#AUDJPY ในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นเช่นเดียวกัน#AUDJPY ในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นเช่นเดียวกันเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นอย่างไรก็ตามตลาดหุ้น Nikkei ก็ยังดูมีความผันผวนมากซึ่งควรติดตามใน Module ที่สำคัญโดยถ้าสามารถดีขึ้นไปได้อาจจะไปถึง 0.58% หรือ 83.375 ซึ่งเป็นจุดที่ต้องควรตัดทำกำไรขาดทุนในรอบนี้แต่ในส่วนของถ้าเกิดมีการร่วงลงไม่ว่าจะเป็นตลาดหุ้น Nikkei มีการปรับตัวลงหรือสกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงก็ตามควรตัดกำไรขาดทุนที่ 1.00% หรือ 82.066 ซึ่งเป็นแนว Module ที่ต้องติดตามในวันนี้
AUD (ดอลล่าร์ออสเตรเลีย)
#GBPAUD ถึงหรือยังจะวิ่งอยู่ในกรอบแต่ในทิศทางขาขึ้น#GBPAUD ถึงหรือยังจะวิ่งอยู่ในกรอบแต่ในทิศทางขาขึ้นได้ทะลุเรียบร้อยแล้วเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นณตอนนี้ซึ่งถ้าเกิดว่าร่วงลงมายืนเหนือ 1.77987 ลงมาได้อาจจะไปถึง 0.50% หรือ 1.773758 ไปทิศทางตรงข้ามควรติดตามตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.68% หรือ 1.79539
#AUDJPY ในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นเนื่องจาก#AUDJPY ในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นเนื่องจากตลาดหุ้นของ Nikkei มีการปรับตัวสูงขึ้นซึ่งตลาดหุ้น Nikkei ปรับตัวสูงขึ้น 0.83% ซึ่งทำให้คู่เงินนี้มีการดีดตัวขึ้นโดยเป้าหมายอยู่ที่ 0.60% หรือ 80 20361 ซึ่งเป็นแนวโมดูสุดท้าย และควรตัดขาดทุนที่ 81.057 ซึ่งเป็นแนวสุดท้ายของวันนี้
AUDJPY จังหวะเข้าซื้อแบบเบรคเอาท์ และกลยุทธ์การแบ่ง Orderเทรนด์ระยะกลางมีแรงยกตัวจากบริเวณ 80 ขึ้นไป หากเบรค 85 ขึ้นไปและยืนได้จะยืนยันการขึ้นระยะ D1 รอบใหม่ไปสู่แนวต้าน 90
โอกาสในการเล่น เทรด Long เบรคเอาท์ 85 ไปสู่ 90 (ระยะสั้น)
หรือใช้เลเวอเรจต่ำไปสู่ 100 โดยแบ่งการซื้อเป็น 3 ORDER โดยทั้ง 3 ORDER ใช้มาร์จิ้นรวมกัน < 2% ของพอร์ตการลงทุนเพื่อควบคุมความเสี่ยงกรณีผิดทาง
สามารถใช้การเพิ่มเลเวอเรจเมื่อผิดทางในนัดที่ 3 เพื่อดึงค่าเฉลี่ยลงให้ได้เปรียบมากขึ้น และเริ่ม SL ในบริเวณใต้แนวรับสำคัญ 70 ลงไป
#GBPAUD ในตอนนี้มีทิศทางตรงกันข้ามกับสกุลเงินปอนด์#GBPAUD ในตอนนี้มีทิศทางตรงกันข้ามกับสกุลเงินปอนด์เนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงอย่างรุนแรงเช่นเดียวกันจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้นซึ่งถ้าสามารถทะลุ 1.77760 ขึ้นไปได้ ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.53% หรือ 1.78668 แต่ถ้าเกิดร่วงลงทะลุ 1.77200 ลงมาได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.59% หรือ 1.76041 ซึ่งในตอนนี้ ต้องติดตามปัจจัยทั้งสองสกุลเงินไม่ว่าจะเป็นสกุลเงินออสเตรเลียและสกุลเงินปอนด์ที่จะมีความผันผวนในช่วงเวลา 15:00 น. นี้
#GBPAUD คู่เงินนี้มีความผันผวนระหว่างสกุลเงินปอนด์และสกุลเงินออส#GBPAUD คู่เงินนี้มีความผันผวนระหว่างสกุลเงินปอนด์และสกุลเงินออสเตรเลียจึงควรติดตามในแนวโมดูที่สำคัญซึ่งถ้าเกิดว่าสามารถทะลุ 1.79299 ลงมาได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 1.78283 หรือ 0.69%แต่ถ้าเกิดว่าดีดขึ้นไปทะลุ 1.79812 ขึ้นไปได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.77% หรือ 1.80912
AUDJPY วางกลยุทธ์รับแบบ Rangesในภาพรวมเรามองว่าราคามีรูปแบบแรงที่ไม่ได้เปรียบในด้านใดด้านหนึ่ง และราคาอยู่บริเวณกลางระหว่าง ATH - ATL นั่นทำให้เราเลือกกลยุทธ์ผสมโดยเล่น swing ระยะสั้น ผนวกกับวางกระสุนระยะยาวที่แนวรับ
Major resistance - supply zone 87 - 90
Major support - 76-80
โดยรอสัญญาณกลับตัวเช่น price action บริเวณโซนแนวรับเพื่อ buy 2 นัด
สำหรับเทรดระยะสั้น - สวิง
ใช้แนวรับ + ระยะเผื่อเล็กน้อง (หาก long) เป็น SL
ใช้แนวต้าน + ระยะเผื่อเล็กน้อง (หาก short) เป็น SL
สำหรับเทรดระยะยาว
ใช้ ATH / ATL บวกระยะเผื่อเป็น SL โดยใช้เลเวอเรจปรับให้ต่ำลงและเหมาะสมกับมาร์จิ้น
AUDCHF วิธีบริหารทุนเทรดในภาพใหญ่ของขา Buyมุมมองกลยุทธ์สำหรับนักลงทุนที่มองด้าน AUD น่าสะสมระยะยาว
หากมีมุมมองพื้นฐานในด้านเทียบ AUD มีความแข็งแกร่งกว่า CHF
ZONE A อยู่ในแถบล่างจากข้อมูลราคา แผนการเล่นเหมาะกับวิธีเลือก ฺBuy เพื่อความได้เปรียบ
สามารถออกแบบแผนการเล่นในแง่ความคาดหวังจะไปสู่ ZONE B โดยออกแบบการเทรดที่ใช้ทั้งการเก็บสั้นเล่นรอบและเก็บยาวแบบ snow ball
- บริเวณ 0.755 สามารถตั้งเป็นจุดสะสม position แล้วพยายามดึงค่าเฉลี่ยลง
- บริเวณทำกริดเพื่อสร้าง Cash flow คือบริเวณ A1 0.755 - 0.715 กับ A2 0.715- 0.68
การบริหารทุน ตัวอย่างการใช้ 2% rule
สมมุติพอร์ตมีขนาด 10000 usd, 2% = 200 usd
หากการยิงแต่ละครั้งใช้ 25 usd margin
*โดยตั้งจุด SL = 0 / 0.65 - 0.6 ขึ้นกับกลยุทธ์
นั่นหมายถึงจะยิงซื้อได้ 8 นัด แบ่งยิงโซน A1 4 นัด A2 4 นัด
โดยจะใช้เทคนิคัลในเฟรม H4 / D1 หรือการวางกริดย่อยเข้าไปอีกระดับก็ได้
AUDNZD วิธีบริหารความเสี่ยงของการเทรดด้าน Buyจากกราฟในภาพใหญ่
Buy Zone : A-D
Short Zone : E-G
Major support 1.034 / 1.05
Major resistance 1.1210
ความได้เปรียบเบื้องต้นคือ ซื้อให้ยิ่งต่ำ ขายให้ยิ่งสูง แต่หากราคาไปไม่ถึงการ pending ที่สูงหรือต่ำมากไปจะไม่มีประโยชน์
วิธีเทรดสามารถใช้วิธีแบ่งเงินทุนที่มีเป็นส่วนๆ โดยประมาณความน่าจะเป็นให้แต่ละโซนมีความแตกต่างกัน
เช่นหากเรามีทุน 100 % แล้วกลยุทธ์ของเราคือ Buy อย่างเดียว ดังนั้นจะต้องแบ่งทุนเพื่อซื้อให้กับโซน A-D
มี 4 โซน หากแบ่งเท่ากันก็คือ 25% ในแต่ละโซน
แต่แทนที่จะแบ่งเท่า เพราะหากกราฟราคาไม่ลงไปถึงโซน A - B นั่นแปลว่าเงินที่เตรียมเทรดโซนนั้นจะเป็นเงินจม
โดยจากภาพ ราคาในกราฟมีการกลับตัวขึ้นในบริเวณโซน C / D บ่อยครั้ง เราจะแบ่ง % ในสองโซนนี้ให้มากขึ้น ดังนั้นอาจใช้เป็น
D - 35%
C - 35%
B - 20%
A - 10%
% นี้ขึ้นกับการออกแบบของแต่ละคนตามมุมมองที่ต่างกัน
วิธีออกแบบการบริหารความเสี่ยง
เมื่อเรามีโซนที่สามารถวางแผนการเล่น Buy / Sell แล้ว ต่อไปคือเราจะประเมินทุนของเรา ขนาดกระสุน และจำนวนที่ยิงแล้วไม่ over trade ได้อย่างไร
ขนาดของการยอมรับการสูญเสีย สามารถออกแบบได้หลายรูปแบบ โดยผู้เขียนขอแนะนำวิธีหนึ่งที่ผู้เขียนใช้อยู่
หากใช้วิธีคิดแบบ 1-2% rule (of portfolio) นั่นหมายถึงเมื่อราคาไปถึงจุดหนึ่ง เงินของเราจะหายไป 2%
สำหรับกราฟราคานี้ จุดที่ต่ำมากๆจากข้อมูลในอดีต จะอยู่ที่ 1.0
หากเผื่อราคาปลอดภัยก็อาจประมาณ 0.9 เป็นจุด SL ในแผนทางบัญชี
ในจุดนี้มาร์จิ้นพอร์ตจะลดลง 2% ซึ่งการคำนวณส่วนนี้จะขึ้นกับประเภทบัญชีและเงื่อนไขของโบรกเกอร์
ในกรณีบัญชีของผู้เขียน (เลเวอเรจ1-5) กระสุน 1 นัดใช้ขนาดมาร์จิ้น 25 USD หากตั้ง SL ที่ 0.85 เงินทุนจะหายไป 24.74 ดอล
นั่นหมายถึงหาก 1 นัดคือ 1 % rule ผู้เขียนควรมีทุนทั้งหมด 250 USD โดยประมาณ เพื่อรองรับการขาดทุนของกระสุนนัดนี้ได้โดยหายไปแค่ 1 % จากทั้งหมด
เมื่อเทียบกระสุน 1 นัดได้ นั่นหมายถึง หากจะยิง 4 นัดในสินค้านี้ด้วยเงื่อนไขเดียวกัน ก็ต้องมีทุน 250*4 = 1000 usd นั่นเอง
* ในกรณีใช้ 2 % rule ก็หมายถึงยิงได้มากขึ้นเท่าตัว ทุน 1000 usd จะยิงสินค้าตัวนี้ในบริเวณนี้ได้ 8 นัด
สมมุติว่าเรามีทุน 1000 ใช้ 2 % rule ยิงได้ 8 นัด
เราจะออกแบบการยิงยังไง ก็ออกแบบได้หลายแบบอีก เช่น
วางกริดตรงๆ แบ่งโซน A 2 นัด B 2 นัด C 2นัด D 2นัด
ใช้เทคนิคัลรอสัญญาณกลับตัวขึ้น หรือใช้ price action ในบริเวณแนวรับที่สำคัญ / เบรคเอาท์ก็ตามแต่เทคนิคของแต่ละคน
เพียงแต่ด้วยการบริหารทุนและมองราคาเป็นโซนสนามรบ แล้วแบ่งทุนให้แต่ละโซน หากเราวางได้ดีประสิทธิภาพของกระสุนจะเพิ่มขึ้น ในส่วนนี้ขึ้นกับความสามารถในการวางกลยุทธ์ของแต่ละคน แต่ที่แน่ๆคือเราจะไม่ over trade แน่ๆ เพราะเราคำนวณไว้แต่แรกว่าวิธีของเรานั้น สามารถรับการลากไปจนถึงแนวรับที่มีนัยยะสำคัญได้ แล้วถึงจะไปถึงตรงนั้นเราก็ยังมี 2% rule ควบคุมอยู่อีกชั้น
#AUDCHF ในตอนนี้ถึงแม้ว่าทิศทางอยู่ในทิศทางขาขึ้นแต่เนื่องจากมี#AUDCHF ในตอนนี้ถึงแม้ว่าทิศทางอยู่ในทิศทางขาขึ้นแต่เนื่องจากมีเหตุการณ์ที่สำคัญที่ทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนซึ่งถ้าเกิดว่าร่วงลงทะลุ 0.75089 ลงมาได้ควรตัดที่ 0.45% หรือ 0.74750 แต่ถ้าเกิดว่าไม่สามารถทะลุลงรายละเอียดกับคุณไปทะลุ 07758344 ขึ้นไปได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.75585
#AUDJPY ถึงแม้จะมีความผันผวนอยู่แต่อย่างไรก็ตามในระยะสั้นยังอยู่#AUDJPY ถึงแม้จะมีความผันผวนอยู่แต่อย่างไรก็ตามในระยะสั้นยังอยู่ในทิศทางขาลงเนื่องจากมีความผันผวนจากตลาดหุ้น Nikkei จึงควรติดตามในโมดูลที่สำคัญโดยถ้าทะลุ 82.017 ลงมาได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.49% ถือ 81.660 แต่ถ้ากลับขึ้นไปทะลุ 82.257 ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.97% หรือ 82.865
#GBPAUD ในตอนนี้ในช่วงสั้นหรือทิศทางขาลงเรียบร้อยแล้ว#GBPAUD ในตอนนี้ในช่วงสั้นหรือทิศทางขาลงเรียบร้อยแล้วเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องสองวันที่ผ่านมา ในการประกาศในครั้งนี้ถ้าเกิดว่าการประกาศออกมาทิศทางที่แย่ของอังกฤษและถ้าร่วงลงไปแตะ 1.8212 ถ้าไม่สามารถทะลุผ่านได้อาจจะขึ้นไปแตะ 1.83479และถ้าสามารถทะลุผ่านขึ้นไปได้ ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่โมดูด้านบนก็คือ 0.79% หรือ 1.84913 ซึ่งเป็นแนวที่สำคัญในด้านบน แต่ถ้าเกิดว่าลงมาแตะในราคา 1.82812 และทะลุลงมาได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.86% หรือ 1.81903 ซึ่งเป็นแนวที่สำคัญในวันนี้
AUDJPY พิจารณาซัพพลายโซน H4 สำหรับการ Shortคู่เงินที่น่าสนใจสำหรับวันนี้ คือคู่เงิน AUDJPY กรอบการเคลื่อนที่ใน Timeframe H4 ทิศทางของราคาเป็นเทรนลง มีการเคลื่อนที่ของราคา ที่มีนัยยะสำคัญคือมีการเบรคดีมานด์โซน D1 #สีฟ้า เมือวันที่ 17/11/2560 ปัจจุบันราคาเคลื่อนที่เข้าสู่พื้นที่ซัพพลายโซน H4 และแนวต้าน D1 และใกล้ระดับเส้นแนวต้านเทรนไลน์
พิจารณา Price Action ที่เกิดบริเวณซัพพลายโซนสำหรับการเทรด Sell ในช่วงราคา 85.800 - 85.850 เป้าหมายการทำกำไรคือดีมานด์โซนสีเหลือง 84.500 จุดตัดขาดทุน 86.000
EURAUD หาสัญญาณการเทรด Long จากพื้นที่ดีมานด์โซน🔖 ค่าเงินที่น่าสนใจสำหรับวันนี้จนถึงปลายสัปดาห์คือคู่เงิน EURAUD ทิศทางของราคาในกรอบเวลา D1 มีการเคลื่อนที่เป็นเทรนขึ้น แต่การเคลื่อนที่ปัจจุบันในกรอบเวลา H4 เป็นเทรนลง เคลื่อนที่เข้าใกล้พื้นที่ดีมานด์โซน
🔖 ดีมานด์โซนที่น่าสนใจสำหรับปัจจุบันคือ ดีมานด์โซน H4 #สีน้ำเงิน (1.53300 - 1.52800)
🔖 ซัพพลายโซนที่น่าสนใจสำหรับปัจจุบันคือ ซัพพลายโซน H4 #สีเขียว (1.55175- 1.55575)