อัตราเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซนจับตาอัตราเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศตัวเลขอัตราเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซนหรือเรียกว่าดัชนีราคาผู้บริโภครวมทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของกลุ่มยูโรโซนที่จะมีการประกาศในเดือนพฤศจิกายนทั้งปีต่อปี และเดือนต่อเดือนจับตาดูว่าจะมีการประกาศที่สำคัญอย่างไรและจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามตลาดจับตามองปัจจัยนี้ในระยะสั้นแต่นักวิเคราะห์หลายสำนักก็ยังคงมีการคาดการณ์ในปัจจัยนี้โดยเฉพาะการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาเท่ากันกับครั้งก่อนก็คือ 4.9% แต่ในส่วนของการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบปีต่อปี นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.6% จับตาดูการประกาศนี้อย่างใกล้ชิด
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะ EURJPY อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้าเกิดมีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 128.971 แนวต้านสองก็คือ 129.320 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 129.633
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1287564 แนวรับที่สองก็คือ 128.185 ในรับสุดท้ายก็คือ 127.962
Jpy
การปรับอัตราดอกเบี้ยของ BOJจับตาดูการปรับอัตราดอกเบี้ยของ BOJ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
เมื่อช่วงเวลาที่สำคัญที่จะมีการปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่น โดยเฉพาะจะมีการแถลงการณ์ต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางญี่ปุ่นประกอบกับจะมีการปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นซึ่งต้องเข้าใจว่าแต่ช่วงนี้อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นแต่อาจจะต้องจับตาดูนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามยังคงต้องเฝ้าจับตาดูว่าในส่วนของธนาคารกลางญี่ปุ่นอาจจะมีการปรับนโยบายทางการเงินหรือไม่แต่... อย่างไรก็ดีนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าเดี๋ยวคงจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมที่ -0.10% รวมทั้งอาจจะยังคงมีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินเหมือนเดิมซึ่งอาจจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวนโดยเฉพาะ USDJPY หรือความผันผวนนี้อาจจะก่อให้เกิดแนวรับแนวต้านที่สำคัญจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.754 แนวต้านที่สองก็คือ 113.907 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.013
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.063 แนวรับที่สองก็คือ 113.537 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.429
ปรับอัตราดอกเบี้ยของ BOEการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:00 น. จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษซึ่งจะมีการบวชในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยและคงอัตราดอกเบี้ยไว้โดยเฉพาะจะมีการรายงานการประชุมของคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การปรับอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้อาจจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมที่ 0.10% และในการโหวตเพื่อคงอัตราดอกเบี้ยไว้จากคณะกรรมการนโยบายทางการเงินนั้นจะอยู่ที่ 7-2-0 ซึ่งต้องติดตามว่าสกุลเงินปอนด์จะมีความผันผวนระยะสั้นหรือไม่โดยที่ยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณหรือมาตรการ QE อยู่ในระดับเดิมก็คือ 875B ซึ่งเป็นการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะค่าเงิน GBPJPY ที่อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 151.357 แนวต้านที่สองก็คือ 151.583 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 151.727
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 151.078 แนวรับที่สองก็คือ 150.932 แนวรับสุดท้ายก็คือ 150.692
GDP กับการประกาศของกลุ่มยูโรโซนจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของกลุ่มยูโรโซนประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 17:00 น. จะมีการประกาศรายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานของกลุ่มยูโรโซนรวมทั้งการประกาศดัชนีจีดีพีของกลุ่มยูโรโซนประจำไตรมาสที่สามทั้งไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีรวมทั้งจะมีการประกาศดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจของกลุ่มยูโรโซนประจำเดือนธันวาคมเช่นเดียวกัน
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งการประกาศในหลายการประกาศอาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสไตรมาสจะประกาศออกมา 2.2% ครั้งก่อน 2.1% และ การประกาศดัชนีจีดีพีเทียบปีต่อปีประจำไตรมาสที่สามจะประกาศออกมา 3.7% ครั้งก่อน 14.2%
โดยจะมีการประกาศดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจของกลุ่มยูโรโซนประจำเดือนธันวาคมด้วยเช่นเดียวกันซึ่งครั้งก่อนอยู่ที่ 25.9 และการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสไตรมาสนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.9% ครั้งก่อน 0.7%
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวน ในระยะสั้นส่วนคู่เงินที่จำเป็นที่จะต้องติดตามก็คือ EURJPY ซึ่งในคู่เงินนี้ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 128.274 แนวต้านที่สองก็คือ 128.503 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 128.676
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 127.846 แนวรับที่สองก็คือ 127.534 แนวรับสุดท้ายก็คือ 127.392
Fed’s Mester ต้องการให้ Taper เร็วขึ้นFed’s Mester เปิดให้ Taper เร็วขึ้นเพื่อชิงพื้นที่เพื่อขึ้นอัตราดอกเบี้ย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ประธานธนาคารกลางสหรัฐแห่งคลีฟแลนด์กล่าวว่าเธอ “เปิดกว้างมาก” ในการปรับลดการซื้อสินทรัพย์ของเฟดด้วยอัตราที่เร็วขึ้น เพื่อให้สามารถขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้สองครั้งในปีหน้าหากจำเป็น
“การทำให้เรียวเร็วขึ้นคือการซื้อประกันและทางเลือก ดังนั้นหากอัตราเงินเฟ้อไม่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในปีหน้า เราก็อยู่ในฐานะที่จะสามารถขึ้นได้ถ้าจำเป็น” เมสเตอร์กล่าวในการให้สัมภาษณ์กับ Kathleen Hays เกี่ยวกับ Bloomberg ทีวีวันพุธ. เธอกล่าวว่าข้อมูลล่าสุด “ได้สนับสนุนกรณีดังกล่าว ดังนั้นฉันจึงเปิดกว้างมากที่จะพิจารณาการเรียวที่เร็วขึ้น”
ธนาคารกลางสหรัฐกำลังกำหนดที่จะยุติโครงการซื้อสินทรัพย์ในช่วงกลางปี 2565 ภายใต้แผนงานที่ประกาศเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนเพื่อชะลอการซื้อ 15 พันล้านดอลลาร์ต่อเดือน แต่เฟดสามารถลงคะแนนให้เร่งกระบวนการเรียวเพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งได้เร่งตัวขึ้นในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาและมีความต่อเนื่องมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ ซึ่งรวมถึงที่ธนาคารกลางเคยคาดไว้ด้วย
การคาดหวังในครั้งนี้?
“ตอนนี้ด้วยข้อมูลอัตราเงินเฟ้อที่เป็นอยู่และด้วยตลาดงานที่แข็งแกร่งเท่าที่เป็นอยู่ ฉันคิดว่าเราต้องอยู่ในตำแหน่งที่หากเราต้องขึ้นอัตราสองครั้งในปีหน้าเราจะ สามารถทำเช่นนั้นได้” เมสเตอร์ผู้โหวตนโยบายในปีหน้ากล่าว
เมื่อถูกถามว่าเธอชอบที่จะเร่งให้เรียวเพื่อให้สิ้นสุดในเดือนมีนาคมหรือไม่ Mester กล่าวว่าตอนนี้ เธอจะสนับสนุนการยุติข้อตกลงในช่วงไตรมาสแรกหรือต้นไตรมาสที่สอง “จากสิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ”
ประธานเฟดเจอโรมพาวเวลล์กล่าวเมื่อต้นวันพุธว่า "เป็นการเหมาะสมที่เราจะพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไปให้ลดลงเร็วขึ้นเพื่อให้สรุปได้ไม่กี่เดือนก่อนหน้านี้" ผู้กำหนดนโยบายจะพบกันในวันที่ 14-15 ธันวาคม
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะ USDJPY ซึ่งถ้าเกิดมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.290 แนวต้านที่สองก็คือ 113.567 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 113.941
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 112.952 แนวรับที่สองก็คือ 112.759 แนวรับสุดท้ายก็คือ 112.614
จับตาการประกาศรัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตสหรัฐของ ISMจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 22:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศสายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีการจ้างงานภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มรวมทั้งคำกล่าวของประธานธนาคารกลางยุโรปและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกอบกับในส่วนของจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตจากสถาบัน ไอเอสเอ็มของสหรัฐอเมริกา
การคาดหวังในครั้งนี้?
การคาดหวังในครั้งนี้ต้องเข้าใจว่าอาจจะทำให้ค่าเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้นเท่านั้นโดยที่ในการประกาศรายการประกาศอาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นหรือเรียกว่าแข็งค่าขึ้นแต่ก็ต้องจับตาดูว่าถ้ามีการประกาศ surprise ของตลาดอาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงนี่คือการวิเคราะห์และการคาดหวังว่าในอนการคาดหวัในอนาคตจะเป็นอย่างไร
การวิเคราะห์ของราคา
คู่เงินที่น่าจับตามองในระยะสั้นในช่วงนี้ก็คือ USDJPY อาจจะมีการฟื้นตัวระยะสั้นต้องจบตา ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์
ถ้าเกิดมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.539 แนวต้านที่สองก็คือ 113.949 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.370
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.020 แนวรับที่สองก็คือ 112.623 แนวรับสุดท้ายก็คือ 112.235
USDJPY 26/11/64 USDJPY ประจำวันที่ 26/11/64
H4
- Demand Zone keylevel
- RSI : Sideway
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
H1
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M30
- RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M15
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
RSI : Oversold
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
NZD/JPY : ปัจจัยทางเทคนิคอาจย่อตัวลงต่อเนื่องสกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 78.745 แนวรับที่สองก็คือ 78.427 แนวรับสุดท้ายก็คือ 78.068
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 79.297 แนวต้านที่สองก็คือ 79.423 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 79.558
กรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้นกรรมการคนใหม่ของ BOJ มองว่าเงินเฟ้อในญี่ปุ่นพุ่งสูงขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
สมาชิกคณะกรรมการคนใหม่ของ Bank of Japan กล่าวว่า เธอได้เห็นการค่อยๆ เกิดขึ้นของแนวโน้มราคาที่สูงขึ้นในประเทศที่มีการจับตาอย่างใกล้ชิด แม้ว่าธนาคารจะคงมาตรการกระตุ้นการเงินไว้ก็ตาม
ราคาผู้บริโภคของญี่ปุ่น “ดูเหมือนจะไม่อยู่ที่ศูนย์ตลอดไป” สมาชิกคณะกรรมการ Junko Nakagawa กล่าวเมื่อวันพุธในการสนทนาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสัมภาษณ์ชุดแรกของเธอตั้งแต่เข้าร่วมธนาคารในเดือนมิถุนายน “ความกดดันที่สูงขึ้นกำลังเพิ่มขึ้นเล็กน้อย”
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคิดเห็นของ Nakagawa ชี้ให้เห็นว่าเธอและเพื่อนร่วมงานเห็นว่าอัตราเงินเฟ้อของญี่ปุ่นเริ่มกลับมาคึกคักอีกครั้ง แม้ว่าพวกเขาจะยึดมั่นในมุมมองที่ว่าต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่ราคาจะขึ้นจะบรรลุเป้าหมายที่ 2% ของธนาคาร
ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สูงขึ้นได้ช่วยวัดราคาผู้บริโภคที่สำคัญของญี่ปุ่นในช่วงสองเดือนที่ผ่านมาเป็นครั้งแรกในรอบกว่าหนึ่งปี แต่การเพิ่มขึ้นนั้นห่างไกลจากราคาที่พุ่งขึ้นซึ่งต้องเผชิญกับเศรษฐกิจอื่นและธนาคารกลาง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามในปัจจัยนี้และในข่าวนี้อาจจะต้องจับตาดูว่าจะทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน USDJPY อย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 115.908 แนวต้านที่สองคือ 116.294 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 116.584
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 115.128 แนวรับที่สองก็คือ 114.906 แนวรับสุดท้ายก็คือ 114.603
ยอดขายปลีกออสเตรเลียกับค่าเงินออสเตรเลียจะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะมีการประกาศในช่วงเวลา 07:30 น. ตามเวลาประเทศไทยอาจจะทำให้ค่าเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในระยะสั้นอย่างไรก็ตามยังคงเป็นการผันผวนระยะสั้นเท่านั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังของนักวิเคราะห์ยังคงมีหลายสำนักและหลายปัจจัยที่ยังคงมีการคาดการณ์ของการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียประจำเดือนตุลาคมซึ่งมีบางสำนักได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 2.5% ครั้งก่อน 1.3% ซึ่งต้องจับตาดูว่าค่าเงินออสเตรเลียจะมีความผันผวนและแข็งค่าขึ้นหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยคู่เงินที่สำคัญที่ยังคงมีความผันผวนในการประกาศในครั้งนี้ก็คือ AUDJPY ซึ่งอาจจะมีการพักตัวระยะสั้นต้อง จับตาดูการประกาศในครั้งนี้
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 82.821 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 82.710 แนวรับสุดท้ายก็คือ 82.360
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 83.287 แนวต้านที่สองก็คือ 83.674 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 83.804
อัตราเงินเฟ้อเขตโตเกียวอาจเป็นส่วนหนึ่งของค่าเงินเยนสกุลเงินเยนอาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นกับการประกาศตัวเลขสำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศอัตราเงินเฟ้อของญี่ปุ่นไม่ว่าจะเป็นทั้งในฝั่งของดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเขตโตเกียวเทียบปีต่อปีหรือแม้กระทั่งในส่วนของดัชนีราคาผู้บริโภคของโตเกียวไม่กลัวรวมสินค้าและพลังงานและอาหารโดยที่จะมีการประกาศยอดการซื้อตราสารหนี้ต่างประเทศของญี่ปุ่นซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการประกาศอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเขตโตเกียวเทียบปีต่อปีประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.1% ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อเขตโตเกียวไม่รวมสินค้าอาหารและพลังงานประจำเดือนพฤศจิกายนครั้งก่อน -0.2% แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งอาจจะจำเป็นจะต้องจับตาดูว่าจะเป็นไปตาม การคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือมากกว่าครั้งก่อนหรือไม่จะทำให้ค่าเงินเยนมีความผันผวนในระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินเยนมีความผันผวนในระยะสั้นแต่คู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ EURJPY โดยที่ยังคง มีความผันผวนในระยะสั้นและวิ่งอยู่ในกรอบจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 129.554 แนวต้านที่สองก็คือ 129.929 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 130.044
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 129.190 แนวรับที่สองก็คือ 128.860 แนวรับสุดท้ายก็คือ 128.599
สิ่งที่สำคัญก็คืออัตราเงินเฟ้อของอังกฤษการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษจำเป็นที่ต้องจับตาดู
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษไม่ว่าจะเป็นทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีหรือแม้กระทั่งอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานและอัตราเงินเฟ้อที่รวมอาหารและพลังงานซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนตุลาคมต้องจับตาดูว่าจะส่งผลกระทบกับสกุลเงินปอนด์อย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศอัตราเงินเฟ้อหรือดัชนีราคาผู้บริโภคซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 14:00 น. นั้นนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนตุลาคมจะประกาศประมาณ 3.9% ครั้งก่อน 3.1% ประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 0.8% ครั้งก่อน 0.3% โดยที่จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตสำหรับปัจจัยการผลิตที่เป็นตัวเดิมประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 7.3% ครั้งก่อน 6.7%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้คู่เงิน GBPJPY มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 154.243 แนวต้านที่สองก็คือ 154.723 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 155.531
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 153.724 แนวรับที่สองก็คือ 153.573 แนวรับสุดท้ายก็คือ 153.156
NZD/JPY : ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงสกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลง
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการแข็งค่าขึ้นของสกุลดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 80.812 แนวรับที่สองก็คือ 80.639 แนวรับสุดท้ายก็คือ 80.305
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 81.209 แนวต้านที่สองก็คือ 81.520 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 81.899
ดัชนี PMI ภาคการบริการของสหรัฐสำคัญดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มของสหรัฐอาจส่งผลให้ดอลลาร์ ผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. วันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มหรือแม้กระทั่งการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนกันยายนเทียบเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มเช่นเดียวกัน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามตลาดยังคงให้ความสำคัญในปัจจัยนี้ประกอบกับนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 62.0 ครั้งก่อน 61.9 ประกอบกับการประกาศยอดคำสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานประจำเดือนกันยายนเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 1.2% ซึ่งจับตาดูว่าถ้ามีการประกาศออกมาผันผวนจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนและค่าเงิน USDJPY อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.104 แนวต้านที่สองก็คือ 114.254 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.428
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.870 แนวรับที่สองก็คือ 113.761 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.510
AUD/JPY : อาจจะฟื้นตัวขึ้นต่อเนื่องสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงเป็นแรงหนุนทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการปรับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้ คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 85.838 แนวต้านที่สองก็คือ 85.971 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 86.221
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 85.481 แนวรับที่สองก็คือ 85.175 แนวรับสุดท้ายก็คือ 84.997
GDP สหรัฐประจำไตรมาสที่สามกับค่าเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันพฤหัสที่ 28 ตุลาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สามซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่จะมีการประกาศทั้งดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามประกอบกับทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนรวมทั้งจะมีการประกาศ จำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกานักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.7% ครั้งก่อน 6.7% คือการประกาศรัชนีจีดีพีไตรมาสต่อไตรมาสประจำใจมาสที่สามประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.5% ครั้งก่อน 6.2% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 290K เท่ากันกับครั้งก่อนสำหรับจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนโดยคู่เงินที่สำคัญก็คือ USDJPY แน่นอนว่าอาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.839 แนวต้านที่สองก็คือ 114.103 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.256
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.500 แนวรับที่สองก็คือ 113.224 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.069
ดัชนีพีเอ็มไอสหรัฐกับสกุลเงินดอลล่าร์การประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นการประกาศที่สำคัญของสหรัฐเช่นเดียวกัน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อในหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit รวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยที่เห็นนักวิเคราะห์หลายสำนักได้มีการคาดการณ์การประกาศนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการผันผวนระยะสั้นโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่า จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 60.3 ครั้งก่อน 60.7 และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 55.1 ครั้งก่อน 54.9 แต่ดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งครั้งก่อนประกาศออกมา 55.0
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน USDJPY ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาและทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น กรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.170 แนวต้านที่สองก็คือ 114.401 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.625
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.686 แนวรับที่สองก็คือ 113.517 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.338
อังกฤษชี้ผู้ป่วยโควิดอาจจะแตะ 10Kรมว.สาธารณสุขอังกฤษชี้ ผู้ป่วยโควิดอาจแตะ 100,000 ต่อวันในช่วงฤดูหนาว ยังไม่มีมาตรการฉุกเฉินในตอนนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขของสหราชอาณาจักร กล่าวเมื่อวันพุธว่า รัฐบาลจะไม่ใช้กลยุทธ์ที่เรียกว่า “แผนบี” ของแผนโควิดช่วงฤดูใบไม้ร่วง-ฤดูหนาว ซึ่งขัดต่อคำเตือนจากผู้นำด้านสุขภาพว่าประเทศนี้เสี่ยง “เข้าสู่วิกฤตฤดูหนาว” ”
“เรากำลังตรวจสอบข้อมูลอย่างใกล้ชิด และเราจะไม่ดำเนินการตามแผน B ของมาตรการฉุกเฉิน ณ จุดนี้” จาวิดกล่าวขณะแถลงข่าวที่งานแถลงข่าวโคโรนาไวรัสครั้งแรกของรัฐบาลในรอบมากกว่าหนึ่งเดือน
“แต่เราจะคอยระวังตัว เตรียมพร้อมสำหรับเหตุการณ์ทั้งหมดในขณะที่เสริมความแข็งแกร่งให้กับการป้องกันที่สำคัญของเรา ที่สามารถช่วยเราต่อสู้กับไวรัสนี้”
Javid กล่าวว่าพลุกพล่านกำลัง "ดำเนินการอย่างโดดเด่น" โดยยอมรับว่าบริการด้านสุขภาพได้รับแรงกดดันมากขึ้น แต่ปฏิเสธข้อเสนอแนะว่าความกดดันนี้ไม่ยั่งยืน
“เราจะทำทุกอย่างเพื่อให้แน่ใจว่าแรงกดดันนี้จะไม่ยั่งยืน และเราไม่อนุญาตให้พลุกพล่านท่วมท้น”
Javid กล่าวว่าฤดูหนาวเป็น “ภัยคุกคามที่ยิ่งใหญ่ที่สุด” ต่อการฟื้นตัวจาก Covid และเสริมว่าผู้ป่วยยังสามารถปีนสูงถึง 100,000 ต่อวัน
การคาดหวังในครั้งนี้?
เกิดขึ้นไม่นานหลังจากสมาพันธ์บริการสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเป็นตัวแทนขององค์กรต่างๆ ในภาคส่วนการดูแลสุขภาพของสหราชอาณาจักร เตือนว่าข้อจำกัดบางประการเกี่ยวกับโควิด จะต้องได้รับการแนะนำอีกครั้ง “โดยไม่ชักช้า” หากรัฐบาลต้องการให้ประชาชนรักษาตัว
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้นแตกคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ GBPJPY ซึ่งยังคงมีความผันผวนในหลายปัจจัยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 157.183 แนวรับที่สองก็คือ 156.728 แนวรับสุดท้ายก็คือ 155.341
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 160.430 แนวต้านที่สองก็คือ 161.413 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 162.899
จับตาการประกาศเงินเฟ้อกลุ่มยูโรโซนดัชนีราคาผู้บริโภคของกลุ่มยูโรโซนจะมีการประกาศที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของกลุ่มยูโรโซนจะมีการประกาศในช่วงเวลา 16:00 น. ตามเวลาประเทศไทยอย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในหลายสำนักแต่ในส่วนของนักลงทุนเฝ้าจับตาดูเพราะอาจจะมีการสะท้อนเห็นถึงการขยับของนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรป
ซึ่งในฝั่งของสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปยังคงมีการเฝ้าจับตาดูในหลายปัจจัยโดยเฉพาะปัจจัยของอัตราเงินเฟ้อดังนั้นในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลในระยะสั้นน่ะระยะทาง
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ดีในการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์หลายสำนักซึ่งจะมีการวิเคราะห์ทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานและดัชนีราคาผู้บริโภคในกลุ่มยูโรโซนโดยที่เราวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบปีต่อปีประจำเดือนกันยายนจะประกาศออกมา 1.9% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับในส่วนของดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 3.4% เท่ากันกับครั้งก่อนแต่สิ่งที่ต้องจับตาดูก็คือการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือน นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.5% และดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.5% ครั้งก่อน 0.4%
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งจากปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้คู่เงิน EURJPY มีความผันผวนระยะสั้นอย่างไรก็ดีต้องติดตามว่าการผันผวนนั้นจะไปถึงในแนวรับแนวต้านที่สำคัญหรือไม่
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 133.233 แนวต้านที่สองก็คือ 133.512 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 133.636
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 132.767 แนวรับที่สองก็คือ 132.489 แนวรับสุดท้ายก็คือ 132.234
USD/JPY : ฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการเสพตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นทะลุ 111.557 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 111.780 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.039
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 111.392 แนวรับที่สองก็คือ 111.227 แนวรับสุดท้ายก็คือ 111.095
EUR/JPY : ปัจจัยทางด้านเทคนิคปรับตัวลงสกุลเงินยูโรยังคงพักตัวแต่สกุลเงินเยนแข็งค่า
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัว ร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินยูโรมีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการที่มีการปรับตัวร่วงลงของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการผันผวนอย่างไรโดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ
อย่างไรก็ดีถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอาจจะติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 127.990 แนวรับที่สองก็คือ 127.764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 127.552
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 128.296 แนวต้านที่สองก็คือ 128.616 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 128.776
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินเยนเพราะอาจจะมีความผันผวนในทั้งวิกฤติของ Evergrande หรือในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะมีความผันผวนไปในทิศทางของการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
AUD/JPY : ปัจจัยทางด้านเทคนิคอาจจะย่อตัวสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีการอ่อนค่า
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงไม่สามารถเป็นแรงหนุนทำให้มีการฟื้นตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียได้รับแรงกดดันจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 80.910 แนวรับที่สองก็คือ 80.743 แนวรับสุดท้ายก็คือ 80.585
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 81.060 แนวต้านที่สองก็คือ 81.220 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 81.414
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : การประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้ยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญที่จะกดดันและเป็นแรงหนุนทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนเช่นเดียวกันจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/JPY : ปัจจัยเชิงเทคนิคปรับตัวลงสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวผันผวนระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงต่อเนื่องโดยที่สกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นแต่สกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องอาจจะทำให้ปัจจัยในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 80.729 แนวรับที่สองก็คือ 80.601 แนวรับสุดท้ายก็คือ 80.394
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 81.141 แนวต้านที่สองก็คือ 81.369 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 81.619
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของคู่เงินนี้ก็คือปัจจัยของสกุลเงินเยนยังคงต้องจับตาดูตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่ดูเหมือนว่ายังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงระยะสั้นอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด