USD/JPY : เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่มีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาออกมาในมุมมองเชิงบวกส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นตัวกลับกับตลาดหุ้น Nikkei เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นแต่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 110.733 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 110.869 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.961
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.391 แนวรับที่สองก็คือ 10.815 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.936
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึง ในสัปดาห์ถัดไปจำเป็นจะต้องติดตามว่าในส่วนของสกุลดอลล่าร์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหรือไม่ประกอบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาจะมีการขยับตัวสูงขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหรือไม่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ดอลล่าร์สหรัฐ
USD/CHF : จะย่อตัวได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะโดนกดดันอีกหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงอีกครั้งหลังจากที่ ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการขยับตัวร่วงลงส่งผลทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.94085 แนวรับที่สองก็คือ 0.93873 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.93775
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.94330 แนวต้านที่สองก็คือ 0.94579 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.94672
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : ยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียยังคงพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการพักตัวเช่นเดียวกันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงไร้ปัจจัยหนุนและปัจจัยกดดันจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.76200 แนวรับที่สองก็คือ 0.76047 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.75688
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.76531 แนวต้านที่สองก็คือ 0.76815 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.77127
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากในช่วงนี้ประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐจะส่งผลทั้งสกุลเงินออสเตรเลียและสกุลเงินดอลล่าร์เช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
Elliott wave by Eaw อัพเดทค่าเงินบาท ที่ดูไว้เมื่อวันที่ 21/12/6
จากที่นับคลื่นไว้คาดการณ์ไว้ว่าเป็น Neutral Triangle แต่ตลาดเฉลยออกมาน่าจะเป็น Zigzag ธรรมดาไม่ได้เป็น Triangle คลื่นย่อย c เป็น double combination ตอนนี้ retrace อยู่ที่ 61.8% ซึ่งหนังสือบอกไว้ว่า double combination จะไม่ retrace มากกว่า 80% ก็จะอยู่ที่ 31.36
EUR/USD : ร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ดูเหมือนว่ายังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ได้รับแรงกดดันมาจากตลาดที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกก็คือ 1.18360 แนวรับที่สองก็คือ 1.18158 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17992
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18719 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18875 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19043
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึง สกุลเงินดอลล่าร์ที่ดูเหมือนว่าอาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องติดตามว่าสัปดาห์นี้จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : เริ่มมีการปรับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการเตรียมตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.93439 แนวต้านที่สองก็คือ 0.93600 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.93735
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.93234 แนวรับที่สองก็คือ 0.93047 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92895
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่จำเป็นจะต้องติดตามในสัปดาห์นี้ว่าจะมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : มีการขยับตัวขึ้นเล็กน้อยสกุลเงินออสเตรเลียแข็งค่าขึ้นเล็กน้อย
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้อยู่คงมีการขยับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นก็ทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77564 แนวต้านที่สองก็คือ 0.77688 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.77940
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.77378 แนวรับที่สองก็คือ 0.77173 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.77039
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการแถลงของประธานธนาคารกลางสหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในสภาคองเกรส ในสองวันนี้จึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เริ่มพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นถึงแม้ว่าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ที่มีการปรับตัวร่วงลงทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้นแต่ยังคงพักตัวซึ่งทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวเพียงอยู่ในกรอบเท่านั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.007 แนวต้านที่สองก็คือ 109.074 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.213
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.821 แนวรับที่สองก็คือ 108.648 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.511
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการผันผวนของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกอบกับที่สุดของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/USD : อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นอีกครั้งสกุลเงินปอนด์อาจจะมีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่กันี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวแข็งค่าขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.39962 แนวต้านที่สองก็คือ 1.40334 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.40646
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.39424 ในรอบที่สองก็คือ 1.39148 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.38857
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยหนุนรอย่างต่อเนื่องกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
อาจารย์เซ็นเตอร์วิเคราะห์ราคา GBP/USD ประจำวัน 17/3/21technical วิ่งตามกรอบของเทรนขาขึ้น แต่จุดสำคัญคือราคฝั่งขาขึ้นติดแนวต้านโซนใหญ่ 1.42400 ยังไม่สามารถผ่านทะลุไปได้
กราฟ D1 เริ่มมีการปรับตัวร่วงลงมาอย่างต่อเนื่อง ที่สำคัญดอลล่าเริ่มมีการฟื้นตัวแข็งค่าขึ้นจึงอาจทำให้ราคาช่วงนี้อาจจะร่วงลงระยะสั้น แต่ถ้าราคาสามารถหลุดลงไปที่ลูกศรสีแดงที่ผมตีไว้จะเป็นการกลับตัวไปสู่ขาลงอีกครั้ง
ส่วนตัวยังมองว่าจะลงเพราะผลกระทบจากดอลล่ากดดอลสกุลเงินปอนด์
USD/CHF : เริ่มย่อตัวลงอีกครั้งสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นซึ่งต้องติดตามว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92641 แนวรับที่สองก็คือ 0.92477 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92350
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92846 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92969 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.93110
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในค่ำคืนนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญเช่นเดียวกันในค่ำคืนนี้ของสหรัฐอเมริกา
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : เริ่มมีการดีดตัวขึ้นอีกครั้งสกุลเงินออสเตรเลียแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการย่อตัวลงแต่ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77712 แนวต้านที่สองก็คือ 0.77927 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.78081
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกก็คือ 0.77481 แนวรับที่สองก็คือ 0.77320 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.77121
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่อาจจะมีความผันผวนรวมทั้งติดตามสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของดอลลาร์ต้องติดตามในสัปดาห์นี้เพราะจะมีการประกาศเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
พยากรณ์ทองคำ (11/03/2021): สถานการณ์รั้น - ซื้ออีกครั้งหลายท่านได้เข้าสู่ขีด จำกัด BUY ที่ 1678 เหมือนกับสิ่งที่ฉันแบ่งปันในบัญชีกองทุน JQKA และตอนนี้เราทุกคนต่างตื่นเต้นกับเป้าหมายกำไร 700 - 1,000 pip
ตกลง! ยินดีด้วย. แต่ระวัง. เมื่อคุณตื่นเต้นมีโอกาสสูงที่คุณจะแพ้ ดังนั้นฉันขอย้ำ: ลดขนาด (ทำกำไร½) เพื่อรักษาเงินที่คุณได้รับ
มุมมองวันที่: 173x ปรากฏขึ้น
ถ้า 171x คือตำแหน่งของ TP1 ดังนั้น 173x ก็คือตำแหน่งของ TP2 มีเขตอุปสงค์ - อุปทานมาบรรจบกับขาลง (เส้นสีเหลือง) น่าจะมีปฏิกิริยา แต่ฉันไม่คิดว่ามันจะลดลงเหลือ 167 เท่า
นี่คือสิ่งที่ฉันคาดหวังสำหรับคลื่นทองคำนี้ ตรงไปที่ 18xx ในอีก 1 เดือนข้างหน้า
คำถามตอนนี้คือคุณเชื่อใน infinity-TP หรือไม่? ราคาที่ตลาดอาจไม่พลิกกลับในปีนี้?
กราฟแท่งเทียนรายสัปดาห์: นี่คือสิ่งที่เรากำลังดู และสิ่งที่เรียกว่า infinity-TP จะได้รับคำตอบจากตลาดเอง
มุมมองแผนภูมิ 4h: การซื้อขาย
หากคุณซื้อขายทองคำออนไลน์นี่คือตำแหน่งที่ฉันทำนาย แน่นอนว่าผู้ที่ถือสถานะ BUY จะยังคงซื้อต่อไป อย่าขาย หากคุณต้องการข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อฉันเพื่อเข้าสู่กลุ่ม JQKA
USDindex
ฉันวาดสองโซนการคาดการณ์ว่าดอลลาร์จะกลับมา ส่วนเรื่องราวหลังจากนั้นเราจะพูดถึงในภายหลัง
อภิปรายผล
ข่าวกระทบราคา? ฉันไม่รู้เพราะฉันไม่ได้อยู่ในโรงเรียนนั้น เนื่องจากฉันเชื่อว่าราคาได้สะท้อนให้เห็นทั้งหมดแล้วสิ่งที่ฉันต้องทำคือ: ระบุโซนที่สำคัญจริงๆเพื่อทำการสั่งซื้ออย่างถูกต้อง
ดังนั้นหากคุณมีคำถามใด ๆ เกี่ยวกับข่าว NONFARM หรือ CPI และแพ็คเกจ 1900 พันล้าน ... ฉันไม่รู้จะตอบอย่างไร
เสร็จแล้ว แค่นั้นแหละ!
EUR/USD : อาจมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจมีการปรับตัวอ่อนค่าลง
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.19033 แนวต้านที่สองก็คือ 1.19255 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19581
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18728 แนวรับที่สองก็คือ 1.18515 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18372
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ติดตามการประกาศอัตราเงินเฟ้อเนื่องจากว่าอัตราเงินเฟ้อในการประกาศของสหรัฐอเมริกาจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์ดังนั้นอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนอย่างต่อเนื่องและระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : จะย่อตัวได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงอีกครั้งหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.93154 แนวรับที่สองก็คือ 0.92863 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.92636
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.93604 แนวต้านที่สองก็คือ 0.93896 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.94030
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต้องติดตามดอลล่าร์อย่างใกล้ชิดเนื่องจากว่าดอลล่าร์ยังคงมีแรง กดดันจากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐจะมีการปรับตัวร่วงลงจึงต้องติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ElliotwavebyEaw วิเคราะห์ DXY ดอลลาร์สหรัฐจะกลับไปดอยเดิม ?ดอลลาร์สหรัฐ ชุดแรกทำรูปแบบ Correction Flat แล้วตอนนี้พักฐานด้วยปแบบ Sall x-wave จบแล้วกำลังจะขึ้นชุดสองอาจจะเป็น Flat เหมือนชุดแรก
น่าจะเป็น Non- standard ประเภท double flat โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ดอยเดิม 120 เหรียญ การขึ้นของดอลลร์สหรัฐอาจจะกดดันให้ทองคำเป็นขาลงยาวนาน
AUD/USD : ยังคงมีโอกาสร่วงลงระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกดดันทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับแรกก็คือ 0.76476 แนวรับที่สองก็คือ 0.76225
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.76755 แนวต้านที่สองก็คือ 0.77099 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.77296
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต้องติดตามดอลล่าร์อย่างต่อเนื่องเนื่องจากจะกดดันทั้งออสเตรเลียและส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนในระยะสั้นและติดตามในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 108. 5.6 แนวต้านที่สองก็คือ 108.924 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.225
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.259 แนวรับที่สองก็คือ 108.880 แนวรับสุดท้ายก็คือ 107.598
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะผันผวนในทิศทางของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CAD : ยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นเนื่องจากในส่วนของดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ในส่วนของสกุลเงินแคนาดายังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นบ้างเล็กน้อยเช่นเดียวกันทำให้คู่เงินนี้มีการพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.26745 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26918 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27111
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26364 แนวรับที่สองก็คือ 1.26109 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.25920
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นเนื่องจากในวันพรุ่งนี้จะมีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาจึงควรติดตามอย่างมากเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : อาจมีการขยับตัวขึ้นระยะสั้นดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากปัจจัยดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91911 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92026 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92124
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91683 แนวรับที่สองก็คือ 0.91541 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91436
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นบ้างเล็กน้อยประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องตามปัจจัยตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามอย่างมากในวันนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/USD : มีการเร่งตัวขึ้นระยะสั้นสกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มแข็งค่าระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นตามปัจจัยของเงินหยวนที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์เริ่มมีการพักตัวในช่วงนี้จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้าเกิดมีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73020 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73204 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73552
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72228 แนวรับที่สองก็คือ 0.72044 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71925
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามในส่วนของสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมากในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : เริ่มมีการขยับขึ้นเล็กน้อยสกุลเงินออสเตรเลียเริ่มแข็งค่าขึ้นเล็กน้อย
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องระยะสั้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียเริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77852 แนวต้านที่สองก็คือ 0.78074 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.78370
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.77287 แนวรับที่สองก็คือ 0.76939
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียในวันอังคารนี้ประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USDติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีโอกาสขยับตัวขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์มีโอกาสแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 106.525 แนวต้านที่สองก็คือ 106.693 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 106.864
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 106.252 แนวรับที่สองก็คือ 106.072 แนวรับสุดท้ายก็คือ 105.953
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะยังคงผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาอายุ 10 ปีประกอบกับในค่ำคืนนี้มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลา 20:30 น. จึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด