AUDUSD 29-11-64AUDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
USD (ดอลล่าร์สหรัฐ)
NZDUSD 29-11-64NZDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : D-
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
USDJPY 26/11/64 USDJPY ประจำวันที่ 26/11/64
H4
- Demand Zone keylevel
- RSI : Sideway
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
H1
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M30
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M15
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
EURUSD 26-11-64EURUSD ประจำวันที่ 26-11-64
H4
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาขึ้น***
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> Neutral ระวังได
H1
- RSI : Overbought
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Overbought
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ลง
M5
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
กรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้นกรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
สมาชิกคณะกรรมการคนใหม่ของ Bank of Japan กล่าวว่า เธอได้เห็นการค่อยๆ เกิดขึ้นของแนวโน้มราคาที่สูงขึ้นในประเทศที่มีการจับตาอย่างใกล้ชิด แม้ว่าธนาคารจะคงมาตรการกระตุ้นการเงินไว้ก็ตาม
ราคาผู้บริโภคของญี่ปุ่น “ดูเหมือนจะไม่อยู่ที่ศูนย์ตลอดไป” สมาชิกคณะกรรมการ Junko Nakagawa กล่าวเมื่อวันพุธในการสนทนาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสัมภาษณ์ชุดแรกของเธอตั้งแต่เข้าร่วมธนาคารในเดือนมิถุนายน “ความกดดันที่สูงขึ้นกำลังเพิ่มขึ้นเล็กน้อย”
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคิดเห็นของ Nakagawa ชี้ให้เห็นว่าเธอและเพื่อนร่วมงานเห็นว่าอัตราเงินเฟ้อของญี่ปุ่นเริ่มกลับมาคึกคักอีกครั้ง แม้ว่าพวกเขาจะยึดมั่นในมุมมองที่ว่าต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่ราคาจะขึ้นจะบรรลุเป้าหมายที่ 2% ของธนาคาร
ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สูงขึ้นได้ช่วยวัดราคาผู้บริโภคที่สำคัญของญี่ปุ่นในช่วงสองเดือนที่ผ่านมาเป็นครั้งแรกในรอบกว่าหนึ่งปี แต่การเพิ่มขึ้นนั้นห่างไกลจากราคาที่พุ่งขึ้นซึ่งต้องเผชิญกับเศรษฐกิจอื่นและธนาคารกลาง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามในปัจจัยนี้และในข่าวนี้อาจจะต้องจับตาดูว่าจะทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน USDJPY อย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 115.908 แนวต้านที่สองคือ 116.294 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 116.584
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 115.128 แนวรับที่สองก็คือ 114.906 แนวรับสุดท้ายก็คือ 114.603
AUD/USD : ปัจจัยทางด้านเทคนิคอาจมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นแต่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิดซึ่งอาจจะยังคงมีความเป็นไปได้ที่อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นแต่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกัน
โดยถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73664 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73859 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74051
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73381 แนวรับที่สองก็คือ 0.73234 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72917
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของค่าเงินสกุลออสเตรเลียก็คือความเป็นไปได้ของความผันผวนของสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องเฝ้าจับตามองในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของดัชนียอดขายปลีกที่จะมีการประกาศในครั้งนี้
จับตาดัชนียอดขายปลีกสหรัฐจับตาการประกาศดัชนียอดขายปลีกของสหรัฐอเมริกา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกายังคงต้อง เฝ้าจับตามองอย่างมากเนื่องจากว่าจะมีการประกาศออกมาและเป็นการประกาศตัวเลขที่สำคัญที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนนั้นจะมีการฟื้นตัวขึ้นได้จริงหรือไม่โดยเฉพาะการฟื้นตัวขึ้นของอัตราเงินเฟ้อโดยที่การประกาศยอดขายปลีกต้องมีการฟื้นตัวขึ้นไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราเงินเฟ้อต้องจับตาดูอย่างมาก
\
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ในหลายภาคส่วนแต่สิ่งที่น่าสนใจจะมีการประกาศออกมาดังนี้ การประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะมีการประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน 0.8% ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ประกอบกับในส่วนของการประกาศดัชนียอดขายปลีกที่เบนตัวเดียวประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.2% ครั้งก่อน 0.7% ซึ่งจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทุกคู่เงินที่เทียบกับดอลล่าร์และโครงการที่สำคัญก็คือ USDCHF โดยในคู่เงินนี้อาจจะเป็นปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่จะต้องจับตามองอย่างมากจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
\
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92336 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92472 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92641
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.92026 แนวรับที่สองก็คือ 0.91889 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91790
USD/CAD : ทางด้านเทคนิคอาจพักตัวระยะสั้นสกุลเงินแคนาดายังคงมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ทั้งสกุลเงินดอลล่าร์มีการพักตัวถึงแม้ว่าสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ก็ไม่ส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงแต่อย่างใดดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลง แนวรับแรกก็คือ 1.24342 แนวรับที่สองก็คือ 1.24168 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.23936
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.24600 แนวต้านที่สองก็คือ 1.24759 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24939
จับตาการประกาศสำคัญของสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อและผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนตุลาคมทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนระยะสั้นและระยะกลางต้องจับตาดูสองการประกาศนี้โดยเฉพาะการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรืออัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาเทียบเดือนต่อเดือนต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
การคาดหวังในครั้งนี้?
การประกาศอัตราเงินเฟ้อในครั้งนี้นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ได้ว่าการประกาศอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนตุลาคมเทียบเดือนต่อเดือนจะประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน 0.4% และดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.2%
รวมทั้งจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงาน ครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกประกาศออกมา 265K ครั้งก่อน 269K จับตาดูว่าจะเป็น ตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15676 แนวรับที่สองก็คือ 1.15538 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15269
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15986 แนวต้านที่สองก็คือ 1.16138 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.16256
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
[USDJPY] - คาดการณ์ราคาคู่เงิน USDJPY23/10/64
คลื่น 1 ในขาลงจบด้วย Leading Diagonal
23/10/64 เป็นต้นมา
ปรับตัวไซเวย์ออกข้าง คาดว่าจะเป็นflat
. . .หากเป็นการปรับตัวเพื่อลงต่อ
จะต้องไม่ทำนิวไฮ
คำอธิบายอื่นๆ อยู่บนภาพที่แสดงเเล้วครับ
ขอบคุณครับ
ปล.ผมลองพยายามอธิบายแบบคนมีความรู้ แต่. .ก็ทำไม่ได้ :P
โชคดีครับ สตินำพา
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
"พาวเวล" ส่งสัญญาณเฟดไม่เร่งขึ้นดอก"พาวเวล" ส่งสัญญาณเฟดไม่เร่งขึ้นดอกเบี้ย รอตลาดแรงงานขยายตัวเต็มศักยภาพ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
นายเจอโรม พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ได้แถลงต่อสื่อมวลชนภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมนโยบายการเงินเมื่อคืนนี้ว่า เฟดสามารถอดทนต่อการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย พร้อมกับกล่าวว่าเฟดจะเริ่มปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในเดือนนี้ แม้มีความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้นก็ตาม
คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน (FOMC) ของเฟดประกาศว่าจะปรับลดวงเงินในโครงการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) เดือนละ 15,000 ล้านดอลลาร์ เริ่มตั้งแต่เดือนพ.ย. โดยเฟดจะปรับลดวงเงินซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐเดือนละ 10,000 ล้านดอลลาร์ และปรับลดวงเงินซื้อตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจำนอง (MBS) เดือนละ 5,000 ล้านดอลลาร์
การคาดหวังในครั้งนี้?
"การตัดสินใจปรับลดวงเงิน QE ในการประชุมครั้งนี้ ไม่ได้แปลว่าเรากำลังส่งสัญญาณเกี่ยวกับนโยบายอัตราดอกเบี้ย เราจะยังคงทำการทดสอบภาวะเศรษฐกิจอย่างเข้มงวดมากขึ้น ก่อนที่จะตัดสินใจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย โดยเงื่อนไขที่จะนำไปสู่การปรับขึ้นดอกเบี้ยคือการที่ตลาดแรงงานขยายตัวอย่างเต็มศักยภาพ ทั้งในแง่ของตัวเลขจ้างงานและอัตราการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน"
"เราไม่คิดว่า ขณะนี้เป็นเวลาที่จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย และหากเราสามารถสรุปได้ว่า จำเป็นต้องทำเช่นนั้น เราจะใช้ความอดทน แต่เราก็จะไม่ลังเล" นายพาวเวลกล่าว
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงิน USDCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.91485 แนวต้านที่สองก็คือ 0.91684 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.91898
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91049 แนวรับที่สองก็คือ 0.90861 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.90617
ดัชนี PMI ภาคการบริการของสหรัฐสำคัญดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอาจส่งผลให้ดอลลาร์ ผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. วันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มหรือแม้กระทั่งการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนกันยายนเทียบเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มเช่นเดียวกัน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามตลาดยังคงให้ความสำคัญในปัจจัยนี้ประกอบกับนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 62.0 ครั้งก่อน 61.9 ประกอบกับการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนกันยายนเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 1.2% ซึ่งจับตาดูว่าถ้ามีการประกาศออกมาผันผวนจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและค่าเงิน USDJPY อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.104 แนวต้านที่สองก็คือ 114.254 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.428
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.870 แนวรับที่สองก็คือ 113.761 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.510
PMI ภาคการบริการของอังกฤษกับ GBPดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของอังกฤษกับค่าเงินปอนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 ในช่วงเวลา 16:30 น. จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของอังกฤษประจำเดือนตุลาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมของอังกฤษประจำเดือนตุลาคมเช่นเดียวกันซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินปอนด์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
จากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการ ประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 58.0 เท่ากันกับครั้งก่อน ประกอบกับการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมของอังกฤษประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 56.8 เท่ากันกับครั้งก่อนดังนั้นหากมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือใกล้เคียงอาจจะทำให้ค่าเงินปอนด์มีความผันผวนเพียงระยะสั้นเท่านั้น
การวิเคราะห์ของราคา
โดยจากปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะคู่เงิน GBPUSD ที่มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.36043 แนวรับที่สองก็คือ 1.35764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.35495
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.36310 แนวต้านที่สองก็คือ 1.36604 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.36873
จับตาอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์อัตราการว่างานของอยู่ที่นั่นประจำไตรมาสที่สามอาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานและอัตราการมีส่วนร่วมรวมทั้งอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์ประจำไตรมาสที่สามซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 04:45 น. ของวันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 ดังนั้นปัจจัยนี้อาจจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างมากเพราะมีความเป็นไปได้ที่อาจจะสร้างความผันผวนให้กับค่าเงินนิวซีแลนด์
การคาดหวังในครั้งนี้?
ปัจจัยในการสร้างความผันผวนในครั้งนี้ต้องจับตาดูอย่างมากโดยเฉพาะอัตราการว่างานของอยู่ที่นั่นประจำไตรมาสที่สามโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.9% ครั้งก่อน 4.0% และการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่สามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.4% ครั้งก่อน 1.0% ซึ่งถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะค่าเงิน NZDUSD ที่มีความผันผวนจากการประกาศปัจจัยนี้ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71230 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71397 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71507
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70776 แนวรับที่สองก็คือ 0.70540 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70226
GDP สหรัฐประจำไตรมาสที่สามกับค่าเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันพฤหัสที่ 28 ตุลาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สามซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่จะมีการประกาศทั้งดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามประกอบกับทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนรวมทั้งจะมีการประกาศ จำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกานักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.7% ครั้งก่อน 6.7% คือการประกาศรัชนีจีดีพีไตรมาสต่อไตรมาสประจำใจมาสที่สามประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.5% ครั้งก่อน 6.2% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 290K เท่ากันกับครั้งก่อนสำหรับจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนโดยคู่เงินที่สำคัญก็คือ USDJPY แน่นอนว่าอาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.839 แนวต้านที่สองก็คือ 114.103 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.256
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.500 แนวรับที่สองก็คือ 113.224 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.069
จับตา ECB กับนโยบายทางการเงินธนาคารกลางยุโรปจะมีการประกาศนโยบายทางการเงินซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 18:45 น. จะเป็นการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปประกอบกับจะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากกับอาจารย์นี้โดยเฉพาะการลดขนาด QE ของธนาคารกลางยุโรปในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในส่วนของนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมโดยเฉพาะอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสถาบันการเงินที่ฝากไว้กับธนาคารกลางจะประกาศออกมา-0.5% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมข้ามคืนของธนาคารกลางยุโรปจะประกาศออกมา 0.25% เท่ากันกับครั้งก่อนและจับตาดูว่าจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินเป็นเอกสารตัวที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศลดขนาด QE ในเร็ววันนี้ดังนั้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนอย่างมาก
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้ สกุลเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ซึ่งถ้ามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.16213 แนวต้านที่สองก็คือ 1.16485 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.16631
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15962 แนวรับที่สองก็คือ 1.15863 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15749
USD/CHF : เริ่มฟื้นตัวขึ้นจากดอลล่าห์แข็งค่าสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นเนื่องจากในส่วนของดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของ สกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากดัชนีสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้ในเชิงเทคนิคอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.92235 แนวต้านที่สองก็คือ 0.92476 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.92642
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.91917 แนวรับที่สองก็คือ 091827 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.91650
BOC จะมีแถลงนโยบายทางการเงินจะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของ BOC
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางแคนาดารวมทั้งจะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางแคนาดารวมทั้งคำแถลงเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางแคนาดารวมทั้งในช่วงเวลา 22:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางแคนาดาซึ่งจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างมากสำหรับสกุลเงินแคนาดา
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งปัจจัยที่นักลงทุนต่างคาดหวังว่าอาจจะจำเป็นจะต้องจับตาดูก็คือการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางแคนาดาในการลดขนาดของการอัดฉีดเม็ดเงินอีกครั้งประกอบกับการส่งสัญญาณในการขึ้นอัตราดอกเบี้ยในอนาคตดังนั้นอาจจะทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินแคนาดามีความผันผวนและคู่เงิน USDCAD ดูเหมือนว่าจะมีความผันผวนด้วยเช่นเดียวกันจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.24026 แนวต้านที่สองก็คือ 1.24391 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.24652
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.23779 แนวรับที่สองก็คือ 1.23507 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.23270
การประกาศอัตราเงินเฟ้อออสเตรเลียการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียสำคัญอย่างมากในครั้งนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียประจำใจมาสที่สามทั้งไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีโดยนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่าประจำไตรมาสที่สามดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศในครั้งนี้จะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่ ซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 07:30 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศที่สำคัญหลายการประกาศซึ่งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสต่อไตรมาสนั้นจะประกาศออกมา 0.8% เท่ากันกับครั้งก่อนแต่ดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีจะประกาศประมาณ 3.1% ครั้งก่อน 3.8% รวมทั้งการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่าประจำใจมาสที่สามเทียบในมาตรามาตราประกาศออกมา 0.5% เท่ากันกับครั้งก่อนดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศครั้งนี้จะส่งผลถึงกับสกุลออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน AUDUSD ที่ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74799 แนวรับที่สองก็คือ 0.74704 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74559
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75221 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75327 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75422