PMI ภาภาคการบริการจาก ISMการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 22:00 น. จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกาถึงนักลงทุนต่างจับตามองว่าในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนเพราะนักลงทุนต่างจับตามองว่าถ้ามีการประกาศออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์อาจจะทำให้ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาอาจจะต้องชะลอการลดขนาด QE หรือไม่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกาในการประกาศประจำเดือนพฤศจิกายนนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 65.0 ครั้งก่อน 66.7 และจะมีการประกาศเดี๋ยวชะนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนพฤศจิกายน เช่นเดียวกันโดยที่จะมีการคาดการณ์ออกมาในระยะสั้นแต่ยังไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์โดยที่ครั้งก่อนอยู่ที่ 57.0
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนดังนั้นคู่เงินที่สำคัญที่อาจจะมีความผันผวนก็คือ USDCHF จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92192 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92474 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92698
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91864 แนวรับที่สองก็คือ 0.91707 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91608
ดอลล่าร์สหรัฐ
จับตาการประกาศ NFPการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรซึ่งสำคัญอย่างมาก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:30 น. จะมีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนรวมทั้งเฉลี่ยต่อสัปดาห์ซึ่งอาจจะเป็นปัจจัยที่จะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์หลายสำนักได้มีการคาดการณ์ในหลายรูปแบบโดยเฉพาะอัตราการว่างานประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 4.5% ครั้งก่อน 4.6% โดยในฝั่งของอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 550K ครั้งก่อน 531K จับตาดูว่าจะส่งผลกระทบถึงดอลล่าร์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะส่งผลกระทบให้กับสกุลเงินดอลล่าร์อย่างชัดเจนโดยที่ค่าเงินที่สำคัญก็คือ EURUSD พี่จะมีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.12861 แนวรับที่สองก็คือ 1.12588 ในรับสุดท้ายก็คือ 1.12169
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.13419 แนวต้านที่สองก็คือ 1.13769 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.14205
Fed’s Mester ต้องการให้ Taper เร็วขึ้นFed’s Mester เปิดให้ Taper เร็วขึ้นเพื่อชิงพื้นที่เพื่อขึ้นอัตราดอกเบี้ย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ประธานธนาคารกลางสหรัฐแห่งคลีฟแลนด์กล่าวว่าเธอ “เปิดกว้างมาก” ในการปรับลดการซื้อสินทรัพย์ของเฟดด้วยอัตราที่เร็วขึ้น เพื่อให้สามารถขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้สองครั้งในปีหน้าหากจำเป็น
“การทำให้เรียวเร็วขึ้นคือการซื้อประกันและทางเลือก ดังนั้นหากอัตราเงินเฟ้อไม่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในปีหน้า เราก็อยู่ในฐานะที่จะสามารถขึ้นได้ถ้าจำเป็น” เมสเตอร์กล่าวในการให้สัมภาษณ์กับ Kathleen Hays เกี่ยวกับ Bloomberg ทีวีวันพุธ. เธอกล่าวว่าข้อมูลล่าสุด “ได้สนับสนุนกรณีดังกล่าว ดังนั้นฉันจึงเปิดกว้างมากที่จะพิจารณาการเรียวที่เร็วขึ้น”
ธนาคารกลางสหรัฐกำลังกำหนดที่จะยุติโครงการซื้อสินทรัพย์ในช่วงกลางปี 2565 ภายใต้แผนงานที่ประกาศเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนเพื่อชะลอการซื้อ 15 พันล้านดอลลาร์ต่อเดือน แต่เฟดสามารถลงคะแนนให้เร่งกระบวนการเรียวเพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งได้เร่งตัวขึ้นในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาและมีความต่อเนื่องมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ ซึ่งรวมถึงที่ธนาคารกลางเคยคาดไว้ด้วย
การคาดหวังในครั้งนี้?
“ตอนนี้ด้วยข้อมูลอัตราเงินเฟ้อที่เป็นอยู่และด้วยตลาดงานที่แข็งแกร่งเท่าที่เป็นอยู่ ฉันคิดว่าเราต้องอยู่ในตำแหน่งที่หากเราต้องขึ้นอัตราสองครั้งในปีหน้าเราจะ สามารถทำเช่นนั้นได้” เมสเตอร์ผู้โหวตนโยบายในปีหน้ากล่าว
เมื่อถูกถามว่าเธอชอบที่จะเร่งให้เรียวเพื่อให้สิ้นสุดในเดือนมีนาคมหรือไม่ Mester กล่าวว่าตอนนี้ เธอจะสนับสนุนการยุติข้อตกลงในช่วงไตรมาสแรกหรือต้นไตรมาสที่สอง “จากสิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ”
ประธานเฟดเจอโรมพาวเวลล์กล่าวเมื่อต้นวันพุธว่า "เป็นการเหมาะสมที่เราจะพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไปให้ลดลงเร็วขึ้นเพื่อให้สรุปได้ไม่กี่เดือนก่อนหน้านี้" ผู้กำหนดนโยบายจะพบกันในวันที่ 14-15 ธันวาคม
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะ USDJPY ซึ่งถ้าเกิดมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.290 แนวต้านที่สองก็คือ 113.567 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 113.941
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 112.952 แนวรับที่สองก็คือ 112.759 แนวรับสุดท้ายก็คือ 112.614
จับตาการประกาศรัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตสหรัฐของ ISMจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 22:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศสายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีการจ้างงานภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มรวมทั้งคำกล่าวของประธานธนาคารกลางยุโรปและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกอบกับในส่วนของจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตจากสถาบัน ไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกา
การคาดหวังในครั้งนี้?
การคาดหวังในครั้งนี้ต้องเข้าใจว่าอาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้นเท่านั้นโดยที่ในการประกาศรายการประกาศอาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นหรือเรียกว่าแข็งค่าขึ้นแต่ก็ต้องจับตาดูว่าถ้ามีการประกาศ surprise ของตลาดอาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงนี่คือการวิเคราะห์และการคาดหวังว่าในอนการคาดหวัในอนาคตจะเป็นอย่างไร
การวิเคราะห์ของราคา
คู่เงินที่น่าจับตามองในระยะสั้นในช่วงนี้ก็คือ USDJPY อาจจะมีการฟื้นตัวระยะสั้นต้องจบตา ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์
ถ้าเกิดมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.539 แนวต้านที่สองก็คือ 113.949 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.370
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.020 แนวรับที่สองก็คือ 112.623 แนวรับสุดท้ายก็คือ 112.235
NZDUSD ประจำวันที่ 2/12/64NZDUSD ประจำวันที่ 2/12/64
H4
- RSI : Sideway
- Sto : Overbought
- เทรน ขาลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
M30
- RSI : Hidden divergence ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
M15
- RSI : ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Sto : Super Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
ดัชนีจีดีพีของแคนาดากับ CADจับตาการประกาศดัชนีจีดีพีของแคนาดากับค่าเงินแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ดัชนีจีดีพีของแคนาดาที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 20:30 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศในครั้งนี้จะมีการประกาศทำให้ค่าเงินแคนาดามีความผันผวนหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
การคาดหวังเลยครั้งนี้จะมีอยู่หลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศเทียบปีต่อปีของดัชนีจีดีพีถึงการประกาศในครั้งนี้ประกอบกับในส่วนของการประกาศดัชนีไตรมาสไตรมาสประจำใจมาสที่สามดังนั้นจับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้ค่าเงินแคนาดามีความผันผวนโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศดัชนีจีดีพีเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 0.4% โดยการประกาศดัชนีจีดีพี ในรอบปีประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสไตรมาสนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.0% ครั้งก่อน -1.1%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินแคนาดามีความผันผวนโดยเฉพาะ USDCAD ที่จะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27729 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27920 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28232
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27252 แนวรับที่สองก็คือ 1.27025 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26643
เงินเฟ้อกลุ่มยูโรโซนสำคัญอย่างมากจับตาการประกาศเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซนประจำเดือนพฤศจิกายน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
17:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซนไม่ว่าจะเป็นทั้งในการประกาศอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนละปีละปีซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนอย่างไรก็ตามอัตราเงินเฟ้ออาจจะเป็นปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้ธนาคารกลางยุโรปอาจจำเป็นที่จะต้องใช้นโยบายทางการเงินดังนั้นควรจับตาในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของการประกาศจะมีสองการประกาศที่สำคัญที่นักลงทุนต่างจับตามองก็คือในส่วนของการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคหรืออัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนโดยไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์รแต่ครั้งก่อนอยู่ที่ 0.8% ซึ่งอีกหนึ่งปัจจัยที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากก็คือดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีหรืออัตราเงินเฟ้อเทียบปีต่อปีโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.5% ครั้งก่อน 4.1% ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการผันผวนอย่างไรของค่าเงินยูโร
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURJPY อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 128.415 แนวต้านที่สองก็คือ 128.732 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 128.987
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 128.008 แนวรับที่สองก็คือ 127.729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 127.494
จับตาการว่างานของเยอรมนีค่าเงินยูโรอาจจะมีความผันผวนจากการประกาศอัตราการว่างานของเยอรมนี
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการว่างานของเยอรมนีประจำเดือนพฤศจิกายนรวมทั้งอัตราการว่างานของเยอรมนีประจำเดือนพฤศจิกายนซึ่งอาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นของค่าเงินยูโรดังนั้นจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการว่างงานในเยอรมนีประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -25
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.12912 แนวต้านที่สองก็คือ 1.13229 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.13433
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.12596 แนวรับที่สองก็คือ 1.12471 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.12165
PMI ภาคการผลิตของจีนส่งผลกระทบหลายปัจจัยดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนอาจจะทำให้ค่าเงินหยวนผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนรวมทั้งดัชนี Composite PMI ของจีนในช่วงเวลา 08:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศที่สำคัญในระยะสั้นประกอบกับจะมีการประกาศรัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อนอกภาคการผลิตของจีนที่มีการสำรวจจาก PME โดยที่มีการสำรวจในเดือนพฤศจิกายนดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศอย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการผันผวนของค่าเงินหยวนยังคงต้องเฝ้าจับตามองการประกาศตัวเลขที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 49.6 ครั้งก่อน 49.2 ประกอบกับดัชนีพีเอ็มไอ Composite ของจีนที่ครั้งก่อนอยู่ที่ 50.8 และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อนอกภาคการผลิตครั้งก่อนอยู่ที่ 52.4 ซึ่งถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือมากกว่าการคาดการณ์และครั้งก่อนอาจจะทำให้ค่าเงินหยวนมีการแข็งค่าทำให้สกุลเงินออสเตรเลียและสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจับตาดูการประกาศตัวเลขนี้สำคัญมาก
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้จะทำให้ในฝั่งของคู่เงิน USDCNH มีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 6.3917 แนวต้านที่สองก็คือ 6.3956 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 6.3995
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 6.3853 แนวรับที่สองก็คือ 6.3820 แนวรับสุดท้ายก็คือ 6.3786
AUDUSD 29-11-64AUDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
NZDUSD 29-11-64NZDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : D-
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
USDJPY 26/11/64 USDJPY ประจำวันที่ 26/11/64
H4
- Demand Zone keylevel
- RSI : Sideway
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
H1
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M30
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M15
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
EURUSD 26-11-64EURUSD ประจำวันที่ 26-11-64
H4
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาขึ้น***
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> Neutral ระวังได
H1
- RSI : Overbought
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Overbought
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ลง
M5
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
กรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้นกรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
สมาชิกคณะกรรมการคนใหม่ของ Bank of Japan กล่าวว่า เธอได้เห็นการค่อยๆ เกิดขึ้นของแนวโน้มราคาที่สูงขึ้นในประเทศที่มีการจับตาอย่างใกล้ชิด แม้ว่าธนาคารจะคงมาตรการกระตุ้นการเงินไว้ก็ตาม
ราคาผู้บริโภคของญี่ปุ่น “ดูเหมือนจะไม่อยู่ที่ศูนย์ตลอดไป” สมาชิกคณะกรรมการ Junko Nakagawa กล่าวเมื่อวันพุธในการสนทนาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสัมภาษณ์ชุดแรกของเธอตั้งแต่เข้าร่วมธนาคารในเดือนมิถุนายน “ความกดดันที่สูงขึ้นกำลังเพิ่มขึ้นเล็กน้อย”
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคิดเห็นของ Nakagawa ชี้ให้เห็นว่าเธอและเพื่อนร่วมงานเห็นว่าอัตราเงินเฟ้อของญี่ปุ่นเริ่มกลับมาคึกคักอีกครั้ง แม้ว่าพวกเขาจะยึดมั่นในมุมมองที่ว่าต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่ราคาจะขึ้นจะบรรลุเป้าหมายที่ 2% ของธนาคาร
ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สูงขึ้นได้ช่วยวัดราคาผู้บริโภคที่สำคัญของญี่ปุ่นในช่วงสองเดือนที่ผ่านมาเป็นครั้งแรกในรอบกว่าหนึ่งปี แต่การเพิ่มขึ้นนั้นห่างไกลจากราคาที่พุ่งขึ้นซึ่งต้องเผชิญกับเศรษฐกิจอื่นและธนาคารกลาง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามในปัจจัยนี้และในข่าวนี้อาจจะต้องจับตาดูว่าจะทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน USDJPY อย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 115.908 แนวต้านที่สองคือ 116.294 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 116.584
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 115.128 แนวรับที่สองก็คือ 114.906 แนวรับสุดท้ายก็คือ 114.603
AUD/USD : ปัจจัยทางด้านเทคนิคอาจมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นแต่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิดซึ่งอาจจะยังคงมีความเป็นไปได้ที่อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นแต่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกัน
โดยถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73664 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73859 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74051
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73381 แนวรับที่สองก็คือ 0.73234 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72917
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของค่าเงินสกุลออสเตรเลียก็คือความเป็นไปได้ของความผันผวนของสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องเฝ้าจับตามองในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของดัชนียอดขายปลีกที่จะมีการประกาศในครั้งนี้
จับตาดัชนียอดขายปลีกสหรัฐจับตาการประกาศดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริกา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกายังคงต้อง เฝ้าจับตามองอย่างมากเนื่องจากว่าจะมีการประกาศออกมาและเป็นการประกาศตัวเลขที่สำคัญที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนนั้นจะมีการฟื้นตัวขึ้นได้จริงหรือไม่โดยเฉพาะการฟื้นตัวขึ้นของอัตราเงินเฟ้อโดยที่การประกาศยอดขายปลีกต้องมีการฟื้นตัวขึ้นไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราเงินเฟ้อต้องจับตาดูอย่างมาก
\
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ในหลายภาคส่วนแต่สิ่งที่น่าสนใจจะมีการประกาศออกมาดังนี้ การประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะมีการประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน 0.8% ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ประกอบกับในส่วนของการประกาศดัชนียอดขายปลีกที่เบนตัวเดียวประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.2% ครั้งก่อน 0.7% ซึ่งจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทุกคู่เงินที่เทียบกับดอลล่าร์และโครงการที่สำคัญก็คือ USDCHF โดยในคู่เงินนี้อาจจะเป็นปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่จะต้องจับตามองอย่างมากจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
\
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92336 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92472 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92641
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92026 แนวรับที่สองก็คือ 0.91889 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91790
USD/CAD : ทางด้านเทคนิคอาจพักตัวระยะสั้นสกุลเงินแคนาดายังคงมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ทั้งสกุลเงินดอลล่าร์มีการพักตัวถึงแม้ว่าสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ก็ไม่ส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงแต่อย่างใดดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลง แนวรับแรกก็คือ 1.24342 แนวรับที่สองก็คือ 1.24168 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.23936
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.24600 แนวต้านที่สองก็คือ 1.24759 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24939
จับตาการประกาศสำคัญของสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อและผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนตุลาคมทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนระยะสั้นและระยะกลางต้องจับตาดูสองการประกาศนี้โดยเฉพาะการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรืออัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาเทียบเดือนต่อเดือนต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
การคาดหวังในครั้งนี้?
การประกาศอัตราเงินเฟ้อในครั้งนี้นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ได้ว่าการประกาศอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนตุลาคมเทียบเดือนต่อเดือนจะประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน 0.4% และดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.2%
รวมทั้งจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงาน ครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกประกาศออกมา 265K ครั้งก่อน 269K จับตาดูว่าจะเป็น ตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15676 แนวรับที่สองก็คือ 1.15538 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15269
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15986 แนวต้านที่สองก็คือ 1.16138 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.16256
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
[USDJPY] - คาดการณ์ราคาคู่เงิน USDJPY23/10/64
คลื่น 1 ในขาลงจบด้วย Leading Diagonal
23/10/64 เป็นต้นมา
ปรับตัวไซเวย์ออกข้าง คาดว่าจะเป็นflat
. . .หากเป็นการปรับตัวเพื่อลงต่อ
จะต้องไม่ทำนิวไฮ
คำอธิบายอื่นๆ อยู่บนภาพที่แสดงเเล้วครับ
ขอบคุณครับ
ปล.ผมลองพยายามอธิบายแบบคนมีความรู้ แต่. .ก็ทำไม่ได้ :P
โชคดีครับ สตินำพา
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
"พาวเวล" ส่งสัญญาณเฟดไม่เร่งขึ้นดอก"พาวเวล" ส่งสัญญาณเฟดไม่เร่งขึ้นดอกเบี้ย รอตลาดแรงงานขยายตัวเต็มศักยภาพ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
นายเจอโรม พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ได้แถลงต่อสื่อมวลชนภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมนโยบายการเงินเมื่อคืนนี้ว่า เฟดสามารถอดทนต่อการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย พร้อมกับกล่าวว่าเฟดจะเริ่มปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในเดือนนี้ แม้มีความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้นก็ตาม
คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน (FOMC) ของเฟดประกาศว่าจะปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) เดือนละ 15,000 ล้านดอลลาร์ เริ่มตั้งแต่เดือนพ.ย. โดยเฟดจะปรับลดวงเงินซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐเดือนละ 10,000 ล้านดอลลาร์ และปรับลดวงเงินซื้อตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจำนอง (MBS) เดือนละ 5,000 ล้านดอลลาร์
การคาดหวังในครั้งนี้?
"การตัดสินใจปรับลดวงเงิน QE ในการประชุมครั้งนี้ ไม่ได้แปลว่าเรากำลังส่งสัญญาณเกี่ยวกับนโยบายอัตราดอกเบี้ย เราจะยังคงทำการทดสอบภาวะเศรษฐกิจอย่างเข้มงวดมากขึ้น ก่อนที่จะตัดสินใจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย โดยเงื่อนไขที่จะนำไปสู่การปรับขึ้นดอกเบี้ยคือการที่ตลาดแรงงานขยายตัวอย่างเต็มศักยภาพ ทั้งในแง่ของตัวเลขจ้างงานและอัตราการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน"
"เราไม่คิดว่า ขณะนี้เป็นเวลาที่จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย และหากเราสามารถสรุปได้ว่า จำเป็นต้องทำเช่นนั้น เราจะใช้ความอดทน แต่เราก็จะไม่ลังเล" นายพาวเวลกล่าว
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงิน USDCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91485 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91684 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91898
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91049 แนวรับที่สองก็คือ 0.90861 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90617