USD ยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการขึ้นไหวอยู่ในกรอบระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์ในสองวันที่ผ่านมายังคงเคลื่อนไหววิ่งอยู่ในกรอบโดยที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในวันจันทร์ที่ผ่านมาแต่ในวันอังคารมีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบเท่านั้นเนื่องจากในการประกาศปัจจัยในตารางยังส่งผลไม่มากประกอบกับในการประกาศสำคัญในสัปดาห์นี้ยังคงมีการประกาศเพียงแค่การรายงานการประชุมของ FOMC ดังนั้นปัจจัยอาจจะมีผลกระทบน้อยมาก
คุณสามารถซื้อขาย " USDCHF " ใน MT5 และ FBSTrader !
โดยสกุลเงิน USDCHF ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันถึงแม้ว่าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นในวันจันทร์ที่ผ่านมาแต่ก็มีการย่อตัวลงหลังจากที่ สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยแนะนำจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92483 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92590 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92727
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92288 แนวรับที่สองก็คือ 0.92130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92030
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF ที่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด : ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการรายงานการประชุมของ FOMC ในวันพุธที่จะถึงนี้แต่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ใน หลายสำนักยังคงมีการให้ความเห็นว่าอาจจะไม่ส่งผลมากเนื่องจากประเด็นอาจจะยังคงมีไม่มากและยังคงใช้ประเด็นเดิมของธนาคารกลางสหรัฐดังนั้นจับตาดูปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
Chf
CHF ยังคงเหวี่ยงตามตลาดหุ้นสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีความผันผวนอย่างต่อเนื่อง
ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ยังคงเป็นปัจจัยหนุนหลักที่อาจจะทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการผันผวนอย่างหนักประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสนั้นยังคงไร้ปัจจัยหนุนเกี่ยวเนื่องกับการประกาศตัวเลขที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งด้านโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสวิตเซอร์แลนด์ก็ไม่เป็นปัจจัยหนุนดังนั้นติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่อง
โดยคู่เงิน EURCHF ยังคงมีความผันผวนและยังคงมีการขยับตัวขึ้นถึงแม้ว่าดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.09771 แนวต้านที่สองก็คือ 1.09846 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.09975
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.09649 แนวรับที่สองก็คือ 1.09602 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.09545
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน EURCHF ที่สำคัญอย่างมาก : สกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องจับตาดูเพราะจะมีความผันผวนภายในทั้งในส่วนของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์และการผันผวนในเชิงปัจจัยทางด้านเทคนิคประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ยังทรงตัวสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงทรงตัว
ในส่วนของสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการพักตัวและถึงแม้ว่าจะมีปัจจัยทั้งสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษที่มีการพูดถึงนโยบายทางการเงินประกอบกับการประกาศตัวเลขของอังกฤษก็ไม่ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในการแข็งค่าหรืออ่อนค่า ซึ่งในส่วนของอังกฤษยังคงต้องจับตามองดูการเปิดประเทศของอังกฤษด้วยเช่นเดียวกันดังนั้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวและยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ
โดยในส่วนของสกุลเงิน GBPCHF ยังคงมีการพักตัวและมีการปรับตัวย่อตัวลงเล็กน้อยหลังจากที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.27510 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.27319 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27191
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28007 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28108 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28305
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูปัจจัยภายนอกและภายในประกอบกับในสัปดาห์นี้การประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษยังคงไม่มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญดังนั้นปัจจัยที่จะต้องติดตามสกุลเงินปอนด์อย่างต่อเนื่องก็คือในส่วนของการแถลงเกี่ยวเนื่องกับ โควิด-19 จึงต้องจับตาดูเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิคสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่า
จากปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงนั้นคือในส่วนของสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มี การปรับตัวแข็งค่าขึ้นส่งผลทำให้สกุลเงินหยวนกดดันทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังกล่าวประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิส ยังคงมีทิศทางที่พักตัวระยะสั้นในช่วงนี้ดังนั้นในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
โดยคู่เงิน AUDCHF มีการปรับตัวร่วงลงจากปัจจัยพื้นฐานของสกุลออสเตรเลียส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญและแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.69226 แนวรับที่สองก็คือ 0.69178 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69043
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69343 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69459 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69597
โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDCHF ที่น่าจับตามองอย่างมากก็คือ : สกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยของสกุลเงินหยวนดังนั้นติดตามสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงติดตามปัจจัยคู่เงินนี้อย่างใกล้ชิดเพราะอาจจะส่งผลโดยตรงโดยเฉพาะการขึ้นไหวของสกุลเงินฟรังก์สวิส
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ยอดขายบ้านสหรัฐส่งผลกับดอลล่าร์วันพุธนี้จะมีการประกาศยอดขายบ้านของสหรัฐในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยในวันพุธนี้จะส่งผลให้กับดอลลาร์ระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่เริ่มมีการดึงเม็ดเงินออกจากระบบอย่างต่อเนื่องของธนาคารกลางสหรัฐส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของในวันพุธที่จะถึงนี้จะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญก็คือยอดขายบ้านที่รอการปิดการขายของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนพฤษภาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในเชิงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน USDCHF มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยได้รับแรงหนุนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92106 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92170 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92273
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91912 แนวรับที่สองก็คือ 0.91845 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91740
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : อย่างไรก็ดีจะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐในสัปดาห์นี้หลายการประกาศทั้งการประกาศยอดขายบ้านที่รอการปิดการขายหรือแม้กระทั่งในส่วนของวันศุกร์นี้จะมีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาซึ่งคู่เงินนี้จะโดนผลกระทบโดยตรงจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : พักตัวเพื่อรอทิศทางน้ำมันCAD พักตัวหลังจากที่น้ำมันพักตัวประกอบกับดัชนีดาวน์โจนส์ฟิวเจอร์พักตัวระยะสั้น
ดูเหมือนสกุลเงินแคนาดายังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันยังคงมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ยังคงติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในค่ำคืนนี้ของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศดัชนีการใช้จ่ายผู้บริโภคของสหรัฐดังนั้นสกุลหนึ่งแคนาดาในช่วงนี้ต้องจับตามองการประกาศตัวเลขสำคัญนี้อย่างใกล้ชิด
ในส่วนของคู่เงิน CADCHF มีการย่อตัวลงในหลายวันที่ผ่านมาโดยปัจจัยสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยแต่ในส่วนของสกุลเงินแคนาดายังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74393 แนวรับที่สองก็คือ 0.74211 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74126
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74598 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74732 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74787
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน CADCHF ที่เป็นปัจจัยสำคัญในวันนี้ : ต้องจับตามองในส่วนของการเคลื่อนไหวของทิศทางราคาน้ำมันและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์เพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องจับตามองแต่หลังสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาการประกาศปรับดอก BOEการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในวันพฤหัสที่จะถึงนี้
ในวันที่ 24 มิถุนายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ รวมทั้งจะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินในครั้งนี้โดยที่อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเงินในเชิงระยะสั้นดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและอาจจะมีการแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน GBPCHF อาจจะมีความผันผวนในวันพรุ่งนี้ดังนั้นในช่วงนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจากปัจจัยของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28516 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28802 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.29329
แต่มีการขยับตัวร่วงลงเมื่อไหร่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยที่แนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.28083 แนวรับที่สองก็คือ 1.27788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27562
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยปัจจัยเสี่ยงที่น่าจับตามองก็คือยังคงเป็นการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษหรือ MPC รอดูว่าจะมีการประกาศรายงานการประชุมอย่างไรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : มีโอกาสฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวสูงขึ้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74399 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74470 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74525
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74255 แนวรับที่สองก็คือ 0.74119 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74024
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่จำเป็นจะต้องติดตามทิศทางราคาน้ำมันและตลาดหุ้นฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR เริ่มผันผวนในทิศทางตรงกันข้ามกับ USDสกุลเงินยูโรจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญในวันศุกร์นี้
สกุลเงินยูโรยังคงรอการประกาศตัวเลขที่สำคัญของวันศุกร์นี้กับการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตของเยอรมนีซึ่งจะมีความสำคัญในช่วงระยะสั้นกับสกุลเงินยูโร โดยที่สกุลเงินยูโรยังคงมีการผันผวนในเชิงระยะสั้นกับสกุลเงินดอลล่าร์โดยที่มี การวิ่งไปในทิศทางตรงกันข้ามของสกุลเงินดอลล่าร์ดังนั้นปัจจัยของสกุลเงินยูโรยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในช่วงระยะสั้นเท่านั้น
โดยที่สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสหรือเรียกว่า EURCHF มีการขยับตัวสูงขึ้นในช่วงระยะสั้น ซึ่งมีการกดดันจากสกุลเงินฟรังก์สวิสที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวรับแรกก็คือ 1.09375 แนวรับที่สองก็คือ 1.09437 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.09547
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.09151 แนวรับที่สองก็คือ 1.09030 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.08922
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURCHF : ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์เพราะจะกดดันสกุลเงินฟรังก์สวิสประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงคอยกดดันสกุลเงินยูโรในระยะสั้นและการประกาศตัวเลขที่สำคัญต้องติดตามอย่างใกล้ชิดในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจ
GBP ติดตามดัชนียอดขายปลีกวันศุกร์นี้การประกาศที่สำคัญของอังกฤษจะมีความสำคัญกับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
สกุลเงินปอนด์ยังคงรอติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของ อังกฤษซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนพฤษภาคมโดยนักลงทุนได้มีการคาดการณ์ออกมา น้อยกว่าครั้งก่อนอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน GBPCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้อาจจะมีความผันผวนที่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27800 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28086
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27436 แนวรับที่สองก็คือ 1.27192 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : ในส่วนของทั้งสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความ ผันผวนและในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีปัจจัยที่จะต้องจับตามองไม่ว่าจะเป็นทั้งตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์หรือแม้กระทั่งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษต้องจับตามองในวันศุกร์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : โดนกดดันจากสกุลเงินออสเตรเลียสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการอ่อนค่าลงของสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68972 แนวรับที่สองก็คือ 0.68886 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68691
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69221 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69374 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69508
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียเพราะจะคอยกดดันสกุลเงินนี้อย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟังสวิตในตอนนี้คงมีการพักตัวจึงควรติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD รอ FEDสกุลเงินดอลล่าร์พักตัวรอสัญญาณ FED
สกุลเงินดอลล่าร์ยังมีความผันผวนในระยะสั้นและวิ่งอยู่ในกรอบโดยเฉพาะปัจจัยที่ยังคงมีต้องจับตามอง ก็คือรายงานจำนวนใบอนุญาตการก่อสร้างของสหรัฐอเมริการวมทั้งดุลการค้าของสหรัฐอเมริกาและจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐรวมทั้งจะมีการขึ้นให้คำถ้อยแถลงของประธานธนาคารกลางสหรัฐอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยทำให้คู่เงิน USDCHF อาจจะมีความผันผวน ซึ่งในตอนนี้คู่เงินนี้ยังคงมีการพักตัวดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวดีดตัวขึ้นทะลุ 0.89898 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.90014 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.90090
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.89688 แนวรับที่สองก็คือ 0.89566 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.89351
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องจับตามองในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่จะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามปัจจัยภายในของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : ยังวิ่งอยู่ในกรอบระยะกลางสกุลเงินแคนาดากับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงวิ่งอยู่ในกรอบ
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัววิ่งอยู่ในกรอบเนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวผันผวนในระยะกลางจึงควรติดตามกรอบแนวรับเดี๋ยวตอนที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74577 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74671 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74842
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74425 แนวรับที่สองก็คือ 0.74319 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74220
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากทิศทางของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามปัจจัยภายในและดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : พักตัวระยะสั้น อีกครั้งสกุลเงินปอนด์พักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27215 แนวรับที่สองก็คือ 1.26891 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26620
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27472 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27664 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27871
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงตัวเลขผู้ที่ติดเชื้อของอังกฤษประกอบกับติดตามปัจจัยในการปิดประเทศอีกครั้งในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ย่อตัวต่อเนื่องหรือไม่สกุลเงินฟรังก์สวิสจะแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงทะลุ 0.69966 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.69890 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69769
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70213 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70314 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70413
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญทั้งนิวซีแลนด์และสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ยังคงมีโอกาสขยับตัวร่วงลงสกุลเงินดอลล่าร์จะกดดันอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.89643 แนวรับที่สองก็คือ 0.89491 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.89349
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.89831 แนวต้านที่สองก็คือ 0.89975 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.90193
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนของสกุลเงินดอลล่าร์โดยที่จะมีการประกาศรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ ธนาคารกลางสหรัฐจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD/CHF : มีโอกาสร่วงลงต่อเนื่องหรือไม่สกุลเงินแคนาดาอ่อนค่าลงต่อเนื่อง
สกุลเงินแคนาดาเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการร่วงลงของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.74384 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.74230 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74152
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 0.74647 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74820 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75004
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่ต้องติดตามราคาน้ำมันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ CAD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ขยับตัวขาขึ้นระยะสั้นสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจมีการอ่อนค่าลงระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ที่มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70885 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70933 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70979
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70783 แนวรับที่สองก็คือ 0.70734 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลออสเตรเลียที่จำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากสกุลเงินหยวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อีกเช่นกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์จะแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการยกตัวขึ้นระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.90445 แนวต้านที่สองก็คือ 0.90552 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.90707
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.90174 แนวรับที่สองก็คือ 0.90013 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.89857
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟังสวิตต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/CHF : ยังคงมีโอกาสปรับตัวร่วงลงระยะสั้นสกุลเงินยูโรจะโดนกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการปรับตัวย่อตัวลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินยูโรโดนกดดันจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.09376 แนวรับที่สองก็คือ 1.08947 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.08782
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.09663 แนวต้านที่สองก็คือ 1.09869 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.09971
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่อาจจะโดนกดดันจากดอลล่าร์ในการประกาศตัวเลขสำคัญประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสในช่วงนี้ต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์และดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์เป็นหลัก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : จะมีการย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงโดยในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26908 แนวรับที่สองก็คือ 1.26729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26555
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27140 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27289 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27410
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยภายในรวมทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญและการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ร่วงลงต่อเนื่องสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ที่มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70221 แนวรับที่สองก็คือ 0.69952 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69608
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70410 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70652 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70812
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึง สกุลเงินฟรังก์สวิสที่จะต้องติดตามในส่วนของดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียติดตามสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : จะสามารถย่อตัวได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะมีการอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการย่อตัวอย่างต่อเนื่องเนื่องจากในส่วนของดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิส มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการกดดันมาจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.91326 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.91198 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91028
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91550 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91651 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91765
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่ยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟังสวิตต้องติดตามจากปัจจัยดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในค่ำคืนนี้ โดยเฉพาะจะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด