรับตัวขึ้นเพื่อปิดช่องว่าง (Filling the gap) อาจเป็นการปรับขึ้นปิดแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Closing the Window) ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวลงต่อ สอดคล้องกับการเกิดสัญญาณ Convergence ของ RSI และการเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางการจบคลื่น III ที่ 1,848 จุด จากนั้นดัชนีตลาดแกว่งตัวลงไปตามช่องแนวโน้มขาลงระยะยาวเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) แบบ A-B-C-D-E ดัชนีตลาดปรับตัวลงหลุดแนวรับของแนวโน้มขาลงที่ 1,455 จุด และมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,422 จุด ซึ่งจะเป็นเป้าหมายของคลื่น IV, E
การนับคลื่นเอลเลียตอาจผิดพลาดเนื่องจากไม่เป็นไปตามหลักการ Overlapping แต่อย่างไรก็ดี การที่ดัชนีตลาดปรับขึ้นเป็นคลื่น III แบบ Truncation wave จะทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงแรงตามมา
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ การที่สัญญาณ Convergence ของ RSI เป็นการล้างสัญญาณ Bullish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงต่อ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,455 – 1,473 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,416 – 1,397 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
วันก่อนได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ผวา Covid-19
นักลงทุนผวาการระบาดของเชื้อ Covid-19 ต่างนำหุ้นออกเทขาย ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,435.56 จุด ลดลง 59.33 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ และสัญญาณ RSI เกิดเป็น Convergence ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ ขณะที่ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (24/2) ทรุดตัวลงแรง หวั่นการแพร่ระบาดของโคโรนาไวรัสนอกจีนจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกในวงกว้าง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงแบบมีช่องว่าง ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,454 จุด ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาลง สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,422 จุด และ 1,410 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ RSI กลับมาเป็น Convergence ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางการจบคลื่น III ที่ 1,848 จุด จากนั้นดัชนีตลาดแกว่งตัวลงไปตามช่องแนวโน้มขาลงระยะยาวเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) แบบ A-B-C-D-E ดัชนีตลาดปรับตัวลงหลุดแนวรับของแนวโน้มขาลงที่ 1,455 จุด และมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,422 จุด ซึ่งจะเป็นเป้าหมายของคลื่น IV, E
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ การที่สัญญาณ RSI สร้างจุดต่ำใหม่ เป็นการล้างสัญญาณ Bullish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลงต่อ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,445 – 1,455 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,422 – 1,410 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เมื่อวานช่วงเช้าได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน