การประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตนิวซีแลนด์จับตาการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ดัชนีราคาผู้ผลิตของนิวซีแลนด์ที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 05:45 น. อาจจะส่งผลกระทบให้กับสกุลเงินนิวซีแลนด์ไม่มากก็น้อยโดยที่จะมีการประกาศออกมาประจำไตรมาสที่หนึ่ง
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตสำหรับปัจจัยการผลิตประจำใจมาสที่หนึ่งเทียบไตรมาสต่อไตรมาสนั้นนักวิเคราะห์ยังไม่มีการคาดการณ์แต่ครั้งก่อนอยู่ที่ 1.1% และดัชนีราคาผู้ผลิตสำหรับผลิตผลครั้งก่อนประกาศออกมา 1.4%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน NZDUSD ในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.62831 แนวรับที่สองก็คือ 0.62606 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.62385
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.63127 แนวต้านที่สองก็คือ 0.63340 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.63468
NZD (ดอลลาร์นิวซีแลนด์)
แผนเทรด NZD/CAD แผนเทรด NZD/CAD เเนวโน้มมอง ลง จาก TF D H4 ครั้งนี้ สวนเทรน ราคาได้ ปรับตัวลงมาพร้อมเกิด เเพทเทิร์น Falling wedge เเละมาพร้อมกับ Bullish Divergence ครั้งนี้ ก็เกิดตรงกับเเนวรับ TF D เเต่อยู่ไกลมากก ครั้งนี้เหมือนเดิม เเนะนำ รอเกิดสัญญาณกลับตัวเเท่งเทียน ก่อน หรือ รอ ราคาเบรค ออกนอกกรอบเเพทเทิร์น เเล้ว ค่อยรอหาจังหวะเข้า ตอนรีเทส ครั้งนี้สวนเทรน ต้องระวัง
เหตุผลมองขึ้น
- Falling wedge
- Bullish Divergence
- Major Price Structure
หมายเหตุ
- ครั้งนี้ปัจจัยเข้าน้อย เเนะนำรอเกิดสัญญาณยืนยันก่อน ที่บอกตอนเเรก
แผนเทรด NZD/JPY แผนเทรด NZD/JPY เเนวโน้มมองลงจาก TF D H4 ครั้งนี้ตามเทรน นะตอนนี้ราคาได้ ทิ้งโซน DP หรือ OB zone ทิ้งไว้ โดยมีนัยยะสำคัญโดยมีการที่ราคาเบรคออกจาก Base ด้วยเเท่งเทียน Im balance
เหตุผลมองลง
- ตามเทรน
- OB zone
- fibo 78.6-88.6
หมายเหตุ
- เเนะนำรอสัญญาณเข้า จาก LTF เช่น รอการเทรนเทรน ในเทรนย่อ เเล้วหาจังหวะเข้า ครั้งนี้ปัจจัยเข้าน้อย เเนะนำรอสัญญาณ ใน LTF ก่อนดีกว่า
การแถลงข่าวของผู้ว่าการธนาคาร RBNZจับตาถ้อยแถลงรายงานความมั่นคง RBNZ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 06:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีถ้อยแถลงของผู้ว่าการธนาคารกลางนิวซีแลนด์หรือเรียกว่า RBNZ พี่จะมีถ้อยแถลงในช่วงเวลาดังกล่าวรวมทั้งจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนและการสอบถามจากสื่อมวลชนถึงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางนิวซีแลนด์แน่นอนความสนใจนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์หลายสำนักเดี๋ยวคงมีการคาดการณ์ออกมาว่าอาจจะมีการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกอบกับอาจจำเป็นที่จะต้องใช้นโยบายทางการเงินแบบกระชับอีกครั้งจึงอาจจำเป็นที่จะต้องมีการจับตาดูในการแถลงในครั้งนี้
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในการแถลงในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDJPY อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 83.409 แนวรับที่สองก็คือ 82.714 แนวรับที่สองก็คือ 82.288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 84.036 แนวต้านที่สองก็คือ 84.426 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 84.770
อัตราการว่างานของนิวซีแลนด์ติดตามการประกาศอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่หนึ่งของนิวซีแลนด์และดัชนีอัตราค่าจ้างแรงงานประจำไตรมาสหนึ่งของนิวซีแลนด์ในช่วงเวลาการประกาศในเวลา 05:45 น. ตามเวลาประเทศไทยจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนซึ่งการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่หนึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% เท่ากันกับครั้งก่อนและการประกาศอัตราการว่างานประจำไตรมาส ที่หนึ่งนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศออกมา 3.2% เท่ากันกับครั้งก่อนจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การวิเคราะห์ของราคา
โดยการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.64678 แนวต้านที่สองก็คือ 0.64937 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.65378
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.64139 แนวรับที่สองก็คือ 0.64036 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.63849
แผนเทรดสั้น NZD/JPY แผนเทรดสั้น NZD/JPY เเนวโน้มมองลง จาก TF H4 H2 ครั้งนี้ตามเทรน นะตอนนี้ราคาได้ QMC ทิ้ง ซึ่งเป็น QM ที่มีนัยะการเข้าสำคัญมาก เพราะ มี Supply zone OB zone ที่ตรงไหล่ซ้านของ QMC เเละตรงกับ fibo 78.6 เหมือนเเผนเทรดสั้น ที่ลงเมื่อกี้ เลย รูปเเบบๆ เกิดเหมือนๆ กัน
เหตุผลมองลง
- ตามเทรน TF H4 H2
- QMC
- Supply zone
- OB zone
- SR
- fibo 78.6
หมายเหตุ
-
แผนเทรด NZD/CADแผนเทรด NZD/CAD เเนวโน้มมองลง จาก TF D H4 ครั้งนี้สวนเทรน นะตอนนี้ราคาก็ได้ปรับตัวลงมา เเละได้ทำสัญญาณกลับตัว เป็นเเพทเทิร์น Falling Wedge ที่มาพร้อมกับ Bullish Divergence เเละตรงกับเเนวรับ TF D หรือ H4 ซึ่งอยู่ไกลมาก ครั้งนี้ เเนะนำรอเกิดสัญญาณ การเกิด Reject หรือเเท่งเทียนสัยญาณกลับตัวอื่นๆ ก่อน เเล้วค่อยหาจังหวะเข้า
เหตุผลมองขึ้น
1.Falling Wedge
2.Bullish Divergence
3.Major Price Structure
หมายเหตุ
-ครั้งนี้ เเนะนำรอเกิดสัญญาณ การเกิด Reject หรือเเท่งเทียนสัยญาณกลับตัว เเล้วค่อยเข้า
อัตราเงินเฟ้อนิวซีแลนด์การประกาศอัตราเงินเฟ้อของนิวซีแลนด์ที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของนิวซีแลนด์ ประจำไตรมาสที่หนึ่งทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้จะมีการประกาศออกมาในช่วงเวลา 05:45 น. นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศ ดัชนีอัตราเงินเฟ้อประจำไตรมาสที่หนึ่ง เทียบไตรมาสสวยมากประกาศออกมา 2.0% ครั้งก่อน 1.4% และปีต่อปี 7.1% ครั้งก่อน 5.9%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ NZDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญไรก็คือ 0.68092 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68272 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68473
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.67816 แนวรับที่สองก็คือ 0.67617 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67448
การตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของ RBNZสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 09:00 น. จะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกอบกับจะมีถ้อยแถลงของนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ซึ่งแน่นอนว่าต่างจับตามองโดยเฉพาะสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างเป็นพิเศษใน ครั้งนี้
คุณสามารถซื้อขาย " NZDUSD " ใน MT5 และ FBSTrader !
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ในครั้งนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 1.00% เป็น 1.25% รวมทั้งถ้อยแถลงที่อาจจำเป็นที่จะต้องติดตามโดยเฉพาะมุมมองของการใช้นโยบายทางการเงินแบบเข้มงวดมากขึ้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
คู่เงินที่น่าสนใจโดยเฉพาะคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินนิวซีแลนด์ก็คือ NZDUSD ดูเหมือนว่าจำเป็นจะต้องจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ng
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.68463 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68631 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68879
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68132 แนวรับที่สองก็คือ 0.67884 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67764
ยืนยัน GBPNZD กลับตัวเป็นขาลงแล้วหลังจากที่ขึ้นไป 2.05 และไม่ผ่าน จนมีแนวรับล่าสุดที่ 2.022 จากนั้นได้ขึ้นไปที่ 2.048 แล้วทำ Higher Low เรื่อยๆ จนวันนี้ได้ทะลุแนวรับ 2.022 ไปแล้ว
ทั้งนี้ยังต้องเฝ้าดูปัจจัยอื่นๆ เช่น ข่าว NZD, GBP และข่าวนอกตาราง โดยแนวต้านต่อไปคือ 2.006 ถ้าทดสอบหรือทะลุสำเร็จ 2.022 จะเปลี่ยนเป็นแนวรับ
วิเคราะห์เดิมเมื่อต้นเดือน ก.พ.
- SL 2.053 (สูงสุดเดิม)
- จุดเริ่มแนะนำ 2.035-2.048 (รอราคาทะลุลงไปหรือดีดกลับ)
- TP1 2.00650
- TP2 1.97125
- TP3 1.953
GBPNZD ขึ้นระยะสั้นเนื่องจาก GBPNZD ได้ลงอย่างรุนแรงใน 2 วันเพราะ NZD แข็งค่าตั้งแต่ต้นเดือน ก.พ. ทำให้เกิด Oversold ที่ H4, D1 และยังไม่มีการทำ Lower High ตั้งแต่ 2.03
SL : 2 (0%) ถ้าหลุดลงไปคือลงต่อ
จุดเข้า : 2.0023 (23%) โดบประมาณ
TP : ไม่ควรต่ำกว่า 50% ของ Fibonacci ตามภาพ
แนวต้าน : 2.076, 2.01 และ 2.015
แนวรับ : 2, 1.997, 1.993
การประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์การประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์รวมทั้งปริมาณนำเข้าส่งออก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 04:45 น. จะมีการประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์รวมทั้งปริมาณนำเข้าส่งออกประจำเดือนธันวาคมซึ่งจะเป็นการประกาศทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามการประกาศเลยครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะการประกาศดุลการค้าเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนธันวาคมซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -700M ครั้งก่อนก็คือ -864M อาจจะทำให้ปัจจัยในการคาดการณ์ในครั้งนี้ส่งผลทำให้นิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นประกอบกับจะมีการประกาศปริมาณนำเข้าส่งออกประจำเดือนธันวาคมเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
ในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน NZDJPY ซึ่งอาจจะจำเป็นที่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 76.423 แนวต้านที่สองก็คือ 76.670 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 76.936
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 76.108 แนวรับที่สองก็คือ 75.757 แนวรับสุดท้ายก็คือ 75.526
แผนเทรด NZD/JPYแผนเทรด NZDJPY เเนวโน้ม เป็นเทรนขาขึ้น ครั้งนี้ตามเทรน ราคาได้ทิ้งโซน QM ไว้ เเละราคายังไม่เคยมาถึง เเละตอนนี้ราคาได้ปรับตัวลงมาถึงโซน ได้ ก่อนเข้า รอสัญญาณกลับตัวก่อนเข้า เช่น เเท่งเทียน Reject หรือสัญญาณเเท่งเทียนกลับตัวต่างๆ
เหตุผลมองขึ้น
1.ตามเทรน
2.QML
3.อยู่เเถวเทรนไลน์ ของ TF ใหญ่
แผนเทรด GBP/NZDแผนเทรด GBPNZD เเนวโน้มเป็นขาขึ้น ครั้งนี้สวนเทรน เเต่ครั้งนี้มีปัจจัยที่สำคัญที่ราคาจะมีโอกาสปรับตัวลง ถ้าเราดูใน TF D RSI อยู่ในโซน 70+ ราคามีเเรงซื้อมากเกินไป ราคามีโอกาสปรับตัวลงได้ นะตอนนี้ราคาได้ QML ทิ้งไว้เเละถึงโซน supply zone RBD เเละตอนนี้ราคาก็ได้ปรับ ตัวมาถึง โซน QML เเล้ว สามรถเข้า sell ได้ ตอนนี้ เเละเอาให้ชัว รอสัญญาณ กลับตัวอีกที ก่อนก็จะดีเช่น Reject หรือ สัญญาณ เเท่งเทียนกลับตัว อื่นๆ
เหตุผลมองลง
1. RSI 70+ TF D1 เเต่เกิดใน ขาขึ้นอาจไม่ดีเท่าไหร่
2. QML
3. supply zone
4. RBD
5. Rising Wedge
แผนเทรด NZD/JPY แผนเทรด NZDJPY เเนวโน้มมองขึ้นอยุ่ในระยะยาวเป็นเทรนขาขึ้น ครั้งนี้สวนเทรน ราคาได้ทำเเพทเทิร์น Double Top พร้อมกับทำ supply zone DBD ทิ้งไว้ หากราคาปรับตัวขึ้นมา สามารถหาจังหวะเข้าได้ หรือจะรอสัญญาณยืนยันอีกทีเช่น Reject หรือ สัญญาณ เเท่งเทียน อื่นๆ
เหตุผลมองลง
1. Double Top
2. supply zone
3. DBD
แผนเทรด NZD/JPY แผนเทรด NZDJPY เทรดสั้นครั้งนี้ เเนวโน้มมองขึ้นอยุ่ในระยะยาวเป็นเทรนขาขึ้น ครั้งนี้สวนเทรน ราคาได้ทำเเพทเทิร์น Rising Wedge พร้อมกับทำ Bearish Divergence : การเข้าจะรอให้ราคาเบรคกรอบRising Wedge เเละรอราคาขึ้นมารีเทส ก่อนก็ได้ ถ้าจะเอาให้ชัว ก่อนเข้ารอสัญญาณกลับตัวอีกทีก่อนก็จะดี เช่น Reject หรือ สัญญาณ เเท่งเทียนกลับตัว อื่นๆ
เหตุผลมองลง
1. เเพทเทิร์น Rising Wedge
2. Bearish Divergence
3. supply zone
4. DBD
แผนเทรด NZD/CHFแผนเทรด NZDCHF เเนวโน้มยังมองลงใน TF ใหญ่ ครั้งนี้เล่นสวนเทรน เหมือนเดิมราคาค่อยๆปรับตัวลงมา ทำเเพทเทิร์น Falling Wedge ที่ไม่ค่อยสวยเท่าไหร่ ครั้งนี้ไม่มาพร้อมกับ Bullish Divergence ควรระวัง ตอนนี้ราคาได้เบรคกรอบ เเพทเทิร์น Falling Wedge ออกไปเเล้ว รอให้ราคาลงอีกนิด กลับมารีเทส เเละหาสัญญาณกลับตัวอีกที เช่น Reject หรือ สัญญาณ เเท่งเทียน อื่นๆ
เหตุผลมองลง
1. Falling Wedge
2. Demand zone
3. DBR
4. fibo 50.0
นิวซีแลนด์พบผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอนในชุมชนรายแรกของประเทศนิวซีแลนด์พบผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอนในชุมชนรายแรกของประเทศ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
กระทรวงสาธารณสุขนิวซีแลนด์รายงานว่า นิวซีแลนด์พบผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอนรายแรกในชุมชน
กระทรวงสาธารณสุขระบุว่า ผู้ติดเชื้อรายดังกล่าวเดินทางจากสหราชอาณาจักรมาถึงนิวซีแลนด์เมื่อวันที่ 16 ธ.ค. และได้รับการฉีดวัคซีนชนิด mRNA ครบโดสแล้ว โดยในระหว่างการกักตัว 7 วันแรก เขามีผลตรวจเชื้อเป็นลบทั้งหมด และเพิ่งมีผลตรวจออกมาเป็นบวกในวันที่ 9 หลังเดินทางมาถึง
การคาดหวังในครั้งนี้?
แถลงการณ์เสริมว่า ผู้ติดเชื้อรายดังกล่าวอยู่ในเมืองโอ๊คแลนด์ในระหว่างวันที่ 26-27 ธ.ค. แต่มั่นใจว่าบุคคลดังกล่าวมีอัตราการแพร่เชื้อต่ำ
ทั้งนี้ นิวซีแลนด์ยังไม่เคยพบผู้ติดเชื้อโอมิครอนในชุมชนมาก่อน แต่พบผู้ติดเชื้อ 17 รายในสถานที่กักตัวที่รัฐจัดให้
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นดังนั้นคู่เงิน NZDUSD อาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 0.68088 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68237 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68325
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.67894 แนวรับที่สองก็คือ 0.67769 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67624
แผนเทรด NZD/CAD แผนเทรด NZDCAD เเนวโน้มมองลงใน D1 H4 H1 เทรนลง ราคาได้ปรับตัวขึ้นมาเรื่อยๆ อยู่ในกรอบ มองว่าเป็นเเพทเทิร์น Bearish Flag มาพร้อมกับ Bearish Divergence : เเล้วราคาก็ได้ปรับตัวลงเบรค ออกจากกรอบราคา หรือเเพทเทิร์น เวลาเข้ารอให้ราคาขึ้นมาเทส โซน fibo 50.0-61.8 เเละรอสัญญากลับตัวมารองรับอีกที เช่น Reject หรือ สัญญาณ เเท่งเทียนอื่นๆ
เหตุผลที่เข้า
1. D1 H4 H1 เทรนลง
2. เเพทเทิร์น Bearish Flag
3. Bearish Divergence
4. fibo 50.0-61.8
5. HVN ปริมาฌเเนวรับ
6. supply zone
7. DBD
แผนเทรด NZD/CADเเผนเทรด NZDCAD เเนวโน้มมองลง วิ่งอยู่ในกรอบเทรนไลน์ ครั้งนี้เล่นตามเทรน D1 H4 H1 ทำให้มีโอกาสลงสูง ตอนนี้ราคาได้ปรับตัวขึ้นมาทำ เเพทเทิร์น Rising Wedge พร้อมกับ Bearish Divergence สามารถ Sell ได้ตอนนี้เเละ ได้RR เยอะ เเต่ก็มีโอกาสโดน sl บ่อยได้เช่นกัน เอาให้ชัวรอให้ราคาเบรคกรอบ Rising Wedge เเล้วขึ้นกับมารีเทส เเละรอสัญญาฌกลับตัวต่างๆ มารองรับอีกที เช่น รอสัญญาณ Reject หรือ สัญญาณ เเท่งเทียนอื่นๆ
เหตุผลมองลง
1.D1 ขาลง H4 ขาลง H1 ลง
2.เเพทเทิร์น Rising Wedge
3. Bearish Divergence
4. HVN หรือปริมาณ เเนวรับต้าน
5.fibo 50.0-61.8
6. supply zone
7. RBD
NZDCAD (H4) - SHORT SET UP ความคิดเห็นในเชิงเทคนิค💬💬
NZDCAD ราคาขึ้นไปทดสอบแนวต้านของ Ascending Channel และ STOCH และมีแนวโน้มขาลง ทำให้ราคามีโอกาสที่จะยังคงอยู่ในแนวโน้มขาลงอย่างต่อเนื่อง
ทางเลือกในการลงทุน💭💭
ENTRY - ราคาต่ำกว่า 0.86300 ให้เข้า SELL
โดยกำหนดเป้าหมายราคา
TP1 - 0.86051✅
TP2 - 0.85491 ✅✅
STOPLOSS - 0.87009 💢
💢ปล.เมือราคาถึงแนว 0.86051
เลื่อนเส้น Stoploss -ขึ้นมาตำแหน่งที่เปิด เพื่อป้องกันการขาดทุน
❗❗Disclaimer : GOLINKFX ขอเตือนคุณว่าข้อมูลที่อยู่ในเว็บไซต์นี้ไม่จำเป็นต้องเป็นข้อมูลตามเวลาจริงหรือถูกต้องเสมอไป CFDs (หุ้น ดัชนี ฟิวเจอร์ส) และราคา Forex ทั้งหมดไม่ได้มาจากการแลกเปลี่ยนแต่มาจากผู้ดูแลสภาพคล่อง และราคาจึงอาจไม่ถูกต้องและอาจแตกต่างจากราคาตลาดจริง ซึ่งหมายความว่าราคาเป็นสิ่งบ่งชี้และไม่เหมาะสำหรับวัตถุประสงค์ในการซื้อขาย ดังนั้น GOLINKFX จะไม่รับผิดชอบต่อความสูญเสียในการซื้อขายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูลนี้
golinkfx หรือใครก็ตามที่เกี่ยวข้องกับ golinkfx จะไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียหรือความเสียหายอันเป็นผลมาจากการพึ่งพาข้อมูลรวมถึงข้อมูล ใบเสนอราคา แผนภูมิ และสัญญาณซื้อ/ขายที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดรับทราบอย่างครบถ้วนเกี่ยวกับความเสี่ยงและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายในตลาดการเงิน ซึ่งเป็นหนึ่งในรูปแบบการลงทุนที่เสี่ยงที่สุด
แผนเทรด NZD/JPYเเผนเทรด NZDJPY เเนวโน้วขาขึ้น เทรนตามเทรน ก่อนหน้าที่ราคาได้ทำเเพทเทิร์น QML ไว้นานเเล้วเเเต่ยังไม่มีราคาเคยมาทดสอบเลย การเทรนครั้งนี้รอราคามาโซนQML เเล้วหาสัญญาฌกลับตัวใน tf ย่อย เช่น H4 H41 M30 หาเเพทเทิรน์ต่างๆ หรือสํญญาฌกลับเเท่งเทียนต่างๆหรือเกิด Divergence
เหตุผลมองขึ้น
1.เทรนขาขึ้น D1
2.QML