CAD จับตาการเคลื่อนไวราคาน้ำมันการเคลื่อนไหวของทิศทางราคาน้ำมันในค่ำคืนนี้ส่งผลให้กับ CAD
ในค่ำคืนนี้การเคลื่อนไหวของทิศทางราคาน้ำมันยังคงส่งผลให้กับสกุลเงินแคนาดาในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของห้ามดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงในช่วงนี้ดังนั้นในค่ำคืนนี้ยังคงต้องจับตามองในส่วนของการขึ้นไหวของทิศทางราคาน้ำมัน
โดยในส่วนของคู่เงิน USDCAD ยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยและยังคงมีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นดังนั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.22883 แนวรับที่สองก็คือ 1.22597 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.22352
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23387 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23646 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23987
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCAD ที่สำคัญในวันนี้ : ยังคงต้องจับตามองในส่วนของการประกาศเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศดัชนีการใช้จ่ายผู้บริโภคส่วนบุคคลรวมทั้งทิศทางของราคาน้ำมันที่จะคอยทั้งเป็นแรงหนุนและแรงกดดันให้กับคู่เงินนี้ในช่วงระยะสั้นต้องจับตามองอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD (ดอลล่าร์สหรัฐ)
เงินหยวนกดดัน AUD ระยะสั้นเงินหยวนยังคงกดดัน AUD ระยะสั้นแต่ยังต้องรอดู USD
ค่าเงินหยวนยังคงกดดันให้มีการแข็งค่าหลังจากที่ USD ยังคงมีการอ่อนค่าระยะสั้นโดยที่นักลงทุนยังคงรอปัจจัยหนุนที่สำคัญโดยเฉพาะเงินหยวนจะมีการประกาศที่สำคัญมากในสัปดาห์นี้ซึ่งเป็นการประกาศที่ผ่านมาแล้วแต่ก็ไม่ส่งผลให้กับเงินหยวนมากนัก
ดังนั้นในส่วนของ AUD ยังคงต้องติดตามว่าเงินหยวนนั้นจะยังเคลื่อนไหวอย่างไรหรือว่าในส่วนของการเคลื่อนไหวนั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรโดยเฉพาะ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้ดูเหมือนว่ามีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยจากเงิน USD ที่มีการอ่อนค่ารวมทั้งเงินหยวนที่มีการแข็งค่า
จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญของ AUDUSD
ถ้ามีการดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75598 และกรอบแนวต้านทีสองก็คือ 0.75994 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.76337
แต่ถ้ามีการร่วงลงระยะสั้นสองกรอบแนวรับที่สำคัญก็คือ 0.75091 เป็นแนวรับแรก และแนวรับที่สองก็คือ 0.74790
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน AUDUSD ก็คือ : ในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศที่สำคัญมากของสหรัฐก็คือการประกาศ GDP รวมทั้ง การประกาศ Core PCE ที่ต้องจับตามองเพราะจะคอยกดดันเงินหยวนและ AUD ในระยะสั้น ดังนั้นควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
BOJ คงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางญี่ปุ่นคงนโยบายทางการเงินในวันนี้
ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นโดยที่มีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ -0.10% ไว้ที่เท่าเดิม ประกอบกับการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีเนื้อหาใจความในช่วงสั้นว่าพร้อมที่จะมีการใช้มาตรการในการช่วยเหลือและอัดฉีดเม็ดเงินเพิ่มเติมถ้ามีความจำเป็นในการใช้ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นแต่อย่างไรก็ดี ในการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้ดูเหมือนมีการส่งสัญญาณของการเริ่มการลดการอัดฉีดเม็ดเงินส่งผลทำให้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงและทำให้สกุลเงินเยนนั้นมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน USDJPY ได้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินเยนโดยมีการปรับตัวร่วงลงของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ซึ่งควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.864 แนวรับที่สองก็คือ 109.660 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.464
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.328 แนวต้านที่สองก็คือ 110.501 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.769
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่ USDJPY : ติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่องเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยนในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
CAD ปรับตัวอ่อนค่าจากทิศทางราคาน้ำมันสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นจากราคาน้ำมันย่อตัวลง
สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงทำให้ความผันผวนในสกุลเงิน แคนาดายังอ้างอิงกับทิศทางราคาน้ำมันในเชิงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน USDCAD มีการขยับตัวสูงขึ้นแนะนำกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23715 แนวต้านที่สองก็คือ 1.24145 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24456
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.23241 แนวรับที่สองก็คือ 1.23000 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.22659
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน USDCAD : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามปัจจัยหนุนในหลายปัจจัยเมื่อวานจะเป็นทั้งในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดาจำเป็นจะต้องติดตามในส่วนของทิศทางราคาน้ำมันในช่วงระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD แข็งค่าเนื่องด้วย FED พร้อมปรับดอกเร็วกว่าที่คาดสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องจากเมื่อคืนที่ผ่านมา
สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากธนาคารกลางสหรัฐมีการส่งสัญญาณในการขึ้นดอกเบี้ยเร็วกว่าที่คาดและดูเหมือนว่ามีการประเมินถึงเรื่อง อัตราการว่างานในปี 2021 ใกล้เคียง 4.0% ส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับนักลงทุนเริ่มมีความกังวลถึงการใช้มาตรการลดการอัดฉีดเม็ดเงินในอนาคต จึงส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังกล่าว
คู่เงิน EURUSD มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.18865 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.18635 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18379
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.19498 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20010 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20416
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่ยังคงต้องติดตามถึงปัจจัยที่จะเกี่ยวเนื่องกับสภาพเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและการใช้มาตรการลดการอาทิตย์เป็นเงินของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอย่างมากในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD รอ FEDสกุลเงินดอลล่าร์พักตัวรอสัญญาณ FED
สกุลเงินดอลล่าร์ยังมีความผันผวนในระยะสั้นและวิ่งอยู่ในกรอบโดยเฉพาะปัจจัยที่ยังคงมีต้องจับตามอง ก็คือรายงานจำนวนใบอนุญาตการก่อสร้างของสหรัฐอเมริการวมทั้งดุลการค้าของสหรัฐอเมริกาและจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐรวมทั้งจะมีการขึ้นให้คำถ้อยแถลงของประธานธนาคารกลางสหรัฐอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยทำให้คู่เงิน USDCHF อาจจะมีความผันผวน ซึ่งในตอนนี้คู่เงินนี้ยังคงมีการพักตัวดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวดีดตัวขึ้นทะลุ 0.89898 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.90014 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.90090
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.89688 แนวรับที่สองก็คือ 0.89566 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.89351
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องจับตามองในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่จะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามปัจจัยภายในของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD ยังคงมีการพักตัวไร้ปัจจัยหนุนสกุลเงินออสเตรเลียยังไร้ปัจจัยหนุนในช่วงนี้
กลุ่มเงินสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ถึงแม้ว่ามีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของออสเตรเลียทั้ง ในช่วงเช้ามีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียก็ยังไม่มีปัจจัยที่ส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนแต่อย่างใดทำให้ทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงไปในทิศทางสกุลเงิน Quote Currency เป็นส่วนใหญ่
ดังนั้นคู่เงิน AUDUSD มีการปรับตัวย่อตัวลงหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้ปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.76871 แนวรับที่สองก็คือ 0.76729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.76610
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77033 แนวต้านที่สองก็คือ 0.77203 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.77537
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่ AUDUSD : โดยคู่เงินนี้ยังคงต้องการปัจจัยหนุนของสกุลเงินดอลล่าร์ดังนั้นในการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคำคืนนี้ยังคงเป็นปัจจัยที่อาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนจะควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
Elliott wave by Eaw อัพเดทค่าเงินบาท 13 มิถุนายน 2563
ที่ผมนับคลื่นไว้เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2563 หลักการที่ผมได้ดูไว้ว่าเป็นรูปแบบ Double Combination ซึ่งท่อนแรกเป็น Elongated zz ที่เป็นรูปแบบ Standard Correction ต่อมาเกิด X-Wave เชื่อมกันด้วยท่อนสุดท้ายที่เป็น Triangle ซึ่งเป็นรูปแบบ Correction แบบ Complexity level-1 โดยทั่วไปรูปแบบรูปแบบ Double Combination นี้อาจจะเกิด Completely retrced ได้หากเป็นการจบคลื่นของ Terminal Impulse แต่ในกรณีทั่วไปมักจะไม่เกิด Completely retrced จะ Retrced ประมาณ 80% ใน Corrective Phase ส่วนหลัง X-wave ซึ่งอาจเป็นรูปแบบ Correction ที่มี C-wave failure หรือ Running Triangle นั้นมีโอกาสจะเกิด Completely Retraced รูปแบบทั้งหมดได้
บทวิเคราะห์ หากจบรูปแบบทั้งหมดราคาจะไม่ retrced ไปที่ 80% ของคลื่น a คือราคาที่ 50.830 บาทต่อ USD
RBA คงนโยบายเป้าหมายพันธบัตรธนาคารกลางออสเตรเลียคงนโยบายเป้าหมายพันธบัตรอีกครั้ง
ธนาคารกลางออสเตรเลียตั้งมุมมองนโยบายไว้ที่จะเตรียมตัดสินใจในการขยายผลตอบแทนและโครงการผ่อนคลายเชิงปริมาณหรือมาตรการผ่อนคลายทางการเงินโดยการล็อกดาวเกี่ยวกับ โควิด-19 ให้ซับซ้อนมากขึ้น
ธนาคารกลางออสเตรเลียคงอัตราดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตรเป้าหมายที่สามปีที่ 0.10% ในวันอังคารที่ผ่านมาตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์และมีการตัดสินใจในเดือนกรกฎาคมว่าจะขยายเป้าหมายผลตอบแทนและดำเนินการมาตรการผ่อนคลายทางการเงินเพิ่มเติมหรือไม่และอาจจะมีการปิดเมืองครั้งใหญ่และปิดเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์เพื่อช่วยเพิ่มความ ไม่แน่นอนเกี่ยวกับแนวโน้มของ โควิด-19
ผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียกล่าวว่า แม้เศรษฐกิจและการจ้างงานจะฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งแต่แรงกดดันทั้งด้านเงินเฟ้อและการจ้างงานก็ยังคงนิ่ง คณะกรรมการมีความมุ่งมั่นที่จะรักษาเงื่อนไขและการเงินที่สนับสนุนอย่างสูงเพื่อสนับสนุนการกลับมามีงานอย่างเต็มรูปแบบในออสเตรเลียรวมทั้งอัตราเงินเฟ้อที่สอดคล้องกับเป้าหมาย
ในส่วนของคณะกรรมการยังคงพันธบัตรไว้ในเดือนเมษายนปี 2024 เนื่องจากเป้าหมายที่ครบกำหนดนั้นแข็งแกร่งขึ้นท่ามกลางการจ้างงานและความเชื่อมั่นรวมทั้งแผนการลงทุนที่แข็งแกร่ง สิ่งนี้ได้รับการสนับสนุนโดยรัฐบาลที่ยังคงมีการเปิดทางด้านภาคการคลังในงบประมาณเดือนพฤษภาคม เนื่องด้วยการเข้าร่วมของธนาคารกลางออสเตรเลียในการหาเรือในการลดการว่างานเพื่อฟื้นและเพื่อการเติบโตของค่าจ้างรวมทั้งอัตราเงินเฟ้อ
ซึ่งจากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้ในรอบวันสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหลังจากที่พร้อมที่จะมีการใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแต่อย่างไรก็ดีความเป็นไปได้ในอนาคตเดี๋ยวคงต้องพึ่งสกุลเงินหยวนรวมทั้งต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์โดยคู่เงินที่น่าจับตามองในปัจจัยนี้ก็คือ AUDUSD
ซึ่งในหลายวันที่ผ่านมายังคงวิ่งอยู่ในกรอบเนื่องจากในส่วนของทั้งสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นกดดันทำให้สกุลเงินหยวน ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบและปัจจัยทั้งภายนอกและภายในของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันดังนั้นการเทรดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านสำคัญในระดับวันก็คือ 0.78549 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 0.79612
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงไม่ว่าจะเป็นทั้งปัจจัยทั้งภายนอกและภายในของสกุลออสเตรเลียหรือไม่กระทั่งสกุลเงินหยวนกรอบแนวรับแรกก็คือ 0.77039 แนวรับที่สองก็คือ 0.75788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.75170
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญสำหรับสกุลเงินออสเตรเลียก็คือ : สกุลเงินหยวนยังคงเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลีย ทั้งในระยะสั้นและระยะกลางประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ถ้ามีการกดดันสกุลเงินหยวนสกุลเงินออสเตรเลียก็จะโดนกดดันด้วยเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB คาดการณ์ว่ายังคงจะรักษาการซื้อพันธบัตรECB คาดว่าจะมีการรักษาอัตราการซื้อพันธบัตรที่สูงขึ้นตลอดในช่วงฤดูร้อน
นักเศรษฐศาสตร์และนักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางยุโรปจะขยายการซื้อพันธบัตรฉุกเฉินหรือเรียกว่า PEPP ในการประชุมครั้งต่อไปแม้ว่าเศรษฐกิจยังคงฟื้นตัวขึ้น
HSBC Holdings Plc, UBS Group AG และ ABN Amro Bank NV เป็นหนึ่งในผู้ที่คาดการณ์ว่า ECB จะยืดเวลาการกระตุ้นเศรษฐกิจในปัจจุบันออกไปในวันที่ 10 มิถุนายนนี้ โดยนักเศรษฐศาสตร์ที่สำรวจก่อนการประชุมครั้งก่อนกล่าวว่าอาจจะถูกปรับลดวงเงินการเข้าซื้อ
ในขณะที่ Bloomberg Economics คาดการณ์ว่าจะมีการซื้ออยู่ที่ประมาณ 85 พันล้านยูโร ต่อเดือนในไตรมาสที่สามแทนที่จะลดลงสู่ในระดับเดียวกันจากไตรมาสแรก
การคาดการณ์เกิดขึ้นหลังจากที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงมีการจับต่อแนวคิดที่พวกเขาว่า ECB พร้อมที่จะมีการชะลอการซื้อ ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์ของ JPMorgan Chase & Co. ได้มีการรายงานออกมาว่า "สิ่งนี้จะทำให้โอกาสในการเข้าซื้อเพิ่มเร็วขึ้นอย่างต่อเนื่องในไตรมาสที่สามแม้ว่าการตัดสินใจอาจจะยังคง ใกล้เคียงในเดือนมิถุนายนและต้องมีการประนีประนอมบ้างก็ตาม"
โดยปัจจัยนี้อาจจะเป็นแรงสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นจากการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB และอาจจะส่งผลทำให้ EURUSD มีความผันผวนอีกครั้งโดยที่อาจจะมีการปรับตัวลงจากการประกาศในการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปที่จะถึงนี้
ซึ่งในหลายวันที่ผ่านมา EURUSD มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในหลายวันที่ผ่านมาจนทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวขึ้นสู่ในระดับ ใกล้เคียงเดือนมกราคมปี 2021 ซึ่งถ้ามีการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องกรอบแนวรับสำคัญ ที่น่าสนใจแนวรับแรกก็คือ 1.20697 แนวรับที่สองก็คือ 1.19987 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18958
แต่ถ้าเกิด surprise ตลาดในการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB ไม่ว่าจะเป็นการชะลอการเข้าซื้อหรือเป็นการลดวงเงิน การเข้าซื้อพันธบัตรอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22468 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23296 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23822
ปัจจัยเสี่ยงที่จะต้องติดตามของคู่เงินนี้ก็คือ : สกุลเงินดอลล่าร์โดยที่สกุลเงินดอลล่าร์มันจะมีการประกาศที่สำคัญในหลายการประกาศก่อนที่จะไปถึงในวันที่ 10 มิถุนายน 2021 ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศ PCE หรือแม้กระทั่งการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลางจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
BOJ จะมีการพิจารณาสภาวะเศรษฐกิจครั้งใหม่BOJ จะมีการพิจารณาสภาวะเศรษฐกิจครั้งใหม่และอภิปรายเกี่ยวกับนโยบายทางการเงิน
ธนาคารกลางญี่ปุ่นจะมีการพิจารณาสภาวะสภาพเศรษฐกิจในการหารือเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินซึ่งผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นกล่าวด้วยสัญญาณที่ชัดเจนที่สุดว่าธนาคารกลางต้องมีการสนับสนุนการต่อสู้กับสภาวะเศรษฐกิจของโลก
โดยที่มีความสนใจอย่างมากในการเปลี่ยนแปลงสภาวะและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและระบบทางการเงินซึ่งธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการกล่าวให้สัมภาษณ์ต่อหนังสือพิมพ์ชั้นนำเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาซึ่งมีการกล่าวอีกว่าโดยปกติแล้ววิธีการที่เราจะตอบสนองต่อสิ่งนี้ในระดับนโยบายทางการเงินจะมีการสนทนากันเป็นหัวข้อที่สำคัญอย่างมาก
ซึ่งความคิดเห็นดังกล่าวเกิดขึ้นท่ามกลางการถูกเถียงกันมากขึ้นในหมู่นายธนาคารกลางว่าด้วยพวกเขาควรสนับสนุนความพยายามในการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาวะหรือไม่ตามคำมั่นสัญญาของรัฐบาลต่างๆรวมถึงสหรัฐอเมริกาจีนญี่ปุ่นในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
เมื่อพิจารณาถึงประเด็นที่สำคัญอีกหนึ่งประการในหมู่นักลงทุนธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการให้สัมภาษณ์อีกว่าความกังวลถึงเรื่องเงินเฟ้อทั่วโลกมีความเกี่ยวข้องมากที่สุดในประธานธนาคารกลางสหรัฐโดยมีการกล่าวว่าแรงกดดันทั้งด้านเงินเฟ้อชั่วคราวบางส่วนจะพิสูจน์ให้เห็นว่าแรงกดดันนี้จะสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจและควรอยู่ต่อไปอีกระยะหนึ่ง
โดยประธานธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการกล่าวอีกว่าจุดยืนของนโยบายดังกล่าวตั้งอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับว่าจะต้องใช้เวลาในการเอาชนะอัตราเงินเฟ้อที่ต่ำเมื่อได้ยอมรับแล้วซึ่งนั่นคือบทเรียนที่ได้รับจากประสบการณ์ของญี่ปุ่นที่มีภาวะเงินฝืดเป็นเวลานาน
จากการส่งสัญญาณในการถกเถียงในครั้งนี้ของธนาคารกลางญี่ปุ่น ซึ่งอาจจะเป็นการส่งสัญญาณถึงสกุลเงินเยนที่อาจจะมีการผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลางอย่างไรก็ดีธนาคารกลางญี่ปุ่นต้องคอยจับตามองอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริการและการใช้นโยบายทางการเงินและการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาอีกครั้ง เผื่อจะมีการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นในระยะถัดไป
ดังนั้นสิ่งที่น่าจับตามองของสกุลเงินเยนอย่างมากก็คือการปรับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาในเดือนมิถุนายนที่จะถึงนี้เพื่อที่จะจับตามองว่าธนาคารกลางญี่ปุ่นจะมีการใช้มาตรการอะไรที่จะส่งผลถึงสกุลเงินเยนบ้าง
โดยในส่วนของสกุลเงินที่สำคัญและโครงการที่สำคัญของสกุลเงินเยนก็คือ USDJPY ซึ่งในระดับวันมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการขยับตัวขึ้นของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้ในระยะสั้นเริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องกรอบแนวต้านที่สามารถติดตามได้อย่างระยะสั้นก็คือ 109.883 ซึ่งถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 110.711 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.289
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.537 แนวรับที่สองก็คือ 107.835 แนวรับสุดท้ายก็คือ 106.696
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินเยนที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือ : ในส่วนของการปรับใช้นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นหรือ BOJ ที่จำเป็นจะต้องติดตามธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาในการปรับใช้นโยบายทางการเงินซึ่งมีการส่งสัญญาณว่าอาจจะมีการปรับลดวงเงินในการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐดังนั้นในส่วนของธนาคารกลางญี่ปุ่นอาจจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากในการตัดสินใจของธนาคารกลางสหรัฐในครั้งนี้
RBNZ กับการคาดการณ์ในอนาคตคำแถลงนโยบายทางการเงินของ RBNZ พร้อมการแถลงข่าว
ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2021 จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์รวมทั้งมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกอบกับในช่วงเวลา 10:00 น. จะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางนิวซีแลนด์ซึ่งจะมีการคาดการณ์ของไว้หลายสำนักว่าในวันดังกล่าวการคาดการณ์ในการแถลงการณ์นั้น จะออกมาในทิศทางไหนอย่างไรเรามาดูการคาดการณ์ในระยะสั้น
Goldman Sachs ได้มีการคาดการณ์ว่าในส่วนของ RBNZ จะมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมที่ 0.25% และคาดว่าจะมีการปรับปรุงการคาดการณ์เศรษฐกิจโดยการสำรวจของรอยเตอร์มีนักวิเคราะห์ที่สำรวจทั้งหมด 12 คนว่าธนาคารจะถือ OCR ที่ต่ำที่สุดเป็นประวัติการรวมทั้งรอยเตอร์เพิ่มความเห็นว่าไม่มีธนาคารกลางใดที่จะต้องคุมเข้มนโยบายก่อนเวลาอันควร รวมทั้งอัตราการว่างานยังคงอยู่ในระดับคงที่น่าจะอยู่ที่ 4% ซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องลงต่ำกว่า 4% นั้นแต่ในส่วนของการกดดันด้านค่าจ้างอาจจะมีการเพิ่มมากขึ้น
ในส่วนของ Westpac ไม่คาดว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปจนถึงต้นปี 2024 ถึงแม้ว่าในส่วนของการซื้อพันธบัตรจะเริ่มปรับตัวลดลงและสิ้นสุดลงก่อนหน้านั้น
สิ่งที่ต้องระวังของ Goldman Sachs เกี่ยวกับการคาดการณ์ของ RBNZ ซึ่งเป็นจุดสำคัญของการแถลงการณ์ในครั้งนี้ก็คือ Goldman Sachs ได้มีการคาดการณ์ว่าอาจจะมีการปรับแก้ไขในการคาดการณ์ของอัตราการว่างานให้ต่ำลงเพื่อรักษาคำแนะนำในปัจจุบันโดยที่ Goldman Sachs มีการคาดการณ์ในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ RBNZ ในไตรมาสที่หนึ่งในปี 2024
ซึ่งถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ของ Goldman Sachs อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องด้วย RBNZ มีมุมมองเศรษฐกิจเชิงบวกในอนาคตถึงแม้ว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในต้นปี 2024 ก็ตาม
ในมุมมองของ NZD/USD ยังคงอาจจำเป็นจะต้องมีทิศทางขาขึ้นจากการแถลงของ RBNZ ซึ่งจากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ของ Goldman Sachs ดังนั้นปัจจัยที่จะส่งผลทำให้มีการขยับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินนิวซีแลนด์ต้องติดตามการแถลงโดยที่กรอบแนวต้านของคู่เงินนี้เป็นกรอบแนวต้านที่สำคัญอย่างมาก
ถ้าสามารถทะลุและขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องกรอบแนวต้านที่หนึ่งก็คือ 0.72665 กรอบแนวต้านที่สองก็คือ 0.72830 กรอบแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73028
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71970 แนวรับที่สองก็คือ 0.71539 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71282
สิ่งที่ต้องจับตามองและเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากก็คือ : สกุลเงินหยวนที่ยังคงมีความผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับสกุลเงินดอลล่าร์ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวอ่อนค่าลงสกุลเงินหยวนจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกดดัน ทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันแต่ถ้ามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะทำให้หยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันดังนั้นติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : จะขยับตัวสูงขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะมีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.007 แนวต้านที่สองก็คือ 109.165 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.265
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.881 แนวรับที่สองก็คือ 108.783 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.607
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่ต้องติดตามถึงปัจจัยการกดดันและแรงหนุนในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CAD : มีโอกาสร่วงลงต่อเนื่องสกุลเงินแคนาดามีโอกาสแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเนื่องจากในส่วนของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.20483 ลงมาได้แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.20222
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.20752 แนวต้านที่สองก็คือ 1.21071 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.21330
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ก็คงต้องติดตามถึงสกุลเงินแคนาดาที่อาจมีความผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับราคาน้ำมันและรัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามว่าจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงต่อเนื่องหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ยังคงมีโอกาสขยับตัวร่วงลงสกุลเงินดอลล่าร์จะกดดันอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.89643 แนวรับที่สองก็คือ 0.89491 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.89349
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.89831 แนวต้านที่สองก็คือ 0.89975 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.90193
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนของสกุลเงินดอลล่าร์โดยที่จะมีการประกาศรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ ธนาคารกลางสหรัฐจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : เริ่มมีโอกาสฟื้นตัวอีกครั้งสกุลเงินดอลล่าร์อ่อนค่าอีกครั้ง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่ สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นถึงระยะกลางจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77869 แนวต้านที่สองก็คือ 0.78097 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.78419
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.77381 แนวรับที่สองก็คือ 0.77202 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.76974
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนรจากการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามการรายงานนโยบายทางการเงินในวันอังคารที่จะถึงนี้เช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงแต่ในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงมีการผันผวนในระยะสั้นดังนั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1097233 แนวรับที่สองก็คือ 1087997 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.757
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.433 แนวต้านที่สองก็คือ 109.620 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.720
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยในการประกาศตัวเลขที่สำคัญประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CAD : จะฟื้นตัวได้หรือไม่สกุลเงินแคนาดาจะอ่อนค่าลงต่อเนื่องหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากทิศทางราคาน้ำมันที่มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับ ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัว ดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.21890 แนวต้านที่สองก็คือ 1.22083 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24832
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.21460 แนวรับที่สองก็คือ 1.21212 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.21043
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดาจำเป็นจะต้องติดตามทิศทางของราคาน้ำมันอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/USD : จะย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.40175 แนวรับที่สองก็คือ 1.39825 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.39424
แต่ถ้ามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.40543 แนวต้านที่สองก็คือ 1.40744 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.40963
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากภายในและการประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยจากดัชนีการประกาศตัวเลขที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/CHF : ขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์จะแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการยกตัวขึ้นระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.90445 แนวต้านที่สองก็คือ 0.90552 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.90707
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.90174 แนวรับที่สองก็คือ 0.90013 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.89857
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟังสวิตต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : ย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการปรับตัวย่อตัวลง ในระยะสั้นแต่ในระยะการอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นโดยปัจจัยมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.78535 แนวรับที่สองก็คือ 0.78397 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.78185
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.78752 แนวต้านที่สองก็คือ 0.78884 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.79048
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังคงต้องติดตามสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : จะมีโอกาสร่วงลงต่อเนื่องหรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะโดนกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 108.664 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 108.523 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.337
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 108.874 แนวต้านที่สองก็คือ 109.033 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.209
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์เพราะจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญไม่ว่าจะเป็นการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐหรือไม่กระทั่งดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะมีความหวานผัวจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอยู่ต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.19 เก้าสี่สองลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.19777 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19569
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.20164 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20326 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20420
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่จำเป็นจะต้องติดตามทั้งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของกลุ่มยูโรโซนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด