การประกาศอัตราเงินเฟ้อออสเตรเลียการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียสำคัญอย่างมากในครั้งนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียประจำใจมาสที่สามทั้งไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีโดยนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่าประจำไตรมาสที่สามดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศในครั้งนี้จะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่ ซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 07:30 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศที่สำคัญหลายการประกาศซึ่งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสต่อไตรมาสนั้นจะประกาศออกมา 0.8% เท่ากันกับครั้งก่อนแต่ดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีจะประกาศประมาณ 3.1% ครั้งก่อน 3.8% รวมทั้งการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่าประจำใจมาสที่สามเทียบในมาตรามาตราประกาศออกมา 0.5% เท่ากันกับครั้งก่อนดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศครั้งนี้จะส่งผลถึงกับสกุลออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน AUDUSD ที่ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74799 แนวรับที่สองก็คือ 0.74704 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74559
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75221 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75327 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75422
USD (ดอลล่าร์สหรัฐ)
ดัชนีพีเอ็มไอสหรัฐกับสกุลเงินดอลล่าร์การประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นการประกาศที่สำคัญของสหรัฐเช่นเดียวกัน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อในหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit รวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยที่เห็นนักวิเคราะห์หลายสำนักได้มีการคาดการณ์การประกาศนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการผันผวนระยะสั้นโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่า จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 60.3 ครั้งก่อน 60.7 และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 55.1 ครั้งก่อน 54.9 แต่ดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งครั้งก่อนประกาศออกมา 55.0
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน USDJPY ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาและทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น กรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.170 แนวต้านที่สองก็คือ 114.401 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.625
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.686 แนวรับที่สองก็คือ 113.517 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.338
จับตายอดขายบ้านมือสองสหรัฐจะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกันยายน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศของสหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองประจำเดือนกันยายนและดัชนียอดขายบ้านมือสองซึ่งนักลงทุนและนักวิเคราะห์ยังคงเฝ้าจับตาดูว่าในการประกาศดัชนีนี้จะส่งผลถึงตัวเลขของสหรัฐอเมริกาที่จะมีความเป็นไปได้ในการใช้จ่ายภาพครัวเรือนได้หรือไม่ดังนั้นจับตาดูในการ
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศยอดขายบ้านมือสองครั้งก่อนอยู่ที่ -2.0% จับตาดูว่าจะประกาศออกมาได้ทิศทางไหนแต่ในส่วนของจำนวนยอดขายบ้านมือสองนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 6.09M ครั้งก่อน 5.88M จับตาดูว่าจะเป็นปัจจัยที่จะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
คู่เงินที่ต้องเฝ้าจับตามองก็คือ USDCHF โดยคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นทุกคนติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91796 แนวรับที่สองก็คือ 0.91652 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91526
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92058 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92191 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92417
น้ำมันพุ่งขึ้น CAD แข็งค่าในปัจจัยทางด้านเทคนิคทิศทางราคาน้ำมันพุ่งขึ้นแคนาดาแข็งค่า
ค่าเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้มีการย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวพักตัวและอ่อนค่าแต่ในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหลังจากที่ทิศทางราคาน้ำมันมีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบ แนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.22909 แนวรับที่สองก็คือ 1.22729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.22590
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23263 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23542 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23678
จับตาการประกาศอัตราเงินเฟ้ออังกฤษการประกาศอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนกันยายนของอังกฤษสำคัญในช่วงนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษในช่วงเวลา 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นทั้งอัตราเงินเฟ้อ ทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนกันยายนอย่างไรก็ตามจับตาดูอย่างใกล้ชิดประกอบกับจะมีการประกาศผลผลิตดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานและดัชนียอดขายปลีกเช่นเดียวกันแต่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดู การประกาศอัตราเงินเฟ้ออังกฤษในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ที่การประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนกันยายนหรืออัตราการเฟิสเทียบปีต่อปีนั้นนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.2% เท่ากันกับครั้งก่อน และในส่วนของการประกาศอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.7%
การวิเคราะห์ของราคา
การประกาศอัตราเงินเฟ้อในครั้งนี้จะส่งผลให้คู่เงิน GBPUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.38253 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38518 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38815
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37953 แนวรับที่สองก็คือ 1.37722 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37163
GDP อังกฤษส่งผลกระทบกับค่าเงินปอนด์ระยะสั้นการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีประกาศเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีภาคการผลิตอุตสาหกรรมเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมและผลผลิตอุตสาหกรรมเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมของอังกฤษรวมทั้งจะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงดัชนีจีดีพีของรายเดือนแบบ 3M/3M ซึ่งเป็นปัจจัยที่อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ต่างคาดการณ์ออกมาในลักษณะในเชิงผันผวนได้อะไรอ่ะสั้นแต่อาจจะจำเป็นจะต้องจับตาดูการประกาศอีกครั้งก่อนโดยที่ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเทียบปีต่อปีของอังกฤษครั้งก่อนอยู่ที่ 23.6% ประกอบกับดัชนีจีพีเทียบเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ 0.1% โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในการประกาศของดัชนีจีดีพีรายเดือนแบบ 3M/3M ครั้งก่อนอยู่ที่ 3.6% รวมทั้งการประกาศรุ่นการค้าประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -12.00B ครั้งก่อน -12.71B
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนแต่คู่เงินที่น่าจับตามองอย่างมากก็คือ GBPUSD โดยเป็นที่น่าจับตามองในระยะสั้น ซึ่งถ้าเกิดมีความผันผวนเกิดขึ้นอาจจะควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.36259 แนวต้านที่สองก็คือ 1.36437 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.36644
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.35836 แนวรับที่สองก็คือ 1.35496 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.35322
ความสำคัญของอัตราเงินเฟ้อสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐกับปัจจัยที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกันยายนทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศรายได้ที่แท้จริงของเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนเช่นเดียวกันดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะเป็นทั้งแรงหนุนและแรงกดดันทำให้ราคาทองคำรวมทั้งสกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของการคาดการณ์ในครั้งนี้นักวิเคราะห์ต่างคาดการณ์ว่าดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเก็บปีต่อปีประจำเดือนกันยายนจะประกาศประมาณ 4.0% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.3% ครั้งก่อน 0.1% และจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับดัชนีราคาผู้บริโภคเก็บเงินต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.3% เท่ากันกับครั้งก่อนเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15485 แนวรับที่สองก็คือ 1.15357 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15671 แนวต้านที่สองก็คือ 1.15761 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.15819
USD/JPY : ฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการเสพตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นทะลุ 111.557 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 111.780 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.039
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 111.392 แนวรับที่สองก็คือ 111.227 แนวรับสุดท้ายก็คือ 111.095
ยอดขายบ้านมือสองสหรัฐจับตาการประกาศยอดขายบ้านมือสองสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. จะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคมรวมทั้งจำนวนยอดขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากในการประกาศในครั้งนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่ายอดขายบ้านมือสองประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 5.89M ครั้งก่อนก็คือ 5.99M ประกอบกับการขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนั้นครั้งก่อนประกาศออกมา 2.0% ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยที่สำคัญในคู่เงินที่จะต้องจับตาดูก็คือ EURUSD โดยมีการผันผวนระยะสั้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการพักตัวโดยเฉพาะคู่เงินสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลในระยะสั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศตัวเลขอย่างไรและควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสองแนวต้านแรกก็คือ 1.17439 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 1.17530 กรอบแนวต้านที่สามก็คือ 1.17728 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17882
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17214 แนวรับที่สองก็คือ 1.17035 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16914
การว่างงานอังกฤษกับ GBPอัตราการว่างานของอังกฤษจะมีการประกาศในช่วงเวลา 13:00 น.
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 13:00 น. จะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษประจำเดือนกรกฎาคมรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานของอังกฤษประกอบกับจะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับบริการการว่างานของอังกฤษประจำเดือนสิงหาคมรวมทั้งรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกรกฎาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังในครั้งนี้อัตราการว่างานของอังกฤษนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 4.6% ครั้งก่อน 4.7% รวมทั้งรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกรกฎาคมจะประกาศประมาณ 8.2% ครั้งก่อน 8.8% ประกอบกับจะมีการประกาศในการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 178K ครั้งก่อน 95K จับตาดูว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ทางด้านสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นและยังคงวิ่งอยู่ในกรอบดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลอย่างไรกับสกุลเงินปอนด์แต่คู่เงินที่น่าสนใจมากก็คือ GBPUSD ในคู่เงินนี้มีความผันผวนทั้งในส่วนของดอลล่าร์และในส่วนของสกุลเงินปอนด์โดยที่จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญในวันอังคารที่จะถึงนี้ดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.38244 แนวรับที่สองก็คือ 1.38059 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37866
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.38491 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38607 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38845
จับตาเงินเฟ้อสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาเป็นสิ่งที่ น่าจับตามองอย่างมาก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาโดยที่จะมีการประกาศที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมเช่นเดียวกันซึ่งนักวิเคราะห์ต่างจับตามองรวมทั้งนักลงทุนต่างเฝ้าจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
การประกาศในครั้งนี้จะมีอยู่สองการประกาศที่สำคัญโดยการประกาศแรกก็คือดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานประจำเดือนสิงหาคมเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.3% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบปีต่อปีประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.2% ครั้งก่อน 4.3% โดยที่มีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.5% รวมทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีอาจจะมีการประกาศออกมา 5.3% ครั้งก่อน 5.4% สำหรับนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้
การวิเคราะห์ของราคา
สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงเป็นปัจจัยที่เฝ้าจับตาดูการประกาศในครั้งนี้ประกอบกับคู่เงินที่น่าสนใจก็คือ EURUSD คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นแต่ในระยะยาวอาจจะยังคงมีการปรับตัวร่วงลงโดยอาจจะมีการคาดการณ์ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต้องจับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลอย่างไรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18120 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18341 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18484
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17989 แนวรับที่สองก็คือ 1.17812 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17716
จับตาการว่างงานแคนาดาจะมีการประกาศอัตราการว่างานของแคนาดา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 10 กันยายน 2021 จะมีการประกาศอัตราการว่างานของแคนาดาประจำเดือนสิงหาคมรวมทั้งอัตราการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำเดือนสิงหาคมของแคนาดาซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากสำหรับนักลงทุนสกุลเงินแคนาดาโดยจับตามองว่าอัตราการว่างานจะประกาศออกมาที่เท่าไหร่อย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ดีอัตราการว่างานประจำเดือนสิงหาคมนั้นมีการประกาศออกมาครั้งก่อน 7.5% แต่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 7.3% เราต้องการจะมีการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำเดือนสิงหาคมซึ่งครั้งก่อนอยู่ที่ 94.0K โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ว่าจะมีการประกาศ 100.0K ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาที่เท่าไหร่อย่างไรเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนในระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
การประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความ ผันผวนโดยเฉพาะคู่เงินของ USDCAD ซึ่งคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินแคนาดาเริ่มมีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้นดังนั้นจับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.26229 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.25922 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.25224
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.26507 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26803 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27255
Core PPI ของสหรัฐที่กำลังจะเกิดขึ้นการประกาศดัชนี Core PPI สหรัฐอเมริกามีความสำคัญในระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตหรือเรียกว่า PPI ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐาน Core PPI หรือแม้กระทั่งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองว่าดัชนีราคาผู้ผลิตนี้จะมีการประกาศอย่างไรและจะส่งผลไปทาง ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรือไม่จับตาดูอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามเราไปขอได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตประกาศเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนั้นประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน 1.0% และการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 0.5% ครั้งก่อน 1.0% ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่ถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามติดตามการประกาศในการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตและดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นคู่เงินที่น่าสนใจอีกหนึ่งคู่เงินก็คือ USDJPY โดยคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นถ้ามีการประกาศอีกครั้งอาจจะทำให้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.621 แนวรับที่สองก็คือ 109.530 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.417
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.764 แนวต้านที่สองก็คือ 109.910 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.192
แบงก์ชาติแคนาดาประกาศคงดอกเบี้ยวันนี้ ยันเดินหน้าทำ QEแบงก์ชาติแคนาดาประกาศคงดอกเบี้ยวันนี้ ยันเดินหน้าทำ QE
ธนาคารกลางแคนาดาประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 0.25% ในวันนี้ ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ ตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ และส่งสัญญาณตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบายจนถึงครึ่งปีหลังของปี 2565
นอกจากนี้ ธนาคารกลางระบุว่าจะยังคงซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในวงเงิน 3 พันล้านดอลลาร์แคนาดาต่อสัปดาห์เพื่อให้เศรษฐกิจฟื้นตัวจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
อย่างไรก็ดีปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นอาจจะทำให้คู่เงิน USDCAD อาจจะทำให้มีความผันผวนอาจจะมีการสูงขึ้นหรือไม่แต่อย่างไรก็ดีต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์ด้วยในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26281 แนวรับที่สองก็คือ 1.25919 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.25484
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27003 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27265 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27794
ดอลล่าห์ยังคงแข็งค่าระยะสั้นดอลล่าห์ยังคงอาจจะมีการแข็งค่าระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
หลายปัจจัยในระยะสั้นช่วงนี้ส่งผลทำให้ USD มีการแข็งค่าขึ้นทั้งความกังวลถึงไวรัสเดลต้าหรือแม้กระทั่งในส่วนของปัจจัยทางการดึงเงินกลับของ FED หรือเรียกว่า Revers Repo ที่ยังคงมีการดึงเงินกลับอย่างต่อเนื่องและมีการส่งสัญญาณทำ Tapering ของ FED ทำให้ความเป็นไปได้ในระยะสั้นนั้นยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคาดหวังของนักลงทุนยังคงมีความคาดหวังว่าอาจจะมีการแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นช่วงนี้
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยแข็งค่าขึ้นของ USD ส่งผลทำให้ EURUSD ยังคงมีการร่วงลงในระยะสั้นดังนั้นถ้ามีการร่วงลงต่อเนื่องควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการร่วงลงระยะสั้นกรอบแนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.18359 แนวรับที่สองก็คือ 1.18138 แนวรับที่สามก็คือ 1.17991
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18500 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18604 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18832
USD/CHF : ปัจจัยทางเทคนิคยังคงวิ่งอยู่ในกรอบสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงวิ่งในกรอบ
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการวิ่งอยู่ในกรอบไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการปรับตัวผันผวนจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ดังนั้นจับตาดูในการประกาศตัวเลขสำคัญที่เกี่ยวกับดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91724 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91829 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91896
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91371 แนวรับที่สองก็คือ 0.91216 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91048
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDCHF : อย่างไรก็ดีจับตาดูดอลล่าร์อย่างใกล้ชิดเพราะจะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรและดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิต ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องจับตาดูดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ดอลล่าร์อ่อนค่าหลังจาก FED แถลงสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาได้มีการแถลงในการประชุมแจ็คสันโฮที่มีการแถลงในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่ใจความสำคัญยังคงพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเม็ดเงินในปีนี้แต่ ยังไม่มีแผนที่จะมีการปรับขึ้นอัตราเบี้ยทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
คู่เงินที่ได้รับผลกระทบก็คือ USDCHF ซึ่งมีการปรับตัวร่วงลง -0.74% ในรอบวันส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ยังคงมีการพักตัวถึงแม้ว่ามีการขยับตัวสูงขึ้นของตลาดหุ้นฟิวเจอร์ทำให้คู่เงินนี้ มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.90841 แนวรับที่สองก็คือ 0.90717 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90524
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91212 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91346 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91649
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจำเป็นจะต้องติดตามในหลายปัจจัยมากกว่าจะเป็นทั้งในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศที่สำคัญในสัปดาห์หน้าคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : ฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียอ่อนค่าลงระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ ยังคงมีการขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวฟื้นตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญระยะสั้นก็คือ 0.72154 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72392 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72525
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71868 แนวรับที่สองก็คือ 0.71570 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71325
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญประกอบกับส่วนของจับตาดูสกุลเงินดอลล่าร์ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประชุมแจ็คสันโฮหรือแม้กระทั่งการประกาศตัวเลขสำคัญในวันศุกร์ที่จะถึงนี้
ยอดขายบ้านกับ USDสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนียอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศของเดือนกรกฎาคมทั้งยอดขายบ้านใหม่และจำนวนการขายบ้านใหม่ของสหรัฐอเมริกาซึ่งตั้งลงทุนต่างจับตามองว่าจะมีการประกาศยอดขายบ้านใหม่สูงขึ้นหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศยอดขายบ้านใหม่ในครั้งนี้จะประกาศออกมา 3.0% ครั้งก่อน -6.6% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนยอดขายบ้านใหม่ประจำเดือนกรกฎาคมประกาศออกมา 700K ครั้งก่อน 676K ซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
การวิเคราะห์ของราคา
โดยเฉพาะสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะมีการจับตาการประกาศยอดขายบ้านใหม่ซึ่งถ้ามีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงิน EURUSD มีการปรับตัวร่วงลงแต่อย่างไรก็ดีต้องจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงมากน้อยแค่ไหนควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17299 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16918
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17432 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17659 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17772
RBNZ คาดหวังปรับขึ้นดอกเบี้ยสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระดับต่ำสุดเกือบสามเดือนในวันนี้เนื่องจากในส่วนของในประเทศนิวซีแลนด์ระบุ ผู้ที่ติดเชื้อ โควิด-19รายแรกนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ซึ่ง ส่งผลทำให้รัฐบาลประกาศด้วยกันล็อคดาวน์ระยะสั้น
โดยค่าเงินอ่อนค่าลงอย่างรวดเร็วในการเข้าซื้อขายในตลาดเอเชียโดยมีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องซึ่งนายกรัฐมนตรีได้กล่าวว่าเมืองโอ๊คแลนด์ซึ่งเป็นเมืองที่มีการรายงานผู้ติดเชื้อ โควิด-19 จะเข้าสู่การล็อกดาวในเวลาเจ็ดวันขณะที่นิวซีแลนด์โดยรวมจะมีการล็อกดาวทั้งหมดเป็นเวลาสามวัน
อย่างไรก็ตามธนาคารกลางนิวซีแลนด์ก็จะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอยู่ที่และในวันที่ 18 สิงหาคม 2021 ซึ่งอาจจะเป็นประเทศแรกในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วขึ้นอัตราดอกเบี้ยหลังจากที่เกิดการระบาดของไวรัส โควิด-19
ซึ่งในส่วนของธนาคารกลางนิวซีแลนด์อาจจะดำเนินการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในวันนั้นกล่าวแต่คำแนะนำที่มาพร้อมกับการดำเนินการในครั้งนี้อาจจะมีแนวโน้มที่มีการปรับขึ้นอีกเล็กน้อยซึ่งอาจจะมีการยืดหยุ่นความเสี่ยงในการรับมือกับผู้ติดเชื้อ โควิด-19 อีกครั้ง
การคาดหวังในครั้งนี้?
การคาดหวังในครั้งนี้อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นเนื่องจากว่าผู้ที่ติดเชื้อ โควิด-19 ของนิวซีแลนด์มีการติดเชื้อเกิดขึ้นต้องจับตาดูว่าจะมีการติดเชื้อมากขึ้นหรือไม่และในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลกระทบอะไรกับสกุลเงินนิวซีแลนด์มากน้อยแค่ไหน
การวิเคราะห์ของราคา
สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องโดยหลังจากที่มีการรายงานผู้ที่ติดเชื้อ โควิด-19 คู่เงิน NZDUSD มีการปรับตัวร่วงลงถึง 1.4% ประกอบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดต้องจับตาดู ในการประกาศนโยบายทางการเงินและอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้จะส่งผลทำให้มีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญในระยะสั้น
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.69140 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.68965 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68808
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69493 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69728 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70139
ยอดขายปลีกสหรัฐอาจจะส่งผลกับ USDสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 17 สิงหาคม 2021 จะมีการรายงานดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกรกฎาคมทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองในการประกาศในครั้งนี้โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 1.3% ประกอบกับดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -0.2% ครั้งก่อน 0.6%
การคาดหวังในครั้งนี้?
นักลงทุนต่างคาดหวังในระยะสั้นโดยเฉพาะการเคลื่อนไหวของดอลล่าร์ซึ่งการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลให้กับดอลล่าร์โดยตรงโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์และครั้งก่อน อาจจะส่งผลถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงซึ่งในรอบวันยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยของ สกุลเงินดอลล่าร์โดยมีการขยับตัวขึ้น +0.08% อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้ยังคงเฝ้าจับตามองเพราะจะส่งผลถึงดอลล่าร์โดยตรง
การวิเคราะห์ของราคา
ทางด้านคู่เงินที่มีการเคลื่อนไหวโดยตรงกับสกุลเงินดอลล่าร์ก็คือ EURUSD ในรอบวันมีการปรับตัวลง -0.13% จากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้ความผันผวนของคู่เงินนี้เกิดขึ้นซึ่งควรที่จะติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17875 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18015 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18267
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17643 แนวรับที่สองก็คือ 1.17478 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17314
ประกาศเงินเฟ้อสหรัฐในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อสหรัฐอเมริกา
เป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอีกครั้งโดยที่ในวันที่ 11 สิงหาคม 2021 ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกรกฎาคมนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะการประกาศในครั้งนี้เนื่องจากว่าจะส่งผลถึงการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ
ในการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาที่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าถ้ามีการประกาศออกมาสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้และครั้งก่อนหรือการประกาศในครั้งนี้ surprise ตลาด อาจจะส่งผลทำให้ราคาดอลล่าร์และราคาทองคำมีการปรับตัวผันผวนโดยเฉพาะดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทองคำอาจจะมีการปรับตัวลงโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD อาจจะไปในทิศทางตรงกันข้ามกับดอลล่าร์
โดยสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งนักลงทุนคาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศเงินเฟ้อในครั้งนี้อาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่ต้องจับตาดูว่าจะสูงกว่าครั้งก่อนหรือไม่ ในรอบวันมีการปรับตัวขึ้น +0.01% และอาจจะมีการพักตัวรอการประกาศตัวเลขที่สำคัญ
EURUSD มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องตามทิศทางของดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยในรอบวันมีการปรับตัวลง -0.01% เช่นเดียวกันดังนั้นการประกาศในครั้งนี้จับตามองว่าจะมีการประกาศอย่างไรซึ่งถ้ามีการประกาศและจะสร้างความผันผวนให้กับคู่เงินนี้นั้นควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงกรอบแนวรับแรกก็คือ 1.17060 แนวรับที่สองก็คือ 1.16666 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16431
แต่ถ้ามีการดีดตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17369 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17607 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17824
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD อย่างไรก็ดีการประกาศเงินเฟ้อยังคงเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากแต่ปัจจัยเสี่ยงมากกว่านั้นก็คือการประกาศออกมา surprise ตลาดไม่ว่าจะเป็นทั้ง surprise ทั้งด้านบวกและด้านลบซึ่งอาจจะส่งผลทำให้มีความผันผวนและแรงเหวี่ยงในการประกาศในครั้งนี้จับตาดูอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURUSD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด