Por : Technical AnalysisBTC
คำเตือน การซื้อขายบิตคอยน์มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มี Intrinsic Value การซื้อขายเพื่อเก็งกำไรเป็นไปตามหลักการ Technical Analysis
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคา BTC แกว่งตัวแคบๆหลังราคาปรับตัวลดลงหลุดแนวรับที่ 7,714 เหรียญ ราคาบิทคอยน์สร้างจุดสูงยกลงต่ำ (Lower High) ทำให้ราคาเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาลง สอดคล้องกับสัญญาณ DMI ที่แสดงถึงการปรับตัว กึ่งกลางลำตัวของ Bearish Candlestick จะทำหน้าที่เป็นแนวต้านเมื่อราคาปรับตัวขึ้น ร่วมกับแนวต้านของจุดต่ำเก่าที่ 7,714 เหรียญ
ราคา BTC ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 7,714 – 8,052 ดอลลาร์ และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 6,968 – 6,762 ดอลลาร์
สรุป
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 7,714 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 6,968 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 7,714 เหรียญ
สำหรับการเปิดสถานะซื้อ แนะนำให้ชะลอดูสัญญาณทางเทคนิคัลให้ชัดเจนก่อน
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "CANDLESTICK"
Por : Technical AnalysisBTC
คำเตือน การซื้อขายบิตคอยน์มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มี Intrinsic Value การซื้อขายเพื่อเก็งกำไรเป็นไปตามหลักการ Technical Analysis
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคา BTC ปรับตัวลดลงหลุดแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 7,714 เหรียญ ราคาบิทคอยน์สร้างจุดสูงยกลงต่ำ (Lower High) ทำให้ราคาเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาลง สอดคล้องกับสัญญาณ DMI ที่แสดงถึงการปรับตัว กึ่งกลางลำตัวของ Bearish Candlestick จะทำหน้าที่เป็นแนวต้านเมื่อราคาปรับตัวขึ้น ร่วมกับแนวต้านของจุดต่ำเก่าที่ 7,714 เหรียญ
ราคา BTC ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 7,714 – 8,052 ดอลลาร์ และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 6,968 – 6,762 ดอลลาร์
สรุป
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 7,714 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 8,531 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 8,820 เหรียญ
สำหรับการเปิดสถานะซื้อ แนะนำให้ชะลอดูสัญญาณทางเทคนิคัลให้ชัดเจนก่อน
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาน้ำมันดิบ Brent เปิดสูงปิดต่ำแท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick หลุดแนวรับของแท่งเทียนรูป Hammer สามแท่ง และกำลังปรับตัวลงทดสอบแนวรับของช่องแนวโน้มขาลง สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ราคาน้ำมันดิบมีโอกาสแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 57.67 – 63.81 เหรียญ การซื้อขายเพื่อเก็งกำไรระยะสั้นจึงควรใช้กรอบแนวรับ-แนวต้านนี้เป็นจุดซื้อ - จุดขาย
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 61.32 – 62.23 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 59.12 – 57.67 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) เมื่อราคาปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 57.67 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 60.77 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 57.67 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 63.78 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 61.32 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 63.78 เหรียญ
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
การโจมตีแหล่งผลิตน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย จะส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาน้ำมันดิบ Brent แกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้นและราคาสร้างจุดต่ำยกสูง (Higher Low) ราคาน้ำมันดิบระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านกึ่งกลางลำตัวของ Bearish Candlestick และมีจุดสูงเก่าที่ 69.93 เหรียญเป็นแนวต้านถัดไป
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 65.60 – 66.46 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 63.81 – 62.50 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) ช่วงที่ราคาปรับตัวลดลงระหว่างการซื้อขาย เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 66.46 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 63.81 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 66.46 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 63.81 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 66.46 เหรียญ
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
การโจมตีแหล่งผลิตน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย จะส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาน้ำมันดิบ Brent แกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้นและราคาสร้างจุดต่ำยกสูง (Higher Low) ราคาน้ำมันดิบระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านกึ่งกลางลำตัวของ Bearish Candlestick และมีจุดสูงเก่าที่ 69.93 เหรียญเป็นแนวต้านถัดไป
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 65.78 – 66.46 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 63.79 – 62.50 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) ช่วงที่ราคาปรับตัวลดลงระหว่างการซื้อขาย เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 66.46 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 63.79 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 66.46 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 63.79 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 66.46 เหรียญ
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
การโจมตีแหล่งผลิตน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย จะส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน แรงขายที่มีออกมาฉุดราคาน้ำมันดิบ Brent ปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้นแนวโน้มขาลงที่ 61.37 เหรียญ สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น โดยมีกึ่งกลางลำตัวของแท่งเทียน Bearish Candlestick เป็นแนวต้าน และมีจุดสูงเก่าที่ 69.93 เหรียญเป็นแนวต้านถัดไป
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 65.22 – 66.46 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 62.51 – 61.37 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) เมื่อราคาปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 62.51 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 65.22 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 62.51 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 66.46 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 63.79 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 66.46 เหรียญ
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
การโจมตีแหล่งผลิตน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย จะส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน แรงขายที่มีออกมาฉุดราคาน้ำมันดิบ Brent เปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวต้าน ราคาน้ำมันดีดตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 69.93 เหรียญ สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 66.46 – 68.34 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 62.48 – 60.43 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) เมื่อราคาปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 62.48 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 66.46 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 62.48 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 68.34 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 66.46 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 68.34 เหรียญ
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
การโจมตีแหล่งผลิตน้ำมันของซาอุดิอาระเบีย จะส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาน้ำมันดิบ Brent ดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของช่องแนวโน้มขาลงขึ้นมาทำราคาสูงที่ 69.93 เหรียญ แท่งเทียนเกิดเป็น Long Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวรับ สัญญาณ DMI เริ่มแสดงถึงการปรับตัวขึ้น แต่ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ราคาน้ำมันดิบเผชิญแรงขาย ทำให้ราคาน้ำมันดิบมีโอกาสพักตัวลงก่อนที่จะปรับตัวขึ้นต่อ
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 69.93 – 72.40 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 66.86 – 64.39 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) เมื่อราคาปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 64.39 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 69.93 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 64.39 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 72.40 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 68.17 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 72.40 เหรียญ
Por : Technical AnalysisBrent Crude Oil
โอเปคและพันธมิตรมีแนวโน้มที่จะลดการผลิตน้ำมัน ส่งผลกระทบต่ออุปทานน้ำมันในตลาดโลก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาน้ำมันดิบ Brent เปิดสูงปิดต่ำแท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ปรับตัวลงปิดต่ำกว่าแนวรับของช่องแนวโน้มขาลง ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 62.17 เหรียญ สัญญาณ DMI ขาดทิศทาง ทำให้ราคาน้ำมันดิบระยะสั้นแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 57.67 – 62.17 เหรียญ
ราคาน้ำมันดิบ Brent ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 62.17 – 63.07 ดอลลาร์/บาร์เรล และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 60.67 – 59.82 ดอลลาร์/บาร์เรล
สรุป
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 62.17 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 59.82 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 62.17 เหรียญ
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) เมื่อราคาปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 59.82 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 62.17 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวลดลงต่ำกว่า 59.82 เหรียญ
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,650 จุด
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นปิโตเลียม หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,639.14 จุด เพิ่มขึ้น 22.21 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.96 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,650 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังข้อพิพาททางการค้าระหว่างจีนและสหรัฐเริ่มเดินไปในทางบวก หลังจีนงดตอบโต้การขึ้นภาษีของทรัมป์
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดในแดนบวก แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวรับ หลังดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,610 จุด ระยะสั้นดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องว่างขาลงที่ 1,642 – 1,650 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านร่วม
ดัชนีตลาดจะมีสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกและเปลี่ยนทิศทางปรับตัวขึ้น เมื่อดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นยืนปิดเหนือ 1,650 จุด และมูลค่าการซื้อขายหนาแน่นและต่อเนื่อง
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) และตัวลงทดสอบแนวรับของจุดต่ำของคลื่น iv) หลักการของปรับตัวลงสามารถลงลึกได้ถึงจุดเริ่มต้นของคลื่น (i) แต่ต้องไม่ต่ำกว่า 1,546 จุด ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่นปรับคลื่น (ii) ที่ 1,590 จุด เมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,650 จุด และมูลค่าการซื้อขายมากกว่า 6 หมื่นล้านบาทอย่างต่อเนื่อง (อาจใช้จุดนี้เป็นจุด Buy Stop)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,650 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,646 – 1,653 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,522 – 1,508 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เป็น 70 เปอร์เซ็นต์ ช่วงที่ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,610 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,600 จุด
แรงขายที่มีออกมาฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงเป็นการเปิดสูงปิดต่ำ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,615.47 จุด ลดลง 7.26 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.96 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,600 จุด ต่างชาติและสถาบันในประเทศเป็นฝ่ายขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง หลังผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐระยะสั้นสูงกว่าระยะยาว
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำเกิดแท่งเทียนเป็น Bearish Candlestick หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,590 จุด โดยดัชนีตลาดมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,650 จุด และมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านถัดไป
ตามหลักการของ Granville เมื่อดัชนีปรับตัวเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA แรงขายระยะสั้นจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลง
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) และตัวลงทดสอบแนวรับของจุดต่ำของคลื่น iv) หลักการของปรับตัวลงสามารถลงลึกได้ถึงจุดเริ่มต้นของคลื่น (i) แต่ต้องไม่ต่ำกว่า 1,546 จุด ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่นปรับคลื่น (ii) ที่ 1,590 จุด เมื่อดัชนีตลาดสร้างจุดต่ำยกสูง (Higher Low) และมูลค่าการซื้อขายมากกว่า 6 หมื่นล้านบาทอย่างต่อเนื่อง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางพักตัวลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,059 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,620 – 1,625 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,609 – 1,604 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เป็น 70 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,610 – 1,600 จุด
Por : Technical AnalysisGold (XAUUSD)
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาทองคำดีดตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,535 เหรียญ หลังราคาพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,486 เหรีย แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวรับ สงครามการค้าระหว่างจีนและสหรัฐที่บานปลาย กดดันให้เม็ดเงินลงทุนกลับทรัพย์สินที่ปลอดภัย ราคาทองคำมีเป้าหมาย 100.0% Fibonacci Projection ที่ 1,551 เหรียญเป็นแนวต้านถัดไป และมีช่องแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,560 เหรียญ ราคาทองคำเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับสัญญาณ DMI
ทิศทางราคา Gold ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,535 – 1,551 ดอลลาร์/ออนซ์ และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,513 – 1,498 ดอลลาร์/ออนซ์
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) ช่วงที่ราคาปรับตัวลดลงระหว่างการซื้อขาย เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 1,551 – 1,560 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาทองคำปรับตัวลงต่ำกว่า 1,513 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,560 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 1,535 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 1,560 เหรียญ
วิเคราะห์แนวโน้มคู่ LTC/BTCวิเคราะห์แนวโน้มคู่ LTC/BTC
ราคา Litecoin อยู่บริเวณแนวรับที่เคยเป็นแนวต้านในอดีต
และมีความแข็งแรงอยู่มากแต่ก็มีโอกาสที่จะทะลุออกไปได้
สำหรับ Price Action บ่งบอกว่ายังมีแรงขายอยู่มาก
และเริ่มหมดแรงแล้ว แต่ยังไม่มีสิ่งใด Confirm ว่ายังไม่หมดแรงขาย
ควรรอดูสถานการณ์อีก 2-3 สัปดาห์ เพื่อรอดูสัญญาณของราคาที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
วิเคราะห์แนวโน้มคู่ XRP/THBวิเคราะห์แนวโน้มคู่ XRP/THB
โดย XRP/THB ยังอยู่ในเทรนขาลงโดยชัดเจน
โดยราคาได้ขึ้นมาทดสอบแนวต้านบริเวณราคาที่ 9.24 บาท
โดยสัญญาณของ Price Action บริเวณ Low ที่ต่ำสุดที่ 7.29 บาท
เป็นลักษณะการ Rejection และ Pin Bar อย่างรุนแรง
โดยปัจจุบันเทรนหลักในตอนนี้ยังเป็นเทรนขาลงและมีสัญญาณผู้เข้ามาสะสมซื้อจำนวนหนึ่ง
ซึ่งยังไม่สามารถทำลายเทรนขาลงและเปลี่ยนเป็นขาขึ้นได้
ควรเฝ้ารอดูสถานการณ์ก่อนจนกว่าจะมีสัญญาณของเทรนขาขึ้นที่ชัดเจน
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ตลาดหุ้นผวาสัญญาณเศรษฐกิจถดถอย
นักลงทุนตื่นนำหุ้นออกเทขาย หลังอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐอายุ 10 ปี ต่ำกว่า 2 ปี ส่งผลให้ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับลดลง 3 เปอร์เซ็นต์ คาดผลกระทบทางจิตวิทยาจะกดดันตลาดหุ้นไทยในวันนี้ เมื่อวานดัชนีตลาดปิดที่ 1,619.45 จุด ลดลง 0.78 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.1 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบและเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นเมื่อดัชนีตลาดหลุดแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้น ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สาม
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดช่องว่าง (Filling the gap) ขาลงที่ 1,642 – 1,650 จุด แรงขายที่มีออกมาในช่วงท้ายตลาดฉุดดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,599 จุด โดยมีแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,600 จุดเป็นแนวรับร่วม และมีจุดต่ำเก่าเป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,546 จุด
ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
จากกราฟรายวัน จากการที่ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,672 จุด ทำให้ต้องปรับการนับคลื่นเอลเลียตใหม่ เนื่องจากหลักการกำหนดว่าคลื่น iv) ต้องไม่ซ้อนทับกับคลื่น i) ที่ 1,672 จุด และในกรณีที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงแรงลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตามหลักการที่คลื่น (ii) สามารถปรับตัวลงใกล้จุดเริ่มต้นของคลื่น (i) ที่ 1,546 จุด แต่ต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น (i)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic และ RSI ปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,627 – 1,635 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,612 – 1,605 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
นักเก็งกำไรระยะสั้นควรรอให้สัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณซื้อรูป W-shape แต่นักลงทุนที่ซื้อขายเป็นรอบ ควรรอสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แนวรับถัดไป 1,600 จุด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยยังคงถูกกดดันทั้งจากปัจจัยภายในและนอกประเทศ แรงเทขายที่มีออกมาอย่างต่อเนื่อง ฉุดดัชนีตลาดดิ่งลงปิดที่ 1,620.23 จุด ลดลง 30.41 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.4 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อปรับฐานอยู่ในกรอบ 1,600 – 1,620 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง ตลาดหุ้นนิวยอร์กดีดตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังสหรัฐเลื่อนการจัดเก็บภาษีสินค้านำเข้าจากจีนจากวันที่ 1 กันยายน เป็น 15 ธันวาคม
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดิ่งลงหลุดแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางที่ 1,628 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Long Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,632 จุด ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,599 จุด ซึ่งเป็นแนวรับใกล้กับแนวรับทางจิตวิทยาที่ 1,600 จุด และมีจุดต่ำเก่าเป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,546 จุด
ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร จะหนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
จากกราฟรายวัน จากการที่ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,672 จุด ทำให้ต้องปรับการนับคลื่นเอลเลียตใหม่ เนื่องจากหลักการกำหนดว่าคลื่น iv) ต้องไม่ซ้อนทับกับคลื่น i) ที่ 1,672 จุด และในกรณีที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงแรงลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตามหลักการที่คลื่น (ii) สามารถปรับตัวลงใกล้จุดเริ่มต้นของคลื่น (i) ที่ 1,546 จุด แต่ต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น (i)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic และ RSI ปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐานต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,632 – 1,642 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,612 – 1,600 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
นักเก็งกำไรระยะสั้นควรรอให้สัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณซื้อรูป W-shape แต่นักลงทุนที่ซื้อขายเป็นรอบ ควรรอสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวอยู่ในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มปตท.และธนาคารพาณิชย์ ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,662.12 จุด ลดลง 4.32 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.26 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน จะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล ระยะสั้นดัชนีตลาดแกว่งตัวอยู่ในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด ต่างชาติเริ่มกลับมาซื้อสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กกลับมาปิดในแดนบวก หลังอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐเริ่มนิ่ง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงหลังดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านที่ 1,674 จุด แต่ไม่สามารถผ่านขึ้นไปได้ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีแนวโน้มปรับตัวเข้าหาเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ซึ่งเป็นไปตามหลักการของ Granville และมีกึ่งกลางลำตัวของ Bullish Candlestick เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,662 จุด
ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานหรือแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) ตามหลักการ Overlapping คลื่น iv) จะไม่ซ้อนทับกับคลื่น i) ดังนั้น คลื่น iv) ไม่ควรปรับลดลงปิดต่ำกว่ากว่า 1,672 จุด ซึ่งเป็นจุดปิดของคลื่น i) ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานก่อนที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
ข้อสังเกต การที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,672 จุด ทำให้รูปแบบของคลื่นเอลเลียตมีความเสี่ยงทางเทคนิคัล
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน แรงซื้อที่กลับเข้าเก็งกำไรหนุนให้ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่ระยะกลาง - ระยะยาวยังขาดทิศทาง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,670 – 1,675 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,660 – 1,653 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
นักเก็งกำไรระยะสั้นควรรอให้สัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณซื้อรูป W-shape แต่นักลงทุนที่ซื้อขายเป็นรอบ ควรรอสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวอยู่ในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์หลังกนง.ปรับลดดอกเบี้ยลง 0.25 เปอร์เซ็นต์ ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยลงมาปิดที่ 1,669.44 จุด (ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,681 จุด) ปรับลดลง 2.04 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.43 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน แรงซื้อเก็งกำไรที่กลับเข้าจะหนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้น แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน ดัชนีตลาดระยะสั้นมีแนวโน้มแกว่งตัวอยู่ในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด ต่างชาติเดินหน้าขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบกรอบล่างของช่องว่างที่ 1,683 จุด โดยมีช่องแนวโน้มขาลงระยะสั้นเป็นแนวต้านร่วม แรงขายทำกำไรระยะสั้น ฉุดดัชนีตลาดหลุดแนวรับ 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,673 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Spinning Bottom สะท้อนถึงการต่อสู้ระหว่างแรงซื้อกับแรงขาย กึ่งกลางลำตัวของ Bullish Candlestick ทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,662 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานหรือแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) ตามหลักการ Overlapping คลื่น iv) จะไม่ซ้อนทับกับคลื่น i) ดังนั้น คลื่น iv) ไม่ควรปรับลดลงปิดต่ำกว่ากว่า 1,672 จุด ซึ่งเป็นจุดปิดของคลื่น i) ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานก่อนที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
ข้อสังเกต การที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,672 จุด ทำให้รูปแบบของคลื่นเอลเลียตมีความเสี่ยงทางเทคนิคัล
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน แรงซื้อที่กลับเข้าเก็งกำไรหนุนให้ดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่ระยะกลาง - ระยะยาวยังขาดทิศทาง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,675 – 1,681 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,664 – 1,657 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
นักเก็งกำไรระยะสั้นควรรอให้สัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณซื้อรูป W-shape แต่นักลงทุนที่ซื้อขายเป็นรอบ ควรรอสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,683 จุด
แรงซื้อที่กลับเข้ามาหลังดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงทดสอบแนวรับที่ 1,650 จุด หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,671.48 จุด เพิ่มขึ้น 5.49 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร ดัชนีตลาดสัปดาห์นี้มีแนวโน้มแกว่งตัวอยู่ในกรอบ 1,662 – 1,683 จุด ต่างชาติเดินหน้าขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 5 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังนักลงทุนคลายความวิตกสงครามค่าเงินหยวน หลังค่าเงินหยวนกลับมาแข็งค่า
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นหลังดัชนีตลาดทรุดตัวลงทดสอบเป้าหมาย 261.8% Fibonacci Projection ที่ 1,650 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Piercing pattern ในเขตขายมากเกิน แรงซื้อกลับเข้ามาหนุนดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,683 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะพักตัวลงเพื่อปรับฐาน ช่องว่างบริเวณ 1,683 – 1,693 จุดจะทำหน้าที่เป็นแนวต้าน และมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ทำหน้าที่เป็นแนวต้านร่วม กึ่งกลางลำตัวของ Bullish Candlestick จะทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,662 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) ตามหลักการ Overlapping คลื่น iv) จะไม่ซ้อนทับกับคลื่น i) ดังนั้น คลื่น iv) ไม่ควรปรับลดลงปิดต่ำกว่ากว่า 1,672 จุด ซึ่งเป็นจุดปิดของคลื่น i) ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานก่อนที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
ข้อสังเกต การที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,672 จุด ทำให้รูปแบบของคลื่นเอลเลียตมีความเสี่ยงทางเทคนิคัล
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic และ RSI ปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ซึ่งจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไรหนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัลเข้าหาแนวต้านที่ 1,680 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,679 – 1,684 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,666 – 1,657 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
นักเก็งกำไรระยะสั้นควรรอให้สัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณซื้อรูป W-shape แต่นักลงทุนที่ซื้อขายเป็นรอบ ควรรอสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,650 จุด
ตลาดหุ้นทั่วโลกตื่นนำหุ้นออกเทขาย หลังจีนปรับลดค่าเงินหยวนเพื่อตอบโต้ทรัมป์ที่ประกาศรีดภาษีสินค้านำเข้าจากจีนรอบใหม่ นักลงทุนผวาสงครามการค้าจะทวีความรุนแรง ดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,665.99 จุด ลดลง 18.72 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.8 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน ต่างชาติและสถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มนำขายสุทธิ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาเป้าหมายที่ 1,650 จุด และมีแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางอยู่ที่ 1,624 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดิ่งลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement ที่ 1,656 จุด หลังจากปรับตัวขึ้นระหว่างการซื้อขายขึ้นทดสอบแนวต้านที่ 1,683 จุดแต่ไม่สามารถผ่านขึ้นไปได้ แท่งเทียนเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวต้านเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวขึ้น ดัชนีตลาดมีเป้าหมาย 261.8% Fibonacci Projection เป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,650 จุด ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้ามา หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลง
ตลาดมีแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางอยู่ที่ 1,624 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) ตามหลักการ Overlapping คลื่น iv) จะไม่ซ้อนทับกับคลื่น i) ดังนั้น คลื่น iv) ไม่ควรปรับลดลงปิดต่ำกว่ากว่า 1,672 จุด ซึ่งเป็นจุดปิดของคลื่น i) ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานก่อนที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
ข้อสังเกต การที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,672 จุด ทำให้รูปแบบของคลื่นเอลเลียตมีความเสี่ยงทางเทคนิคัล
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน จะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดมีการปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อลงต่อหรือปรับฐานต่อไม่อีกระยะหนึ่ง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,672 – 1,681 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,656 – 1,650 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
นักเก็งกำไรระยะสั้นควรรอให้สัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณซื้อรูป W-shape แต่นักลงทุนที่ซื้อขายเป็นรอบ ควรรอสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI
Por : Technical AnalysisGold (XAUUSD)
นักลงทุนผวาหลังทรัมป์ขู่เก็บภาษีสินค้านำเข้าจีนเพิ่ม 10 เปอร์เซ็นต์ มูลค่า 3 แสนล้านดอลลาร์เริ่ม 1 กันยายน นี้ กดดันให้เงินลงทุนไหลออกจากตลาดทุน กลับเข้าตลาดพันธบัตรและทองคำ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ราคาทองคำแกว่งตัวเข้าหาแนวต้าน หลังราคาทองคำดีดตัวขึ้นเกิดแท่งเทียนเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวรับเมื่อราคาทองคำอ่อนตัวลง สัญญาณ DMI ชี้ถึงทิศทางขาขึ้นที่อ่อนแรง (เส้น ADX วกลง) จุดต่ำที่ยกสูงขึ้นทำให้ราคาทองคำมีทิศทางแกว่งตัวขึ้น
ทิศทางราคา Gold ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,446 – 1,452 ดอลลาร์/ออนซ์ และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,433 – 1,424 ดอลลาร์/ออนซ์
สรุป
เปิดสถานะซื้อ (Open Long) เมื่อราคาปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,430 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรระยะสั้นอยู่ที่ 1,446 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาทองคำปรับตัวลงต่ำกว่า 1,429 เหรียญ
เปิดสถานะขาย (Open short) เมื่อราคาปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,452 เหรียญ เป้าหมายทำกำไรอยู่ที่ 1,440 เหรียญ ตัดขาดทุนเมื่อราคาปรับตัวขึ้นเหนือ 1,452 เหรียญ