GBP ติดตามการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ยังคงต้องจับตาดูแต่ทีนี้ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้าง
ในช่วงเวลา 15:30 น. ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประจำเดือนมิถุนายนของอังกฤษซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในระยะสั้นแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองว่าดัชนีนี้จะส่งผลอย่างไร
โดยคู่เงิน GBPAUD มีการพักตัวในช่วงนี้เนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.84085 แนวต้านที่สองก็คือ 1.84308 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84626
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.83723 แนวรับที่สองก็คือ 1.83418 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.83275
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPAUD ที่น่าจับตามองในช่วงนี้ : ในช่วงนี้ยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการก่อสร้างและการประกาศดัชนีพีเอ็มไอต่างๆประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตามองในส่วนของการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยและนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียซึ่งหน้าจับตามองเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP (British Pound)
GBP/USD : มีโอกาสปรับตัวลงจากรถล่ะในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตามองอย่างใกล้ชิด
สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีโอกาสปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทั้งปัจจัยในเชิงปัจจัยพื้นฐานโดยเฉพาะการดึงเงินออกของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันที่ 1 กรกฎาคม 2021 คือการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก ประกาศน้อยกว่าการคาดการณ์ส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้ในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
โดยในส่วนของ GBPUSD ในเชิงเทคนิคทั้งในแนวโน้มระยะสั้นและระยะกลางดูเหมือนมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37774 แนวรับที่สองก็คือ 1.37550 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37235
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 1.38197 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38334 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38669
ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงจำเป็นจะต้องติดตามของคู่เงินนี้ก็คือ : จะมีการประกาศตัวเลขของสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศตัวเลขอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกา ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูในส่วนของการแถลงแต่ละครั้งของอังกฤษเพราะจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ยังทรงตัวสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงทรงตัว
ในส่วนของสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการพักตัวและถึงแม้ว่าจะมีปัจจัยทั้งสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษที่มีการพูดถึงนโยบายทางการเงินประกอบกับการประกาศตัวเลขของอังกฤษก็ไม่ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในการแข็งค่าหรืออ่อนค่า ซึ่งในส่วนของอังกฤษยังคงต้องจับตามองดูการเปิดประเทศของอังกฤษด้วยเช่นเดียวกันดังนั้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวและยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ
โดยในส่วนของสกุลเงิน GBPCHF ยังคงมีการพักตัวและมีการปรับตัวย่อตัวลงเล็กน้อยหลังจากที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.27510 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.27319 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27191
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28007 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28108 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28305
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูปัจจัยภายนอกและภายในประกอบกับในสัปดาห์นี้การประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษยังคงไม่มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญดังนั้นปัจจัยที่จะต้องติดตามสกุลเงินปอนด์อย่างต่อเนื่องก็คือในส่วนของการแถลงเกี่ยวเนื่องกับ โควิด-19 จึงต้องจับตาดูเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ฟื้นตัวขึ้นจากสินเชื่อที่อยู่อาศัยสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสินเชื่อที่อยู่อาศัย
ในวันนี้มีการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษคือการประกาศจำนวนสินเชื่อในการอนุมัติเพื่อที่อยู่อาศัยประกาศออกมา 87.55K ครั้งก่อน 86.90K โดยที่สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยประกาศออกมา 6.58B ครั้งก่อน 3.03B ซึ่งส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจัยหลักที่อาจจะส่งผลในเชิงระยะสั้นประกอบกับในสัปดาห์นี้มีการประกาศตัวเลขสำคัญเช่นเดียวกันของอังกฤษ
ซึ่งในส่วนของ GBPAUD มีการฟื้นตัวขึ้นจากทั้งแรงหนุนมาจากสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและแรงกดดันจากสกุลเงินออสเตรเลียที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.83903 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.84422 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84680
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.83609 แนวรับที่สองก็คือ 1.83347 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82963
กรอบปัจจัยเสี่ยงที่จำเป็น จะต้องติดตามของคู่เงิน GBPAUD ในช่วงนี้ก็คือ : สกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดู การประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษที่จำเป็นจะต้องจับตามองอย่างมากประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตามองในส่วนของสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : ย่อตัวลงอย่างต่อเนื่องอีกครั้งสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากการ ประกาศนโยบายทางการเงิน
สกุลเงินปอนด์ยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่มีการประกาศนโยบายทางการเงินในการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินเหมือนเดิมประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัว แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวร่วงลง
โดยทำให้คู่เงิน GBPJPY มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของในวันนี้มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญอาจจะส่งผลทำให้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการผันผวนดังนั้นควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 153.681 แนวรับที่สองก็คือ 153.191 แนวรับสุดท้ายก็คือ 152.771
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 154.521 แนวต้านที่สองก็คือ 155.068 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 155.315
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPJPY ในช่วงระยะสั้น : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องจับตามองตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาสัปดาห์ถัดไปว่าจะมีการเปิดประเทศหรือไม่ของอังกฤษ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP อ่อนค่าหลังจาก BOE คงดอกเบี้ยธนาคารกลางอังกฤษมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมแต่สกุลเงินปอนด์อ่อนค่าลงระยะสั้น
ในเมื่อวานที่ผ่านมาธนาคารกลางอังกฤษได้มีการจัดการประชุมนโยบายทางการเงินเมื่อวานนี้โดยที่มีมติเป็นเอกฉันท์ในการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับ 0.10% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการสอทของกับการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
โดยนอกจากนี้ ธนาคารกลางอังกฤษได้มีการประกาศคงวงเงินในการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณที่ระดับ 8.95 แสนล้านปอนด์เพื่อลดผลกระทบเกิดจากวิกฤตโควิด 19
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเป็นปัจจัยมาจากยังคงมีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวร่วงลงดังกล่าว
ซึ่งสกุลเงิน GBPUSD มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ GBP มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.38917 แนวรับที่สองก็คือ 1.38662 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.38319
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านแรกก็คือ 1.39363 แนวต้านที่สองก็คือ 1.39735 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.40039
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPUSD ที่น่าจับตา : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในคู่เงินนี่จำเป็นต้องจับตามองในส่วนของสกุลดอลลาร์เนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินดอลลาร์ยังคงมีการประกาศที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาไหนวันนี้ดังนั้นคู่เงินนี้อาจมีความเสี่ยงเชิงระยะสั้นจับตามองอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาการประกาศปรับดอก BOEการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในวันพฤหัสที่จะถึงนี้
ในวันที่ 24 มิถุนายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ รวมทั้งจะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินในครั้งนี้โดยที่อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเงินในเชิงระยะสั้นดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและอาจจะมีการแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน GBPCHF อาจจะมีความผันผวนในวันพรุ่งนี้ดังนั้นในช่วงนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจากปัจจัยของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28516 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28802 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.29329
แต่มีการขยับตัวร่วงลงเมื่อไหร่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยที่แนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.28083 แนวรับที่สองก็คือ 1.27788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27562
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยปัจจัยเสี่ยงที่น่าจับตามองก็คือยังคงเป็นการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษหรือ MPC รอดูว่าจะมีการประกาศรายงานการประชุมอย่างไรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : ย่อตัวลงต่อเนื่อง !!!!!!!สกุลเงินปอนด์มีโอกาสอ่อนค่าลงระยะสั้น
จากการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของอังกฤษที่มีการประกาศน้อยกว่าครั้งก่อน และน้อยกว่าการคาดการณ์ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลง
จากสองปัจจัยส่งผลทำให้ GBPJPY มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 152.447 แนวรับที่สองก็คือ 151.973 แนวรับสุดท้ายก็คือ 151.500
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 152.997 แนวต้านที่สองก็คือ 153.455 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 153.764
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPJPY : โดยปัจจัยเสียงหลักที่ยังคงจะต้องติดตามอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงต้องติดตามปัจจัยที่น่าติดตามอย่างมากนี้ประกอบกับมีส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามดัชนียอดขายปลีกวันศุกร์นี้การประกาศที่สำคัญของอังกฤษจะมีความสำคัญกับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
สกุลเงินปอนด์ยังคงรอติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของ อังกฤษซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนพฤษภาคมโดยนักลงทุนได้มีการคาดการณ์ออกมา น้อยกว่าครั้งก่อนอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน GBPCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้อาจจะมีความผันผวนที่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27800 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28086
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27436 แนวรับที่สองก็คือ 1.27192 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : ในส่วนของทั้งสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความ ผันผวนและในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีปัจจัยที่จะต้องจับตามองไม่ว่าจะเป็นทั้งตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์หรือแม้กระทั่งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษต้องจับตามองในวันศุกร์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามประกาศ CPIการประกาศสำคัญของอังกฤษคือการประกาศ CPI
ในวันพุธจะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานพร้อมทั้งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานที่จะมีการประกาศในช่วงเวลาประมาณ 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนรวมทั้งจะมีการประกาศดัชนีภาคผลิตอุตสาหกรรมของจีน
การประกาศเหล่านี้จะส่งผลทำให้ทั้งสกุลเงินปอนด์และสกุลเงินหยวนมีความผันผวนรวมทั้งสกุลเงินออสเตรเลียจึงอาจจะส่งผลทำให้คู่เงิน GBPAUD มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ดังนั้นในคู่เงิน GBPAUD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.83753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84358
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82939 แนวรับที่สองก็คือ 1.82558 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82367
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPAUD : ต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษ ประกอบกับสกุลออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์และสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : ย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินปอนด์ย่อตัวลงระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนมีการย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงถึงแม้ว่าสกุลเงินเยนยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 154.068 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 153.873 แนวรับสุดท้ายก็คือ 153.690
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 154.305 แนวต้านที่สองก็คือ 154.499 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 154.713
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงต้องติดตามปัจจัยจากปัจจัยภายในประกอบกับมีส่วนของสกุลเงินเยนยังคงต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : เริ่มขยับตัวขึ้นอีกครั้งสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการขยับตัวขึ้นและฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อย ทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 154.540 แนวต้านที่สองก็คือ 154.702 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 154.822
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 154.258 แนวรับที่สองก็คือ 154.069 แนวรับสุดท้ายก็คือ 153.875
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจาก ปัจจัยภายในของอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงต้องติดตามดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ในวันศุกร์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : พักตัวระยะสั้น อีกครั้งสกุลเงินปอนด์พักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27215 แนวรับที่สองก็คือ 1.26891 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26620
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27472 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27664 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27871
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงตัวเลขผู้ที่ติดเชื้อของอังกฤษประกอบกับติดตามปัจจัยในการปิดประเทศอีกครั้งในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : เริ่มฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยของธนาคารกลางอังกฤษเริ่มมีการส่งสัญญาณในการความกังวลของเรื่องเงินเฟ้ออาจจะส่งผลทำให้การใช้มาตรการลดการอัดฉีดเม็ดเงินประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบ แนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82295 แนวต้านที่สองก็คือ 1.82560 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.82840
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลง แนวรับแรกก็คือ 1.81647 แนวรับที่สองก็คือ 1.81061 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.80150
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็น จะต้องติดตามถึงการแถลงของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามรายงานการประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/GBP : มีโอกาสย่อตัวลงหรือไม่สกุลเงินปอนด์มีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินปอนด์ในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับพี่ส่งของสกุลเงินยูโรโดนกดดันจากสกุลเงินดอลล่าร์ให้มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.85580 แนวรับที่สองก็คือ 0.85408 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.85271
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.85934 แนวต้านที่สองก็คือ 0.86090 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.86159
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่อาจจะโดนกดดันจากดอลล่าร์ในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของในระยะกลางจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินปอนด์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/GBP ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/USD : จะย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.40175 แนวรับที่สองก็คือ 1.39825 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.39424
แต่ถ้ามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.40543 แนวต้านที่สองก็คือ 1.40744 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.40963
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากภายในและการประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยจากดัชนีการประกาศตัวเลขที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : ยังคงมีโอกาสฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์มีโอกาสแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.79907 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.80050 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.80232
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.79681 แนวรับที่สองก็คือ 1.79334 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.79001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยจากการเปิดประเทศของอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์และสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์จะกดดันสกุลเงินเยนได้หรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการผันผวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงส่งผลสะท้อนถึง Nikkei ฟิวเจอร์ที่ยังคงมีการพักตัวดังนั้นในคู่เงินนี้อาจจะมีการพักตัวในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 152.178 แนวต้านที่สองก็คือ 152.251 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 152.404
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 151.922 แนวรับที่สองก็คือ 151.766 แนวรับสุดท้ายก็คือ 151.505
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญที่สัปดาห์ถัดไป ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์และการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์ถัดไปของญี่ปุ่น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/GBP : ปรับตัวร่วงลงต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์จะแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินปอนด์ในตอนนี้คงมีการขยับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินยูโรโดนกดดันจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยแต่ยังคงไม่มีปัจจัยหนุนมากนักจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.86241 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.86163 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.86019
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.86386 แนวต้านที่สองก็คือ 0.86506 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.86607
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนจากสกุลเงินยูโรเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีความหวังผลในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญและอัตราดอกเบี้ยในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/GBP ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : จะมีการย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงโดยในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26908 แนวรับที่สองก็คือ 1.26729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26555
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27140 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27289 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27410
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยภายในรวมทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญและการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : จะฟื้นตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะโดนกดดันจากสกุลออสเตรเลียหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการผันผวนระยะสั้นและยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นและ ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงผันผวนระยะสั้นจากการกดดันจากสกุลดอลล่าร์ดังนั้นอาจจะมีการขยับตัววิ่งอยู่ในกรอบจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.79195 แนวรับที่สองก็คือ 1.78893 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.78728
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.79581 แนวต้านที่สองก็คือ 1.79852 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.80005
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตาม การประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยและนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียก็ยังคงมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยเช่นเดียวกันติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : จะฟื้นตัวได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์มีการแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยหนุนต่างๆที่สำคัญแต่ยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากตลาดหุ้น Nikkei จึงทำให้คู่เงินนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 151.995 แนวต้านที่สองก็คือ 152.247 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 152.394
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 151.415 แนวรับที่สองก็คือ 151.020 แนวรับสุดท้ายก็คือ 150.520
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงต้องติดตามการประกาศอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในช่วงวันพฤหัสที่จะถึงนี้ประกอบกับที่ส่งของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงต้องติดตามปัจจัยหนุนของตลาดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CAD : ยังคงร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินแคนาดามีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ทิศทางของราคาน้ำมันมีการปรับตัวสูงขึ้นประกอบกับดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.70665 แนวรับที่สองก็คือ 1.70322 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.69727
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.71828 แนวต้านที่สองก็คือ 1.72292 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.72616
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดา จำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นฟิวเจอร์และราคาน้ำมันในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด