Mar-a-Lago Accord คืออะไร? (ในเชิงเปรียบเทียบ)จุดเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจโลกสมัยใหม่”
คือประโยคที่มีพลังมาก และสามารถเชื่อมโยงกับ แนวคิดการเทรดแบบโครงสร้างตลาด (Market Structure) ได้อย่างลึกซึ้งเลยครับ
1. Mar-a-Lago Accord คืออะไร? (ในเชิงเปรียบเทียบ)
แม้ไม่มีข้อตกลงที่เรียกชื่อนี้อย่างเป็นทางการในเศรษฐกิจโลกจริง
แต่คำว่า "Accord" (สนธิสัญญา)
"Mar-a-Lago"
🏛️ Mar-a-Lago คืออะไร?
Mar-a-Lago คือรีสอร์ตหรูริมทะเลในรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา
เดิมเป็นคฤหาสน์ส่วนตัวของเศรษฐี
ปัจจุบันเป็นของ โดนัลด์ ทรัมป์ (Donald Trump)
ใช้เป็นที่พัก, สังสรรค์, และ จัดการประชุมลับ/นโยบาย ระหว่างสมัยที่ทรัมป์เป็นประธานาธิบดี
👉 หลายครั้งมีการประชุมระดับสูงกับจีน, ซาอุ, และผู้นำอื่น ๆ โดยไม่ผ่านช่องทางทางการของรัฐ
🔥 แล้วเกี่ยวอะไรกับเศรษฐกิจโลก?
Mar-a-Lago กลายเป็น สัญลักษณ์ของ “อำนาจเงียบ” ที่มีผลกระทบต่อ:
ถูกใช้ในบางวงการเพื่อเปรียบเทียบถึง จุดพลิกผันครั้งใหญ่ของนโยบายโลก
เช่นเดียวกับ “Plaza Accord” ที่เคยเปลี่ยนค่าเงินดอลลาร์ในปี 1985
🔥 แล้วเกี่ยวอะไรกับเศรษฐกิจโลก?
Mar-a-Lago กลายเป็น สัญลักษณ์ของ “อำนาจเงียบ” ที่มีผลกระทบต่อ:
ด้าน ตัวอย่างผลกระทบ
เศรษฐกิจ นโยบายภาษีนำเข้า (เช่น Trade War กับจีน) ถูกหารือที่นั่น
การเงิน ทรัมป์เคยประกาศลดภาษีให้ธุรกิจใหญ่ → ส่งผลต่อ USD และตลาดหุ้น
การเมืองโลก หารือกับประธานาธิบดีจีน (สี จิ้นผิง) ที่นั่น → จุดเริ่ม Trade War
กลยุทธ์พลังงาน ข้อตกลงกับซาอุฯ และ OPEC เรื่องน้ำมัน
ตีความในโลกการเทรด: Mar-a-Lago Accord = CHoCH ครั้งใหญ่ของโลก
เมื่อรายใหญ่ในระบบเศรษฐกิจ (เช่น FED, จีน, สหรัฐฯ, BRICS)
เปลี่ยนพฤติกรรม → โลกก็เปลี่ยนแนวโน้ม
เช่นเดียวกับ CHoCH (Change of Character) → ราคาหยุดแนวโน้มเดิม แล้วเริ่มสร้างโครงสร้างใหม่
2. เชื่อมโยงกับแนวคิดการเทรด: Market Structure / SMC
โลกเศรษฐกิจ → โครงสร้างราคา (SMC)
เปลี่ยนนโยบาย → เปลี่ยนเทรนด์ → CHoCH
เกิดพันธมิตรใหม่ (เช่น BRICS)→ ราคา Break โครงสร้างเดิม (BOS)
มี Liquidity Event เช่น เงินเฟ้อ/สงคราม → เหมือน Rejection หรือ Liquidity Grab
ประเทศใหญ่ถอนทุนจาก USD → เทียบเท่ากับ Bearish Engulfing
3. สอนผ่านแนวเทรด (SMC Style)
ถ้า Mar-a-Lago Accord = CHoCH
แล้วเราควรเทรดยังไง?
✅ กลยุทธ์ “เทรดเมื่อโลกเปลี่ยนโครงสร้าง”
Step 1: หาจุด CHoCH ใน TF ใหญ่ (Macro Trend)
→ ข่าวที่เปลี่ยนวิธีคิดของรายใหญ่ เช่น ดอลลาร์ถูกลดการใช้ในสัญญาระหว่างประเทศ
Step 2: รอโซน OB/FVG ที่โลกจะ “กลับมาเทสต์”
→ เช่น ดอลลาร์กลับมาแข็งชั่วคราว (Pullback) ก่อนจะดิ่งตามโครงสร้างใหม่
Step 3: เข้าไม้ตาม BOS ใหม่
→ มองหาการยืนยันใน TF ย่อย เช่น BOS ย่อย หรือ Break Liquidity
Step 4: วาง SL/TP ตาม Liquidity Zone
→ เป้าหมายคือจุดที่ทุนจะไหลไปหาสินทรัพย์ใหม่ เช่นทอง, บิทคอยน์, พลังงาน
4. สรุปบทเรียนเทรดจาก Mar-a-Lago Accord
แนวคิด ในตลาด
สนธิสัญญาเปลี่ยนโลก CHoCH เปลี่ยนโครงสร้างตลาด
รายใหญ่เปลี่ยน Mindset BOS ยืนยันแนวโน้มใหม่
ประเทศสะสมทองคำแทนดอลลาร์ เหมือนราคากลับเข้า OB เพื่อเปลี่ยนมือ
คนทั่วไปยังไม่รู้ทัน เหมือน รายย่อย ติด SL ก่อนกลับทิศ
✅ Mindset ผู้เทรดเชิงลึก
“อย่ารอดูตอนโลกเปลี่ยนไปแล้ว
ให้สังเกตตั้งแต่ตอนที่พฤติกรรมรายใหญ่เริ่มเปลี่ยน”
"เราจะไม่รู้ว่าอะไรเกิดขึ้นที่ Mar-a-Lago…
แต่เราจะเห็นพฤติกรรมของรายใหญ่สะท้อนในราคาเสมอ"
"กราฟไม่โกหก – ถ้าอ่านโครงสร้างออก คุณจะรู้ว่าโลกกำลังเปลี่ยน โดยไม่ต้องรอข่าว"
ช่วยกดติดตามด้วยนะ ผมจะมาวิเคราห์กราฟ ด้วยระบบSMC
#smcลึกแต่เข้าใจง่าย #เทรดแบบไม่โดนแดก #oakmastertrader
จิตวิทยาการเทรด
Pareto Principle กฎ 80/20 ทำน้อยแต่ได้มากPareto Principle
กฎ 80/20 ทำน้อยแต่ได้มาก
👏👏👏 สวัสดีครับ กลับมาพบเจอกันในบทความรอบโลกกันอีกเช่นเคย วันนี้แอดพาทุกท่านไปรู้จักกับ กฎ 80/20 ที่ช่วยให้เราจัดลำดับความสำคัญและการบริหารเงิน บริหารเวลาได้แบบคุ้มค่าที่สุด มันเป็นอย่างไร แล้วใช้อย่างไร ตามมาอ่านบทความด้านล่างได้เลยครับ
กฎ 80:20 หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กฎพาเรโต” (Pareto principle) หมายถึงผลลัพธ์ในสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น 80 % โดยมาจากตัวแปร 20 %
หลักการพาเรโตเป็นเครื่องมือทางสถิติที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางจากการสังเกตการณ์ของนักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตาลี นามว่า Vilfredo Pareto เมื่อปี 1906 ว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ในอิตาลีมาจากประชากรจำนวน 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งปรากฏว่าอัตราส่วน 80:20 นี้เป็นสามารถใช้ได้จริงและเกิดขึ้นจริงในวงการอื่นๆด้วยเช่นกัน และยังสามารถนำมาปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี
แต่หลักการพาเรโตนั้นมักถูกเข้าใจผิดว่า หมายถึง การทำงานน้อยๆ ผลิตน้อยๆ และใช้เวลาน้อยๆ แต่ได้ผลลัพธ์ที่มาก
จริงๆแล้วหลักการพาเรโต หมายถึง ทำงานอย่างฉลาดเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีและมีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้เหลือเวลาไว้ไปทำอย่างอื่นที่มีประโยชน์
สิ่งที่สำคัญที่สุดของหลักการ 80/20 ก็คือ ความสามารถในการวางเป้าหมายและทำให้ได้ แต่ขั้นตอนในการทำอาจไม่ต้องทำถึง 100 % หรือ 80 % แต่ผลลัพธ์ที่ได้นั้นได้มากถึง 80-100 % ซึ่งวิธีการที่ว่าก็คือ 20% ของการทำงานนั่นเอง
“การวางแผนจึงเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับหลักการ 80/20 “
👉👉👉 หรือจะให้พูดง่ายๆก็คือการลงแรงด้วยทุน เพียงน้อยนิด 20 % แต่ได้ผลลัพธ์หรือ กำไร มากถึง 80 % และที่สำคัญ ไอ่เจ้า กฎ 80 /20 ที่ว่านี้ยังสามารถนำไปปรับใช้ได้กับทุกๆสถานการณ์จนอาจเรียกได้ว่าเป็น “กฎครอบจักรวาล” ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริหารจัดการงาน ความสัมพันธ์และการติดต่อกับผู้คน หรือแม้แต่ในเรื่องการดูแลตัวเอง เช่น การกิน การนอน การออกกำลังกาย เป็นต้น
6 วิธีในการนำหลักการพาเรโต ไปใช้
1. ระบุงานที่สำคัญจริงๆที่ควรทำก่อนเป็นอันดับแรก เพราะในชีวิตจริงงานด่วนงานรีบ แต่ไม่สำคัญก็มีเยอะและแทรกงานสำคัญไปหมดเลย ทำให้เราสับสนได้ง่ายๆ
2. หาให้เจอว่ามีความสัมพันธ์ทางธุรกิจใด ที่ส่งผลให้องค์กรของคุณไปข้างหน้าได้ไกลกว่าเดิม และงานไหนที่ให้ผลตอบแทนและผลลัพธ์ที่คุ่มค่ามากที่สุด เพราะเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ดี ทำให้การดำเนินงานง่ายและสะดวกขึ้นและเจริญขึ้นได้ง่าย
3. วางแผนการทำงาน อะไรที่ทำให้งานไม่เดิน กำจัดสิ่งรบกวน 20% เพื่อโฟกัสกับงาน 80 % หาวิธีหรือกระบวนการทำงานที่สามารถลดบางขั้นตอนที่ไม่จำเป็นออกไป
4. ไม่ต้องมีเป้าหมายเยอะ มีแค่เป้าหมายเดียวแล้วบรรลุเป้าหมายนั้นให้ได้ เพราะการมีเป้าหมายเยอะทำให้ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าอะไรคือเป้าหมายที่สำคัญจริงๆ เพราะทุกอย่างดูเหมือนจะสำคัญไปหมด ไม่รู้จะโฟกัสอะไรก่อน
5. เวลาในการทำงานก็สำคัญ หาให้เจอว่างานอะไรที่ใช้เวลาไปกับมันเยอะ แต่ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย เช่นการตอบอีเมลล์ลูกค้าเยอะๆหลายฉบับ แทนที่จะใช้เวลาเพียง 20 นาทีในการเจรจาหารือกับลูกค้าหรือที่ปรึกษา เพื่อจบในครั้งเดียว
6. งานที่ไม่ถนัด อย่าลังเลที่จะมองหาความช่วยเหลือ เป็นไปไม่ได้ที่คนเพียงคนเดียวจะถนัดทุกอย่าง และเป็นไปไม่ได้เช่นกันที่งานหนึ่งงานจะสำเร็จได้ด้วยคนเพียงคนเดียว โดยเฉพาะหากเป็นงานเร่งด่วนจะยิ่งส่งผลให้งานนั้นเกิดข้อผิดพลาดได้ง่ายขึ้นด้วย ฉะนั้นอย่าลังเลที่จะมองหาความช่วยเหลือจากคนที่ถนัดหรือมีเวลามากกว่าเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
👽👽👽เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับกฎ 80/20 ของพาเรโต ที่สามารถนำไปใช้และปฎิบัติได้จริง เพราะมันเป็นค่าเฉลี่ยที่เกิดขึ้นจริงๆในหลายๆองค์กรและชีวิตประจำวัน ซึ่งเราก็สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเทรดได้ด้วยเช่นกันนะฮะ เราเอาไปใช้กันดูนะฮะ จัดระเบียบงานและความสำคัญให้ดี รับรอง่าชีวีสุขสันต์แน่นอนครับผม
สนับสนุนบทความนี้ด้วยการส่งเพชร 💎ส่งดาว🌟 และกดติดตาม
สังโยชน์ 10 กับจิตวิทยาการลงทุนสังโยชน์ 10
1. ความไม่รู้
2. ความคิดไปเอง
3. ความถือดีถือตน
4. ความยึดติดในทฤษฏีใดทฤษฏีหนึ่ง
5. ความยึดติดในกลยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่ง
6. ความโกรธอยากเอาคืนตลาด
7. ปล่อยให้ความโลภ หรือ ความกลัวเข้าครอบงำ
8. ไม่ทำตามกฎ
9. มีความสงสัยในกลยุทธ์ที่ตนวางเอาไว้โดยที่ยังไม่เห็นผลลัพธ์
10. ความยึดมั่นถือมั่น