AUD/USD : ระยะสั้นจะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินออสเตรเลียจะโดนกดดันจากดอลล่าร์อีกครั้งหรือไม่
ในช่วงระยะสั้นถึงระยะกลางดูเหมือนว่าสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นซึ่งเป็นเทรนด์ขาขึ้นหนึ่งด้วยในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการผันผวนระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการยกตัวแต่ในช่วงนี้เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.70842 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.70706 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70575
แต่ถ้ามีการขยับตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71109 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71342 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71430
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามทั้งสกุลเงินออสเตรเลียที่อาจจะมีความผันผวนภายในประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญและความผันผวนของตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์ที่อาจจะกดดันดอลล่าร์ให้มีความผันผวนในขณะนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ดอลล่าร์สหรัฐ
USD/JPY : จะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินเยนจะอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการกดดันจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวและดีตัวขึ้นเล็กน้อยจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 105.458 แนวต้านที่สองก็คือ 105.512 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 105.586
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 105.209 แนวรับที่สองก็คือ 1057137 แนวรับสุดท้ายก็คือ 105.083
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามทั้งในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะมีความผันผวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีความผันผวนในวันนี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
วิเคราะห์กราฟ usdchf 16/10/2563 มุมมองกราฟ usdchf มีการยก Low ขึ้นเรื่อย ๆ จากกราฟ H4 มีเเนวโน้มก่อตัวเป็น Wadge pattern เเละถ้าเบรคทะลุเเนวต้านได้ก้มีโอกาสขึ้นทดสอบ เเนวต้านราคา 0.91800-0.92200
📌 คำเตือน การลงทุนมีความเลี่ยง เเละการคาดการณ์นี้เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัว ที่อาจผิดพลาดได้ โปรดใช้วิจารณญาณในการนำไปใช้ต่อ เเล้วมาเทรดด้วยกันนะครับ 🛎📝
EUR/USD : จะดีดตัวขึ้นได้จริงหรือไม่สกุลเงินยูโรจะดีดตัวขึ้นหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรนั้นโดนกดดันอีกครั้งจากปัจจัยหนุนการเจรจากันระหว่างยุโรปและอังกฤษที่ออกมาในมุมมองเชิงบวกในระยะสั้นส่งผลทำให้มีการแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17607 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17669 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17817
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17473 แนวรับที่สองก็คือ 1.17332 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17283
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์อย่างต่อเนื่องเนื่องจากจะมีความผันผวนทั้งในตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์และปัจจัยภายนอกประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังต้องติดตามการเจรจากันระหว่างยุโรปและอังกฤษในวันถึงสองวันนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้นประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตาม กรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91136 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91277 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91339
แต่ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.90938 แนวรับที่สองก็คือ 0.90848 ซึ่งเป็นสองแนวรับที่สำคัญอย่างมาก
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญยังมากในตอนนี้ยังคงจะต้องติดตามปัจจัยหนุนที่ส่งผลทำให้ตลาดมีความผันผวนประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้นฟิวเจอร์ก็มักจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์และสกุลเงินฟรังก์สวิสมีความผันผวนเช่นเดียวกันจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : เริ่มมีการย่อตัวลงอีกครั้งสกุลเงินออสเตรเลียจะโดนกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นหลังจากที่สกุลดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อย โดยสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71875 เดี๋ยวรับที่สองก็คือ 0.71767 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71640
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72147 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72311 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72455
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่อาจจะมีความผันผวนอย่างมากประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีความผันผวนในสัปดาห์นี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
พี่ม้า พาเทรด - บทวิเคราะห์ประจำวัน GBPUSD 12 ตุลาคม 63ปัจจัยสำหรับสำหรับ สกุลเงินปอนดฺ และ ยูโร คงหนีไม่พ้น Brexit ที่ยังคงตกลงกันไม่ลงตัว แต่เวลานี้เป็นที่แน่นอนแล้วว่าอังกฤษจะออกจาก Brexit อย่างแน่นอน เหลือแค่ข้อตกลงที่จะออกมาแบบไหนเท่านั้น ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการแข็งขึ้น ชั่วคราวในเวลานีั้
สรุป - ปัจจัยสำคัญวันนี้ยังคงมองในหน้า BUY เพราะมีวอลลุ่ม BUY สูง บวกกับตลาดหุ้นยุโรปน่าจะเปิดตัวมาติดลบ น่าจะส่งผลทำให้ราคาคู่เงิน GBPUSD ขึ้นไปโซน D1 ที่ราคา 1.30800-1.31000 ทดสอบแนวต้านอีกครั้ง
USD/JPY : จะร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในช่วงนี้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เริ่มมีการปรับตัวร่วงลงจึงทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 105.653 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 105.556 แนวรับสุดท้ายก็คือ 105.471
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 105.754 แนวต้านที่สองก็คือ 1057855 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 105.913
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามทั้งสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีความผันผวนและอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : เริ่มมีการปรับตัวขึ้นเล็กน้อยสกุลเงินยูโรจะโดนกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงหลายชั่วโมงที่ผ่านมาซึ่งส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการดีดตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงโดนกดดันจากตลาดหุ้นฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17675 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17819 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17968
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงเดี๋ยวรอบแรกก็คือ 1.17254 แนวรับที่สองก็คือ 1.17051 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16944
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีการผันผวนโดยที่จะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาในวันนี้เวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยประกอบกับอาจจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ยังคงมีโอกาสร่วงลงต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการผันผวนและอาจจะมีการแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยจากปัจจัยที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91403 แนวรับที่สองก็คือ 0.91253 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91035
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91596 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91816 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91931
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์อย่างต่อเนื่องเนื่องจากในสัปดาห์นี้มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญอย่างต่อเนื่องของสหรัฐอเมริกาและจะมีการกล่าวนโยบายทางการเงินและสภาพเศรษฐกิจของประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาในสัปดาห์นี้ก็เช่นเดียวกันจึงอาจจะส่งผลทำให้มีความผันผวนในระยะสั้นของสกุลเงินดอลล่าร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/USD : จะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวพักตัวในระยะสั้นถึงแม้ว่าสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยประกอบกับในส่วนของสกุลอยู่ล่ะก็ยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงทำให้คู่เงินนี้ยังคงมีการพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.66525 แนวต้านที่สองก็คือ 0.66670 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.66804
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.66361 เดี๋ยวรับที่สองก็คือ 0.66199 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.66114
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการผันผวนอีกครั้ง ประกอบกับสกุลเงินนิวซีแลนด์อาจจะต้องติดตามในส่วนของความผันผวนจากปัจจัยในการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียในวันพรุ่งนี้เพราะอาจจะสร้างความผันผวนอย่างหนักเช่นเดียวกันจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : ยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียจะโดนกดดันหรือไม่
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการปรับตัวดีดตัวขึ้นระยะสั้นแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์นั้นยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้อาจจะยังคงมีการพักตัวระยะสั้นแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71922 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72026 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72154
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71689 แนวรับที่สองก็คือ 0.71555 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71445
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่อาจจะมีความผันผวนในการประกาศที่สำคัญของสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามปัจจัยหนุนอย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
หวยทองคำ 30/09/2020ทิศทางของราคาทองคำในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะมีปัจจัยหนุนไม่ว่าจะเป็นทั้งอัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ดูเหมือนจะเริ่มมีผลกับทิศทางของราคาทองคำอย่างต่อเนื่องโดยยังคงส่งสัญญาณมาพร้อมกันกับในส่วนของตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์และตลาดหุ้น S&P500
โดยในส่วนของตลาดหุ้นถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทองคำจะมีการขยับขึ้นไปในทิศทางเดียวกันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ถ้าเกิดมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทองคำก็จะมีการขยับตัวขึ้นซึ่งในตอนนี้ตามภาพอาจจะเห็นได้ว่า ทองคำเริ่มมีการขยับตัวร่วงลงเล็กน้อยหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันในส่วนของ ตลาดหุ้นเริ่มมีการปรับตัวร่วงลงอีกครั้ง
โดยสะท้อนให้เห็นว่านักลงทุนอ่ะเริ่มกังวลเรื่องเงินเฟ้ออีกครั้งและอาจจะมีมุมมองเศรษฐกิจอาจจะมีการหดตัวอีกครั้งในระยะสั้นจึงส่งผลทำให้ทองคำมีการย่อตัวลงอย่างเห็นได้ชัด
จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
โดยถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงแนวรับที่หนึ่งก็คือ 1881 แนวรับที่สองก็คือ 1878 แนวรับที่สามก็คือ 1875 แนวรับที่สี่ก็คือ 1873 แนวรับที่ห้าก็คือ 1869 แนวรับที่หกก็คือ 1866 แนวรับที่เจ็ดก็คือ 1864 แนวรับที่แปดก็คือ 1861 แนวรับที่เก่าก็คือ 1857 แนวรับที่ 10 ก็คือ 1851 แนวรับที่ 11 ก็คือ 1848
แต่ถ้าขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านแรกก็คือ 1885 แนวต้านที่สองก็คือ 1889 แนวต้านที่สามก็คือ 1892 แนวทางที่สี่ก็คือ 1895 แนวต้านที่ห้าก็คือ 1897 แนวต้านที่หกก็คือ 1899 แนวต้านที่เจ็ดก็คืน 1903 แนวต้านที่แปดก็คือ 1905 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1907
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของทองคำ
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญยังคงเป็นการประกาศตัวเลขสำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาหรือไม่กระทั่งวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาและอัตราการว่างานซึ่งสำคัญกับทิศทางของทองคำอย่างมากจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
EUR/USD : จะร่วงลงหรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะแข็งค่าหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์เริ่มมีการย่อตัวลงกดดันทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17180 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17036 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16691
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือหนึ่ง. 17482 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17677 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17950
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากก็คือสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีความผันผวนในการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาที่จะมีการประกาศวันศุกร์ที่จะถึงนี้ควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง ประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้มีการปรับตัวร่วงลงกดดันทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการขยับตัวแข็งค่าขึ้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92210 แนวรับที่สองก็คือ 0.92111 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91922
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92478 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92753 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92941
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้จำเป็นจะต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าในระยะสั้นประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องติดตามว่าตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จะมีการผันผวนในค่ำคืนนี้หรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : ยังคงมีการพักตัวอีกครั้งสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการผันผวนระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวผันผวนในมุมมองของการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังไม่มีปัจจัยหนุนที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์หรือปัจจัยหนุนจากดอลล่าร์จึงส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70609 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70768 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71008
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70326 แนวรับที่สองก็คือ 0.70095
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามทั้งปัจจัยหนุนในหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็นทั้งตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์และการพบกันระหว่างประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์กับโจใบเด้นซึ่งอาจจะส่งผลสำคัญอย่างมากสำหรับทิศทางของดอลล่าร์จึงควรติดตามในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/USD : ยังคงมีโอกาสขยับลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์จะกดดันได้หรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหนึ่งจ๋าในส่วนของ สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกันกดดันทำให้สกุลเงินปอนด์เทียบกับดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงแต่ต้องติดตามปัจจัยของสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้เพราะอาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.26961 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.26733 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26513
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27309 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27629 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28100
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงมีโอกาสผันผวนจากการเจรจากันระหว่างยุโรปและอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญและความผันผวนจากโควิด-19
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CAD : ยังคงมีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการแข็งค่าขึ้นโดยที่สกุลเงินแคนาดาก็ยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงหลังจากที่ตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.34229 แนวต้านที่สองก็คือ 1.34411 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.34482
แต่ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.33994 แนวรับที่สองก็คือ 1.33775 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.33616
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้นฟิวเจอร์ ที่ยังคงคอยกดดันสกุลเงินแคนาดาอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิดในวันนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ยังคงมีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงทั้งปัจจัยลบไม่ว่าจะเป็นทั้งในฝั่งของความเห็นลบจากบางสื่อสำนักที่จะได้ให้ความเห็นในบางธนาคารใหญ่ของสหรัฐอเมริกาที่มีทุรกรรมทางการเงินที่ไม่ชอบด้วยความเป็นธรรมและไม่ชอบมาพากลจึงส่งผลทำให้ตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลง กดดันทิศทางของสกุลเงินดอลล่าร์ให้มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91633 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91799 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91885
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91395 แนวรับที่สองก็คือ 0.91255 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.91037
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามทั้งสองสกุลเงินไม่ว่าจะเป็นสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีความผันผวนในค่ำคืนนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสแนะนำติดตามในการ หลังต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาและสภาคองเกรส
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : เริ่มมีโอกาสร่วงลงอีกครั้งสกุลเงินออสเตรเลียโดนกดดันอีกครั้ง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกดดันทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงจึงทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72037 แนวรับที่สองก็คือ 0.71909
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72273 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72469 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72657
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะการแถลงต่อสภาคองเกรส ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการประกาศที่สำคัญในสัปดาห์นี้จึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : จะขยับตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินเยนจะกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการพักตัวประกอบกับมีส่วนของสกุลเงินเยนเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 104.858 แนวต้านที่สองก็คือ 104.977 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 105.144
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 104.658 แนวรับที่สองก็คือ 104.533
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามในส่วนของทางตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดว่าจะมีความผันผวนอย่างไรในการประกาศตัวเลขสำคัญในวันนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
หวยทองคำ 18/09/2020ความผันผวนของทิศทางทองคำในตอนนี้เทียบกับสกุลดอลล่าร์ยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นซึ่งในหลายชั่วโมงที่ผ่านมามีการพักตัวอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าทิศทางของตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์ยังคงมีความผันผวนเล็กน้อย
ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงจะคงอยู่ในระดับ -1.29 ซึ่งยังคงพักตัวอยู่ในช่วงนี้แน่นอนว่าคงจะรอปัจจัยหนุนที่สำคัญในระยะสั้น
ประกอบกับ ดัชนีความกลัวของทองคำมีการขยับตัวร่วงลงอยู่ที่ 19.95 สะท้อนให้เห็นว่านักลงทุนเริ่มลดความกังวลของทิศทางราคาทองคำที่มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเรียบร้อยแล้วอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับทิศทางทองคำและอาจจะมีการขยับขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะสั้น
อย่างไรก็ตามโดยธรรมชาติทิศทางทองคำอาจจะยังคงมีความผันผวนในการประกาศตัวเลขที่สำคัญและปัจจัยหนุนอื่นแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสามารถทะลุ 1948 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1949 แนวต้านที่สามก็คือ 1951 แนวต้านที่สี่ก็คือ 1955 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1957
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1943 แนวรับที่สองก็คือ 1939 แนวรับที่สามก็คือ 1934 แนวรับที่สี่ก็คือ 1930 แนวรับตีห้าก็คืน 1925 เดี๋ยวรับที่หกก็คือ 1923 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1920
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของทองคำ ยัวควคงต้องติดตามประเด็นของวัคซีนโควิด-19 ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการสามารถใช้งานได้จริงทองคำอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างหนักประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้นดาวโจนส์ฟิวเจอร์ซึ่งในตอนนี้ยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นอาจจะกดดันทิศทางของทองคำได้อย่างต่อเนื่อง
GBP/USD : จะขยับขึ้นอีกต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์มีโอกาสแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งที่ในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัว แข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทะลุ 1.29756 แนวต้านที่สองก็คือ 1.30037 แนวต้านที่สามก็คือ 1.30237 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.30448
แต่ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.29373 แนวรับที่สองก็คือ 1.29076 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.28779
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามทั้งในส่วนของสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการเจรจากันระหว่างยุโรปและอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามเพราะดูเหมือนว่ามีความผันผวนอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด