USDJPY 26/11/64 USDJPY ประจำวันที่ 26/11/64
H4
- Demand Zone keylevel
- RSI : Sideway
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
H1
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M30
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M15
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
USDJPY
กรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้นกรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
สมาชิกคณะกรรมการคนใหม่ของ Bank of Japan กล่าวว่า เธอได้เห็นการค่อยๆ เกิดขึ้นของแนวโน้มราคาที่สูงขึ้นในประเทศที่มีการจับตาอย่างใกล้ชิด แม้ว่าธนาคารจะคงมาตรการกระตุ้นการเงินไว้ก็ตาม
ราคาผู้บริโภคของญี่ปุ่น “ดูเหมือนจะไม่อยู่ที่ศูนย์ตลอดไป” สมาชิกคณะกรรมการ Junko Nakagawa กล่าวเมื่อวันพุธในการสนทนาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสัมภาษณ์ชุดแรกของเธอตั้งแต่เข้าร่วมธนาคารในเดือนมิถุนายน “ความกดดันที่สูงขึ้นกำลังเพิ่มขึ้นเล็กน้อย”
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคิดเห็นของ Nakagawa ชี้ให้เห็นว่าเธอและเพื่อนร่วมงานเห็นว่าอัตราเงินเฟ้อของญี่ปุ่นเริ่มกลับมาคึกคักอีกครั้ง แม้ว่าพวกเขาจะยึดมั่นในมุมมองที่ว่าต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่ราคาจะขึ้นจะบรรลุเป้าหมายที่ 2% ของธนาคาร
ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สูงขึ้นได้ช่วยวัดราคาผู้บริโภคที่สำคัญของญี่ปุ่นในช่วงสองเดือนที่ผ่านมาเป็นครั้งแรกในรอบกว่าหนึ่งปี แต่การเพิ่มขึ้นนั้นห่างไกลจากราคาที่พุ่งขึ้นซึ่งต้องเผชิญกับเศรษฐกิจอื่นและธนาคารกลาง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามในปัจจัยนี้และในข่าวนี้อาจจะต้องจับตาดูว่าจะทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน USDJPY อย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 115.908 แนวต้านที่สองคือ 116.294 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 116.584
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 115.128 แนวรับที่สองก็คือ 114.906 แนวรับสุดท้ายก็คือ 114.603
Update USDJPY Trading Journal #5จากแผนที่วางไว้ครั้งก่อน เรารอให้ราคาทำแพทเทินกลับตัว เพื่อเซลที่ต้นเทรนด์ แต่ราคาไม่ทำแพทเทินหรือสัญญาณใดๆ และพุ่งขึ้นไปต่อ
แผนปัจจุบันยังคงเหมือนเดิม เนื่องจากบริเวณนี้ เป็นบริเวณ Reversal Zone ที่แข็งแรงในอดีต ดังนั้นการเทรด USDJPY จะมี2แผน
1.รอให้ราคาทำแพทเทินกลับตัว แล้วจึงเซลตามแผนเดิมที่วางไว้
2.หากราคามีการพักตัวลงมาแบบเอื่อยๆ RSI ไม่มีสัญญาณกลับตัวที่มีนัยสำคัญมากพอ เราจะ Bias ว่า USDJPY จะยังคงไปต่อ ให้เรามองหาแนวรับหรือ Price Structure แล้วรอเข้า Buy อีกที
**เทรดในสิ่งที่เห็น ไม่ใช่สิ่งที่เรามโน เราทำได้แค่มองข้อมูลจากกราฟที่ตลาดบอกเราแล้ววิเคราะห์ตามสิ่งที่เห็น ส่วนจะถูกหรือผิด เป็นสิ่งที่ตลาดตัดสินไม่ใช่ตัวเรา**
USDJPY น่าจะได้เวลากลับตัวลงแล้วTrading Journal#5
แผนและมุมมองเทรด USDJPY
ราคากลับขึ้นมาที่High ในอดีตเมื่อปี 2018 ซึ่งเป็นจุดที่มีนัยสำคัญสูง
และชนกับแนวต้านฟิโบ Extention ท่ีสำคัญ + RSI Divergence 1h
แผนคือ รอให้ราคาเกิดการคอนเฟิร์มการกลับเทรนในไทม์เฟรม 1h/30m แล้วจึงเข้าเซลตาม
(ในตัวอย่างคือ รอให้ราคาทำรูปแบบ QM แล้วเข้าเซลบริเวณไหล่ขวาของแพทเทิน)
ถ้าจุดนี้เกิดการกลับตัวจริง น่าจะเป็นจุดต้นเทรนด์ กินคำใหญ่ได้ยาว และมี SL ที่สั้น (RR ได้เปรียบสูง)
**หากไม่มีสัญญาณยืนยัน ไม่ควรเข้าเทรด เพราะราคายังดูมีแรงมากพอที่จะไปต่อได้อีก
USDJPY 22/11/64 USDJPY ประจำวันที่ 22-11-64
-Quasimodo pattern ขาลง
H4
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> Neutral
H1
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Divergence ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M5
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
[USDJPY] - คาดการณ์ราคาคู่เงิน USDJPY23/10/64
คลื่น 1 ในขาลงจบด้วย Leading Diagonal
23/10/64 เป็นต้นมา
ปรับตัวไซเวย์ออกข้าง คาดว่าจะเป็นflat
. . .หากเป็นการปรับตัวเพื่อลงต่อ
จะต้องไม่ทำนิวไฮ
คำอธิบายอื่นๆ อยู่บนภาพที่แสดงเเล้วครับ
ขอบคุณครับ
ปล.ผมลองพยายามอธิบายแบบคนมีความรู้ แต่. .ก็ทำไม่ได้ :P
โชคดีครับ สตินำพา
ดัชนี PMI ภาคการบริการของสหรัฐสำคัญดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอาจส่งผลให้ดอลลาร์ ผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. วันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มหรือแม้กระทั่งการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนกันยายนเทียบเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มเช่นเดียวกัน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามตลาดยังคงให้ความสำคัญในปัจจัยนี้ประกอบกับนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 62.0 ครั้งก่อน 61.9 ประกอบกับการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนกันยายนเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 1.2% ซึ่งจับตาดูว่าถ้ามีการประกาศออกมาผันผวนจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและค่าเงิน USDJPY อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.104 แนวต้านที่สองก็คือ 114.254 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.428
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.870 แนวรับที่สองก็คือ 113.761 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.510
GDP สหรัฐประจำไตรมาสที่สามกับค่าเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันพฤหัสที่ 28 ตุลาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สามซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่จะมีการประกาศทั้งดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามประกอบกับทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนรวมทั้งจะมีการประกาศ จำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกานักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.7% ครั้งก่อน 6.7% คือการประกาศรัชนีจีดีพีไตรมาสต่อไตรมาสประจำใจมาสที่สามประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.5% ครั้งก่อน 6.2% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 290K เท่ากันกับครั้งก่อนสำหรับจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนโดยคู่เงินที่สำคัญก็คือ USDJPY แน่นอนว่าอาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.839 แนวต้านที่สองก็คือ 114.103 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.256
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.500 แนวรับที่สองก็คือ 113.224 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.069
ดัชนีพีเอ็มไอสหรัฐกับสกุลเงินดอลล่าร์การประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นการประกาศที่สำคัญของสหรัฐเช่นเดียวกัน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อในหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit รวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยที่เห็นนักวิเคราะห์หลายสำนักได้มีการคาดการณ์การประกาศนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการผันผวนระยะสั้นโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่า จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 60.3 ครั้งก่อน 60.7 และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 55.1 ครั้งก่อน 54.9 แต่ดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งครั้งก่อนประกาศออกมา 55.0
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน USDJPY ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาและทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น กรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.170 แนวต้านที่สองก็คือ 114.401 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.625
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.686 แนวรับที่สองก็คือ 113.517 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.338
USD/JPY Week 2-3 of Oct 2021 USD/JPY week 2-3 of Oct 2021
This is just a graph analysis by newbie. not just a inducing to trade at all.
1.1--> 6th tesing of fibo 50 (which can be able to break to fib 61.8 but it has more chance to drop down due to rising wedge pattern.)
อาจทะลุไปหา 61.8 แต่ก็มีโอกาสร่วงสูงกว่าเพราะเป็นการ compression ไปหาแนวต้าน หรืออาจเรียก
pattern ว่า rising wedge (รอ PA หน้างาน)
1.2--> ถ้าเกิดทะลุไปได้โดนตบที่ fibo 61.8 เพราะ มี (If the price breaks fib 50 to fib 61.8 , It has much chance
to be rejected due to confluent key level) fresh supply + fibo level
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
2.1--> กรณีคือตลาดเปิดมาวันจันทร์ (11/10/21) แล้วโดน fib 50 ตบร่วงเลย ไปหาแนวรับ fib 38.2 (on monday of 2nd week oct 2021. If it is suddenly rejected by fib 50, I'll follow sell and the target price will be around fib 38.2)
2.2--> ถ้าหลุด fib 38.2 จะไป retest เส้น trend line เก่า ที่ราคาประมาณ 107.500 (If the price can break fib 38.2 , it might go testing the resistance line around 107.500. I will look for the rejection to buy)
You should have your advice or comment if you have another perspective to this graph. That would be good for me to improve my analysis skill.
ถ้าเห็นอะไรผิดหรือมองต่างยังไงบอกได้เลยครับ ผมเป็นมือใหม่อยากได้สกิลเพิ่มครับ ขอบคุณครับ
USD/JPY Week 3 of Oct 2021 รอดู price action ที่แนวรับต้านสำคัญก่อนออกออเดอร์ ต้องรอให้ PA นั้นจบแท่งซะก่อนจะเข้าออเดอร์
USD/JPY : ฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการเสพตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นทะลุ 111.557 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 111.780 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.039
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 111.392 แนวรับที่สองก็คือ 111.227 แนวรับสุดท้ายก็คือ 111.095
Core PPI ของสหรัฐที่กำลังจะเกิดขึ้นการประกาศดัชนี Core PPI สหรัฐอเมริกามีความสำคัญในระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตหรือเรียกว่า PPI ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐาน Core PPI หรือแม้กระทั่งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองว่าดัชนีราคาผู้ผลิตนี้จะมีการประกาศอย่างไรและจะส่งผลไปทาง ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรือไม่จับตาดูอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามเราไปขอได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตประกาศเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนั้นประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน 1.0% และการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 0.5% ครั้งก่อน 1.0% ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่ถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามติดตามการประกาศในการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตและดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นคู่เงินที่น่าสนใจอีกหนึ่งคู่เงินก็คือ USDJPY โดยคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นถ้ามีการประกาศอีกครั้งอาจจะทำให้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.621 แนวรับที่สองก็คือ 109.530 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.417
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.764 แนวต้านที่สองก็คือ 109.910 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.192
จับตาดูการประชุมของ FEDแม้ว่าจะเน้นไปที่ 40% ของประชากรสหรัฐฯ ที่เป็นผู้ใหญ่เป็นส่วนใหญ่ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน แต่การระบาดในปัจจุบันยังคงเพิ่มความตึงเครียดให้กับเฟดว่าการวางแผนป้องกันเงินเฟ้อควรเป็นความกังวลสูงสุดในช่วงเวลาที่วิกฤตสุขภาพยังอาจควบคุมอย่างอื่นหรือไม่ การกู้คืนที่ลุกลาม
“น่าเศร้าที่ (ประธานเฟดเจอโรม) พาวเวลล์จะต้องยอมรับความเสี่ยงด้านลบที่เริ่มปรากฏขึ้น” ไดแอน สวอนก์ หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของแกรนท์ ธอร์นตัน เขียนก่อนการประชุมนโยบายสองวันของเฟดในสัปดาห์นี้ "เครื่องหมายคำถามคือการแพร่กระจายของตัวแปรเดลต้าส่งผลต่อการกลับมาทำงานอย่างไรและช่วยลดความต้องการบริการบางส่วนหรือไม่" ซึ่งเริ่มนำไปสู่การฟื้นตัวและดึงผู้คนนับล้านที่ถูกกีดกันกลับเข้าทำงาน
ซึ่งต้องจับตาดูในการแถลงของประธาน FED อย่างไรก็ดีในช่วงเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากประกอบกับในส่วนของในช่วงเวลา 01:30 น. ก็ยังคงเป็นการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธาน FED ที่จะมีการแถลงโดยเฉพาะการตอบคำถามของประธานธนาคารกลางสหรัฐ
คู่เงินที่สองที่สำคัญอย่างมากเช่นเดียวกันก็คือ USDJPY ซึ่งคู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยในช่วงสั้น จะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงของสกุลเงินเยนที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นแต่ถ้ามีการแถลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.200 แนวต้านที่สองก็คือ 110.382 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.570
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.923 แนวรับที่สองก็คือ 109.768 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.619
JPY อ่อนค่าระยะสั้นในเชิงเทคนิคสกุลเงินเยนเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นในเชิงเทคนิค
จากปัจจัยตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นตามทิศทางของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นโดยทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวสูงขึ้นดังนั้นในส่วน USDJPY อาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นเช่นเดียวกัน
โดยปัจจัยทางด้านเทคนิค USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นจากสองปัจจัยหลักก็คือในส่วนของดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับดัชนีดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้ ในสองวันที่ผ่านมามีการขยับตัวสูงขึ้น +0.39% และทำ. ระดับสูงสุดที่ 110.328 ซึ่งเป็นการขยับขึ้นในช่วงระยะสั้น ในการเคลื่อนไหวดังกล่าวควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 110.326 แนวต้านที่สองก็คือ 110.517 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.633
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.063 แนวรับที่สองก็คือ 109.879 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.521
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมาก : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริการวมทั้งจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์และดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนในสัปดาห์ถัดไป
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
รายงานการประชุม BOJ กับ USDJPYการวิเคราะห์ของราคา
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.34% และ EURJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.22% ประกอบกับ CADJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.79% สะท้อนให้เห็นว่าสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
โดยปัจจัยของคู่เงิน USDJPY ที่มีการฟื้นตัวขึ้นนั้นต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์ว่าจะสามารถแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจะมีการปรับตัวอ่อนค่าหรือไม่ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.930 แนวต้านที่สองก็คือ 110.126 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.314
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.526 แนวรับที่สองก็คือ 109.420 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.192
ดัชนียอดขายปลีกพุ่งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานสหรัฐขยับตัวสูงขึ้น
ในวันนี้ในช่วงเวลา 19:30 น. มีการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนมิถุนายนโดยเฉพาะการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 1.3% ครั้งก่อน -0.9% ประกอบกับมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน -1.7%
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นโดยคู่เงิน USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นถึงแม้ว่าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงก็ตาม จากในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.21% แนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.316 แนวต้านที่สองก็คือ 110.511 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.630
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.955 แนวรับที่สองก็คือ 109.880 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.744
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่กระทบจากดอลล่าร์ : ปัจจัยที่น่าจับตามองของดอลล่าร์ที่ยังคงต้องจับตาก็คือการแถลงของสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในสัปดาห์ถัดไปเพราะจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมากในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในสัปดาห์ถัดไปเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์กดดัน JPYตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยกดดันสกุลเงินเยนให้มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
ในรอบวันนี้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นตามทิศทางเดียวกันกับดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ โดยดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้น +2.12% ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในวันนี้การเปิดตลาดสหรัฐจะส่งผลให้มีการขยับตัวสูงขึ้นหรือไม่ต้องจับตาดูในระยะสั้น
โดยคู่เงิน USDJPY มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่ดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงมีการย่อตัวลงแต่ไม่ทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.274 แนวต้านที่สองก็คือ 110.582 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.751
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.887 แนวรับที่สองก็คือ 109.748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.567
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่น่าจับตามอง ในสัปดาห์ถัดไป : ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยทั้งเป็นแรงหนุนและแรงกดดันให้กับสกุลเงินเยนดังนั้นจับตามองทั้งสองปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด