AUD ดูเหมือนยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียมีการประกาศตัวเลขสำคัญรวมทั้งการประกาศ การตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียซึ่งมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 3.00% เป็น 3.50%
ส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นบ้างเล็กน้อยแต่ก็ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นเนื่องจากค่าเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นด้วยเช่นเดียวกันทำให้คู่เงิน AUDUSD มีการผันผวนในระยะสั้นและวิ่งอยู่ในกรอบ
ดังนั้นในช่วงวันพฤหัสและวันศุกร์นี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนต้องติดตั้งค่าเงินดอลล่าร์อย่างใกล้ชิด
ต้องติดตามว่าค่าเงินดอลล่าร์จะมีความผันผวนกับคู่เงินนี้หรือไม่โดยกรอบแนวรับสำคัญสองแนวรับกี่ต้องติดตามก็คือ 0.64394 เป็นแนวรับที่หนึ่งแนวรับที่สองก็คือ 0.63951
แต่ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.65428
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต้องติดตามทั้งด้านของค่าเงินดอลล่าร์ที่ยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญสองตัวเลขก็คือการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์รวมทั้งทางด้านของอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐ
ดอลล่าร์สหรัฐ
ดอลล่าร์เริ่มแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยEURUSD มีการปรับตัวร่วงลงบ้างหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่จะเป็นการแข็งค่าขึ้นในช่วงระยะสั้นเท่านั้นเนื่องจากทางด้านของการประกาศตัวเลขที่สำคัญของกลุ่มยูโรโซนคือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอต่างๆนั้นออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์และครั้งก่อน
ประกอบกับทางด้านของตลาดมีความกังวลถึงเรื่องการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐคือการประกาศทางด้านของดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของสหรัฐอเมริกาที่มีการประกาศถึงเรื่องการจ้างงานภาคการบริการที่ สูงกว่าครั้งก่อนส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
ดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นโดยเฉพาะ EURUSD ที่มีการย่อตัวลงติดตามว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงถึงแนวรับสำคัญหรือไม่
โดยแนวรับสำคัญที่จะต้องติดตามก็คือ 0.98122 เป็นแนวรับที่หนึ่งและแนวรับที่สองก็คือ 0.97627 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.96886
จับตากรอบแนวต้านถ้าเกิดมีการเตรียมตัวสูงขึ้น
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศตัวเลขจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องสี่สัปดาห์ที่ออกมาในวันพฤหัสนี้ประกอบกับการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรในวันศุกร์นี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
XAUUSD จะขยับตัวขึ้นจริงหรือไม่ราคาทองคำมีการฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่มีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของสหรัฐอเมริกาที่ประกาศออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์และครั้งก่อน
ประกอบกับการประกาศตัวเลขสำคัญนี้จะมีการประกาศตัวเลขดัชนีค่าจ้างและดัชนีการจ้างงานของภาคการผลิตที่ประกาศออกมาต่ำกว่า 50 ส่งผลทำให้ราคาทองคำมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
จากการขยับตัวสูงขึ้นนั้นเกิดจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นประกอบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรฐบาลสหรัฐนาฬิกามีการปรับตัวร่วงลงส่งผลทำให้ทองคำดีดตัวขึ้นและฟื้นตัวขึ้นอยู่ในระดับใกล้ 1697
ดังนั้นถ้ามีการขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องควรติดตามกรอบแนวต้านสำคัญที่ 1706 และ 1734 ถ้าสามารถทะลุแนวต้านดังกล่าวได้อาจจะเป็นการขยับตัวขาขึ้นอย่างรุนแรง
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาทั้งในวันพฤหัสและวันศุกร์นี้ถึงแม้ว่าจะมีการประกาศตัวเลขที่เกี่ยวเนื่องกับการขยับตัวของราคาทองคำนั้นในวันศุกร์นี้จะมีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาต้องติดตามว่าจะสามารถหนุนทองคำให้ขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องได้หรือไม่
ดอลล่าร์อาจจะมีโอกาสฟื้นตัวขึ้นค่าเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ทางด้านของการกังวลของทางตลาดว่า FED อาจจะมีการกระทำขายคืนกับการกระทำทางด้านของ BOE ที่มีการเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลของสหราชอาณาจักร
ส่งผลทำให้ทั้งตลาดของค่าเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในหลายวันที่ผ่านมาโดยมีการปรับตัวร่วงลงตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2022
แน่นอนว่าตลาดมีความกังวลถึงเรื่องธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการคลายความกังวลของการใช้มาตรการการเงินแบบเข้มงวดอย่างต่อเนื่อง
แต่เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาธนาคารกลางสหรัฐได้มีการส่งสัญญาณจากสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐออกมาว่าต้องการที่จะมีการกดเงินเฟ้ออย่างต่อเนื่อง
โดยในการกดเงินเฟ้อนั้นอาจจะจำเป็นที่ต้องมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่องประกอบกับทางด้านของการกระชับทางงบดุลที่จำเป็นที่จะต้องทำตามแผน
หมายความว่าทางด้านของค่าเงินดอลล่าร์อาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นจากมาตรการนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินดอลล่าร์ขยับตัวขึ้นไปจนถึงแนวต้านสำคัญสองแนวต้านก็คือ 113.26 และ 113.64 ซึ่งเป็นแนวต้านสำคัญสุดท้ายที่อาจจะไปถึง 114 อีกครั้ง
โดยปัจจัยเสี่ยงก็คือทางด้านของการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาที่เกี่ยวเนื่องกับสภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย ซึ่งต้องติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
USD จะมีโอกาสย่อไหมดูเหมือนว่า USD ดีดตัวหลังจากที่ FED ส่งสัญญาณสำคัญว่า การขึ้นดอกเบี้ยค่ากลางคือ 4.4% ในปีนี้
ทำให้ US02Y พุ่ง รวมทั้ง US10Y ดีดตัว
ส่งผลทำให้ USD ดีดตัวขึ้นต่อเนื่อง และอาจจะมีการดีดตัว
จับตาแนวต้านสำตัญที่ 114.xxx เพราะจะส่งผลสำคัญมาก
ดังนั้น ถ้าไม่ผ่าน ตำแหน่งดังกล่าว อาจจะมีการย่อตัว
จับตา วันพฤหัส นี้
จับตาการประกาศดัชนีจีดีพี นิวซีแลนด์การประกาศดัชนีจีดีพีของนิวซีแลนด์ซึ่งสำคัญอย่างมาก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 05:45 น. จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของนิวซีแลนด์ก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สองเทียบไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สองเทียบไตรมาสต่อไตรมาสอาจจะประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน -0.2% ประกอบกับเทียบปีต่อปีอาจจะประกาศออกมา 0.2% ครั้งก่อน 1.2%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.60170 แนวต้านที่สองก็คือ 0.60459 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.60600
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.59938 แนวรับที่สองก็คือ 0.59815 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.59643
ติดตามการประกาศอัตราการว่างานของออสเตรเลียสิ่งที่สำคัญเลยก็คือการประกาศอัตราการว่างานของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
อัตราการว่างานของออสเตรเลียยังคงมีความสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะการจะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานแบบเต็มเวลาและอัตราหนึ่งส่วนร่วมของอัตราการว่างานของออสเตรเลีย
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่ากระจายการว่างานของออสเตรเลียประจำเดือนสิงหาคมจะมีการประกาศออกมา 3.4% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานจะประกาศออกมา 35.0K ครั้งก่อนคือ -40.9K จับตาดูว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะ AUDUSD อาจจะมีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.67363 แนวรับที่สองก็คือ 0.67238 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67098
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.67528 แนวต้านที่สองก็คือ 0.67743 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68037
ดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริกาในวันนี้การประกาศดัชนียอดขายปลีกสำคัญมากของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริการวมทั้งจำนวนผู้ยื่นขอรับศพด้วยกันการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์และการประกาศดัชนีภาคเกาหลีจากธนาคารกลางของรัฐฟิลาเดเฟียซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งมีการคาดการณ์ออกมาว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคมซึ่งเป็นการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 0.4% ประกอบกับดัชนียอดขายปลีกจะประกาศออกมา 0.2% ครั้งก่อน 0.0% รวมทั้งดัชนีภาคการผลิตจากธนาคารกลางรัฐฟิลาเดเฟียประจำเดือนกันยายนจะประกาศออกมา 2.8% ครั้งก่อน 6.2%
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้จะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนระยะสั้นและระยะกลางจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน USDJPY ในระยะสั้นนี้
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 143.388 แนวต้านที่สองก็คือ 143.851 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 144.532
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 142.611 แนวรับที่สองก็คือ 142.033 แนวรับสุดท้ายก็คือ 141.675
อัตราเงินเฟ้อของจีนกับค่าเงินหยวนจับตาการประกาศอัตราเงินเฟ้อของจีนในวันนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
อัตราเงินเฟ้อของจีนจะมีการประกาศในช่วงเวลา 08:30 น. โดยที่ความสำคัญก็คือนักลงทุนต่างจับตามองการประกาศนี้เพราะอาจจะมีการคาดการณ์ว่าจีนสภาพเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไรและอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินหยวนเป็นอย่างไรดังนั้นต้องติดตามไม่ว่าจะเป็นทั้งอัตราเงินเฟ้อภาคการผลิตและภาคผู้บริโภคในวันนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยทางด้านของการประกาศอัตราเงินเฟ้อของจีนเทียบปีต่อปีประจำเดือนสิงหาคมจะมีการประกาศออกมา 2.8% ครั้งก่อน 2.7% และเทียบเดือนต่อเดือนจะประกาศออกมา 0.2% ครั้งก่อน 0.5% ประกอบกับการประกาศภาคการผลิตเทียบปีต่อปีประกาศออกมา 3.1% ครั้งก่อน 4.2% นี่คือการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินหยวนมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญของ USDCNH
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 6.9529 ที่สอง ก็คือ 6.9342 แนวรับสุดท้ายก็คือ 6.9176
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 6.9661 แนวต้านที่สองก็คือ 6.9751 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 6.9938
ดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของนิวซีแลนด์ดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของนิวซีแลนด์กับการประกาศที่เกี่ยวเนื่องกับ NZD
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 05:45 น. จะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของนิวซีแลนด์ประกอบกับการประกาศนี้นักลงทุนต่างจับตามองมากเนื่องจากว่าการประกาศนี้จะสะท้อนเห็นถึงภาพบริโภคที่มีความแข็งแกร่งเกิดขึ้นโดยที่จะมีการประกาศทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งการประกาศนี้จะประกาศในช่วงเวลา 05:45 น. โดยที่จะมีการประกาศเทียบเดือนต่อเดือนและปีต่อปีประจำเดือนสิงหาคมซึ่งการประกาศเทียบเดือนต่อเดือนในการประกาศดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์นั้นครั้งก่อนอยู่ที่ -0.2% และปีต่อปีครั้งก่อนอยู่ที่ +0.5% แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.60311 แนวรับที่สองก็คือ 0.60120 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.59994
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.60736 แนวต้านที่สองก็คือ 0.60907 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.61270
อัตราการว่างานแคนาดาจับตาการประกาศเกี่ยวเนื่องกับอัตราการจ้างงานและอัตราการว่างานของแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของฉันได้ก็คือการประกาศอัตราการว่างานและจำนวนผู้ยื่นเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานและการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานแบบเต็มเวลาของแคนาดาประจำเดือนสิงหาคมซึ่งแน่นอนว่าจะทำให้ทุกคนเงินแคนาดามีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยที่การประกาศอัตราการว่างานของแคนาดาประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 5.0% ครั้งก่อน 4.9% ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานแบบเต็มเวลา ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งประกาศออกมาครั้งก่อนก็คือ -13.1K ติดตามว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้จะทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามคู่เงิน USDCAD ในระยะสั้นนี้
ซึ่งแน่นอนว่าถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.30803 แนวรับที่สองก็คือ 1.30673 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.30533
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.31270 แนวต้านที่สองก็คือ 1.31488 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.31905
ปรับดอกเบี้ย RBAติดตามการปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศตัวเลขสำคัญของออสเตรเลียคือการประกาศตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียรวมทั้งจะมีถ้อยแถลงของธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียในช่วงเวลา 11:30 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียจะประกาศออกมา 2.35% ครั้งก่อน 1.85% ประกอบกับจะมีถ้อยแถลงเกี่ยวเนื่องกับการใช้นโยบายทางการเงินแบบเข้มงวดอีกครั้งอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้จะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ AUDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.67749 แนวรับที่สองก็คือ 0.67339 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67097
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68217 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68848 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69121
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างสหราชอาณาจักรจับตาการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างสหราชอาณาจักร
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างของสหราชอาณาจักรจะมีการประกาศในช่วงเวลา 15:30 น. ตามเวลาประเทศไทยแน่นอนอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์ผันผวนเพียงระยะสั้นเท่านั้นต้องติดตามการประกาศว่าจะมีการ surprise ตลาดหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยปัจจัยนี้นักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 48.0 ครั้งก่อน 48.9 ซึ่งเป็นการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประจำเดือนสิงหาคม
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้จะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ GBPUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15836 แนวต้านที่สองก็คือ 1.16060 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.16415
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.14903 แนวรับที่สองก็คือ 1.14502
ดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มสหรัฐติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญสหรัฐกับ PMI ภาคบริการจากไอเอสเอ็ม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:45 น. จะมีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนสิงหาคมประกอบกับในช่วงเวลา 21:00 น. จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนอีกครั้ง
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศประมาณ 44.3 ครั้งก่อน 44.1 โดยที่การประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มจะประกาศออกมา 55.1 ครั้งก่อน 56.7 ต้องติดตามว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยทางด้านของการประกาศนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ USDCAD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.31255 แนวรับที่สองก็คือ 1.30810 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.30657
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.31703 แนวต้านที่สองก็คือ 1.31923 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.32081
NFP ที่สำคัญอย่างมากจับตาการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
เดี๋ยวช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐรวมทั้งอัตราการว่างานของสหรัฐอเมริกาประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินดอลล่าร์ผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยทางด้านของนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 300K ครั้งก่อน 528K ประกอบกับอัตราการว่างานจะประกาศออกมา 3.5% เท่ากันกับครั้งก่อน ต้องติดตามว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะทางด้านของ EURUSD ที่อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.99321 แนวรับที่สองก็คือ 0.99157 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.99062
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.99880 แนวต้านที่สองก็คือ 1.00044 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.00371
NZD จากการประกาศดุลการค้าจับตาการประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 05:45 น. จะมีการประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์ประกอบกับการประกาศปริมาณนำเข้าส่งออกของนิวซีแลนด์ซึ่งแน่นอนว่าอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งแน่นอนว่าการประกาศปริมาณนำเข้าประจำเดือนกรกฎาคมของนิวซีแลนด์ครั้งก่อนอยู่ที่ 7.12B ประกอบกับดุลการค้าเก็บเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ -710M และปีต่อปีครั้งก่อนอยู่ที่ -10,510M
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.62345 แนวรับที่สองก็คือ 0.62186 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.61963
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.62844 แนวต้านที่สองก็คือ 0.63042 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.63186
ความคาดหวังผู้บริโภครัฐมิชิแกนติดตามการประกาศความคาดหวังผู้บริโภครัฐมิชิแกน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. จะมีการประกาศดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคจากรัฐมิชิแกนประจำเดือนสิงหาคมและความคาดหวังของผู้บริโภคจากรัฐมิชิแกนรประจำเดือนสิงหาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์ผันผวนระยะสั้นและระยะกลาง
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศการคาดหวังในครั้งนี้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภครัฐมิชิแกนนั้นนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 52.5 ครั้งก่อน 51.5 ความคาดหวังผู้บริโภครัฐมิชิแกนรจะประกาศออกมา 48.4 ครั้งก่อน 41.3 ต้องติดตามว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน USDCHF ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้าประกาศออกมาในมุมมองทำให้ดอลล่าร์แข็งค่าแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.94420 แนวต้านที่สองก็คือ 0.94986 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.95167
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.93927 แนวรับที่สองก็คือ 0.93737
จำนวนสินเชื่ออะไรใหม่ของจีนความสำคัญของจำนวนสินเชื่อรายใหม่ของจีน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จับตาดูจำนวนสินเชื่อรายใหม่ของจีนที่ดูเหมือนว่านักวิเคราะห์และนักลงทุนต่างจับตาดูเนื่องจากว่าทางด้านของความกังวลก่อนหน้านี้ที่เกี่ยวเนื่องกับสภาวะอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะเอเวอร์แกรนด์ที่สร้างความตกกังวลเกี่ยวเนื่องกับสภาวะเศรษฐกิจของจีนนั้นอาจจะส่งผลทำให้ดัชนีจำนวนสินเชื่อ รายใหม่ของจีนอาจจะกระทบให้กับค่าเงินหยวนในช่วงนี้ในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งความสำคัญในการประกาศจำนวนสินเชื่อรายใหม่ของจีนนั้นจะมีความสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะนักวิเคราะห์ยังไม่มีการคาดการณ์ออกมาแต่ครั้งก่อนอยู่ที่ 2801.0B จับตาดูว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินเยนมีความผันผวนสำหรับการประกาศนี้โดยเฉพาะ USDCNH จะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 6.7522 แนวต้านที่สองก็คือ 6.7623 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 6.7706
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 6.7350 แนวรับที่สองก็คือ 6.7282 แนวรับสุดท้ายก็คือ 6.7180
อัตราเงินเฟ้อของฝรั่งเศสการประกาศอัตราเงินเฟ้อของฝรั่งเศส
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ติดตามการประกาศอัตราเงินเฟ้อของฝรั่งเศสที่อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะทางด้านของอัตราเงินเฟ้อฝรั่งเศสเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนที่ดูเหมือนว่าจะยังคงมีนัยยะสำคัญสำหรับทางด้านของสกุลเงินยูโรอย่างต่อเนื่อง
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยทางด้านของอัตราเงินเฟ้อของฝรั่งเศสเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.3% ครั้งก่อน 0.8% และเทียบปีต่อปีจะมีการประกาศออกมา 6.1% ครั้งก่อน 5.8% ซึ่งเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่ต้องติดตามดูในการประกาศในครั้งนี้
การวิเคราะห์ของราคา
โดยการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรในระยะสั้นโดยเฉพาะ EURJPY อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 137.476 แนวต้านที่สองก็คือ 137.820 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 138.315
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 136.514 แนวรับที่สองก็คือ 136.062 แนวรับสุดท้ายก็คือ 135.818
ดัชนีมวลรวมสหราชอาณาจักรติดตามการประกาศดัชนีจีดีพีของสหราชอาณาจักรไตรมาสที่สอง
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศที่สำคัญโดยเฉพาะการประกาศดัชนีจีดีพีของสหราชอาณาจักรรวมทั้งจะมีการประกาศผลผลิตอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักรประจำเดือนมิถุนายนแน่นอนว่าตลาดจะมีมุมมองหลายมุมมองในการประกาศตัวเลขสำคัญในครั้งนี้ต้องติดตามว่าจะส่งผลถึงสกุลเงินปอนด์อย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศดัชนีจีดีพีไตรมาสที่สองประจำไตรมาสสุดท้ายมานั้นนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา -0.2% ครั้งก่อน 0.8% รวมทั้งเทียบปีต่อปีนักวิเคราะห์คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.8% ครั้งก่อน 8.7% โดยทางด้านของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมประจำเดือนมิถุนายนนั้นเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -1.8% ครั้งก่อน 1.4% จับตาดูว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยที่ทางด้านของคู่เงินสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPUSD ซึ่งมีความผันผวนระยะสั้นและอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.21843 แนวรับที่สองก็คือ 1.21629 แนวรับที่สองก็คือ 1.21234
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22427 แนวต้านที่สองก็คือ 1.22697 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.22824
PMI ภาคธุรกิจนิวซีแลนด์จับตาดัชนีพีเอ็มไอภาคธุรกิจของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคธุรกิจของนิวซีแลนด์ประจำเดือนกรกฎาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาอาหารเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนในระยะสั้นในช่วงนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยทางด้านของการประกาศดัชนีภาคธุรกิจของนิวซีแลนด์ประจำเดือนกรกฎาคมไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ครั้งก่อนอยู่ที่ 49.7 และดัชนีราคาอาหารประจำเดือนกรกฎาคมไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์เช่นเดียวกันครั้งก่อนอยู่ที่ 1.2%
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยทางด้านนิวซีแลนด์อาจจะมีความผันผวนในการประกาศในครั้งนี้โดยเฉพาะ NZDUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.64568 แนวต้านที่สองก็คือ 0.64717 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.64946
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.64186 แนวรับที่สองก็คือ 0.63858 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.63502
จับตาดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของสหรัฐการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. จะมีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการรวมทั้งดัชนีภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกาและจะมีการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนมิถุนายนซึ่งจะเป็นการประกันที่สำคัญอย่างมากโดยเฉพาะ การประกาศดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิตของสหรัฐ
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยหลายการประกาศนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนมาติดตามกันว่าในการประกาศต่างๆเหล่านี้นักวิเคราะห์มีการคาดการณ์อย่างไรโดยจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 47.5 เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 52.7 ครั้งก่อน 47.0 และยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 1.1% ครั้งก่อน 1.6% โดยดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มจะประกาศออกมา 53.5 ครั้งก่อน 55.3
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน USDCHF ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.95773 แนวต้านที่สองก็คือ 0.96234 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.96552
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.95381 แนวรับที่สองก็คือ 0.95107 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.94836