EURUSD
ECB คงดอกเบี้ยตามคาดธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยตามการคาดการณ์
ธนาคารกลางยุโรปมีมติการคงอัตราดอกเบี้ยและวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรในการประชุมครั้งล่าสุดในวันนี้ตามที่มีการคาดการณ์ไว้
ในการประชุมธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรืออัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ที่ระดับ 0% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการและมีการคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ฝากไว้กับธนาคารกลางยุโรปที่ระดับ -0.50% ในขณะที่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ระดับ 0.25%
นอกจากนี้ธนาคารกลางยุโรปยังมีมติคงวงเงินในการเข้าซื้อพันธบัตรตามโครงการ PEPP ที่ระดับ 1.85 ล้านยูโร ซึ่ง ECB จะซื้อพันธบัตรตามโครงการดังกล่าวจนถึงเดือนมีนาคม 2 565 โดยจะซื้อพันธบัตรในวงเงินเดือนละสองหมื่นล้านยูโร
อย่างไรก็ดีธนาคารกลางยุโรปได้มีเป้าหมายเงินเฟ้อในระยะกลางอยู่ในระดับ 2% จากเดิมที่กำหนดให้อยู่ใกล้แต่ไม่เกิน 2%
ขณะเดียวกันธนาคารกลางยุโรปยังไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะแตะระดับเป้าหมาย 2% ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณว่าธนาคารกลางยุโรปจะไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปอีกสองปีเนื่องจากธนาคารกลางยุโรปคาดการณ์ก่อนหน้านี้ว่าเงินเฟ้อจะอยู่ในยูโรโซนซึ่งจะยังไม่แตะระดับ 2% อย่างน้อยในอีกสองปีข้างหน้า
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นโดย ได้ 4 ชั่วโมงที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลง -0.46% สำหรับ EURUSD โดยปัจจัยดังกล่าวส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าดังนั้นคู่ EURUSD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17598 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17392 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17241
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.17812 เป็นแนวต้านที่ 117179008 แนวต้านที่สองและแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18149
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในสัปดาห์หน้าที่จะต้องติดตามสำหรับคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนทำให้ EURUSD มีความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูในสัปดาห์ถัดไป
ECB แถลงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางยุโรปจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินในวันพฤหัสนี้เวลา 18:30 น.
ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2021 จะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรป ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตาดูว่าแถลงการณ์ในครั้งนี้จะส่งผลและมีการส่งสัญญาณเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินมากน้อยแค่ไหนและจะส่งผลให้กับสกุลเงินยูโรมากขนาดไหนซึ่งน่าจับตามองยากมาก
โดยคู่สกุลเงิน EURUSD มีการพักตัวในหลายชั่วโมงที่ผ่านมาหลังจากที่ดอลล่าร์มีการพักตัวเช่นเดียวกันทำให้นักลงทุนต่างจับตามองการประกาศตัวเลขที่สำคัญทั้งของดอลล่าร์และของสกุลเงินยูโรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18393 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18526 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18714
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18128 แนวรับที่สองก็คือ 1.17960 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17773
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองอย่างมากสำหรับสัปดาห์นี้ : ในสัปดาห์นี้จะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของการรายงานการประชุมของธนาคารกลางยุโรปและการประกาศจำนวน ผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ซึ่งต้องจับตามองอย่างมากในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EURUSD รอ NFPสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีความผันผวนในการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตร
ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญนี้และอาจจะมีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยคู่เงิน EURUSD ในช่วงนี้มีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบถึงแม้ว่าในระยะกลางยังคงมีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลสร้างความผันผวนอย่างรุนแรงให้กับคู่เงินนี้อย่างแน่นอนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นทะลุ 1.18578 ขึ้นไปได้กรอบแนวต้านที่สองก็คือ 1.18807 และแนวต้านสุดท้ายในระยะสั้นก็คือ 1.18922
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18390 แนวรับที่สองก็คือ 1.18283 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18023
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์แต่ในส่วนของสกุลเงินยูโรในช่วงเวลา 19:30 น. ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 ทางด้านประธานธนาคารกลางยุโรปจะมีการเข้าร่วมเสวนาในหัวข้อเรื่องเราจะได้เรียนรู้อะไรในปี 2020 ในประเทศฝรั่งเศสต้องจับตาดูว่าจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินหรือไม่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรอีกครั้งหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EURUSD bulls remain hesitant unless crossing 1.2200EURUSD struggles to extend post-ECB/US CPI-led run-up during early Friday. The pair’s bounce off 200-SMA fades below 100-SMA and a 13-day-old falling trend line resistance, respectively around 1.2190 and 1.2200. Even if the pair manages to cross the 1.2200 threshold, a horizontal hurdle around 1.2240 and the recent multi-month top near 1.2265 becomes the key to watch for fresh impetus. It should, however, be noted that sluggish MACD and fears of the Fed’s signal to tapering could weigh on the EURUSD prices moving forward.
Meanwhile, a downside break of 200-SMA, close to 1.2145, needs to break an ascending support line from early May, around 1.2125 to direct EURUSD sellers to the monthly low of 1.2103. During the quote’s weakness past 1.2100, 1.2070 may offer an intermediate halt before dragging the quote to the previous month’s low near 1.1985.
ECB คาดการณ์ว่ายังคงจะรักษาการซื้อพันธบัตรECB คาดว่าจะมีการรักษาอัตราการซื้อพันธบัตรที่สูงขึ้นตลอดในช่วงฤดูร้อน
นักเศรษฐศาสตร์และนักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางยุโรปจะขยายการซื้อพันธบัตรฉุกเฉินหรือเรียกว่า PEPP ในการประชุมครั้งต่อไปแม้ว่าเศรษฐกิจยังคงฟื้นตัวขึ้น
HSBC Holdings Plc, UBS Group AG และ ABN Amro Bank NV เป็นหนึ่งในผู้ที่คาดการณ์ว่า ECB จะยืดเวลาการกระตุ้นเศรษฐกิจในปัจจุบันออกไปในวันที่ 10 มิถุนายนนี้ โดยนักเศรษฐศาสตร์ที่สำรวจก่อนการประชุมครั้งก่อนกล่าวว่าอาจจะถูกปรับลดวงเงินการเข้าซื้อ
ในขณะที่ Bloomberg Economics คาดการณ์ว่าจะมีการซื้ออยู่ที่ประมาณ 85 พันล้านยูโร ต่อเดือนในไตรมาสที่สามแทนที่จะลดลงสู่ในระดับเดียวกันจากไตรมาสแรก
การคาดการณ์เกิดขึ้นหลังจากที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงมีการจับต่อแนวคิดที่พวกเขาว่า ECB พร้อมที่จะมีการชะลอการซื้อ ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์ของ JPMorgan Chase & Co. ได้มีการรายงานออกมาว่า "สิ่งนี้จะทำให้โอกาสในการเข้าซื้อเพิ่มเร็วขึ้นอย่างต่อเนื่องในไตรมาสที่สามแม้ว่าการตัดสินใจอาจจะยังคง ใกล้เคียงในเดือนมิถุนายนและต้องมีการประนีประนอมบ้างก็ตาม"
โดยปัจจัยนี้อาจจะเป็นแรงสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นจากการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB และอาจจะส่งผลทำให้ EURUSD มีความผันผวนอีกครั้งโดยที่อาจจะมีการปรับตัวลงจากการประกาศในการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปที่จะถึงนี้
ซึ่งในหลายวันที่ผ่านมา EURUSD มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในหลายวันที่ผ่านมาจนทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวขึ้นสู่ในระดับ ใกล้เคียงเดือนมกราคมปี 2021 ซึ่งถ้ามีการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องกรอบแนวรับสำคัญ ที่น่าสนใจแนวรับแรกก็คือ 1.20697 แนวรับที่สองก็คือ 1.19987 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18958
แต่ถ้าเกิด surprise ตลาดในการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB ไม่ว่าจะเป็นการชะลอการเข้าซื้อหรือเป็นการลดวงเงิน การเข้าซื้อพันธบัตรอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22468 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23296 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23822
ปัจจัยเสี่ยงที่จะต้องติดตามของคู่เงินนี้ก็คือ : สกุลเงินดอลล่าร์โดยที่สกุลเงินดอลล่าร์มันจะมีการประกาศที่สำคัญในหลายการประกาศก่อนที่จะไปถึงในวันที่ 10 มิถุนายน 2021 ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศ PCE หรือแม้กระทั่งการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลางจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
EUR/USD : ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอยู่ต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.19 เก้าสี่สองลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.19777 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19569
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.20164 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20326 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20420
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่จำเป็นจะต้องติดตามทั้งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของกลุ่มยูโรโซนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
[EURUSD] - คลื่น 5 จบหรือยัง ? (2)มุมมองตอนนี้มองว่าเป็นสถานะปลายคลื่นครับ
อาจจะเป็น Ending Diagonal
หากราคาไหลผ่าน 1.20631 = ใช้แผนเขียว
หากราคาผ่านเส้นเสียว = ยืนยันแผนสีเขียว
หากราคาลงมาเเล้วไม่หลุด 1.20631 = แผนแดง
ในกรณีที่เป็นแผนแดง คลื่น 5 แดง จะต้องมีขนาดเล็กกว่า คลื่น 3 แดง
สิ่งที่ควรจะเป็นของการเป็น Ending คือ
คลื่น5เล็กกว่า3
คลื่น3เล็กกว่า1
คลื่น4เล็กกว่า2
Elliott wave by Eaw forecast EURUSD EURUSD ผม bias ว่าจะลงไปที่ Fibo ที่ 61.8% รูปแบบที่ขึ้นมาเป็น non standard extentison small x wave ชุดที่สอง Wave-C อาจจะ Failure โดยมีแนวรับที่ 1.20428/1.19754/1.19209/1.18665 และถ้า 1.18665 ซึ่งเป็น Fibo ที่ 61.8% อาจจะเป็น Triangle (double combination)
**** แต่ถ้าเอาไม่อยู่ก็ลงไปเลยครับ
EUR/USD : ย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.20065 แนวรับที่สองก็คือ 1.19825 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19441
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.20382 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20 ห้าห้าแปดแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20745
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ว่าจะมีความผันผวนในทิศทางไหนโดยธรรมชาติแล้วในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : ยังคงมีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวลง
สกุลเงินยูโรเทียบกับดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยการประกาศอัตราเงินเฟ้อ ประกอบกับสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.19912 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20152 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20409
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.19539 แนวรับที่สองก็คือ 1.19385 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19252
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่ยังคงมีความผันผวนและยังคงมีการพักตัวระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : จะสามารถย่อตัวได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะฟื้นตัวได้หรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวย่อตัวลงในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการฟื้นตัวในระยะสั้นจึงส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรเริ่มมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นแต่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงทะลุ 1.18679 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.18386 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18030
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.19046 แนวต้านที่สองก็คือ 1.19280 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19435
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ผมต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนจากดอลล่าร์ที่ยังคงต้องติดตามในการประกาศตัวเลขที่สำคัญรวมทั้งปัจจัยที่ทั้งหนุนและกดดันของดอลล่าร์เพราะจะส่งผลให้กับคู่เงินนี้ในระยะสั้นและระยะกลางที่คนติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : ร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ดูเหมือนว่ายังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ได้รับแรงกดดันมาจากตลาดที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกก็คือ 1.18360 แนวรับที่สองก็คือ 1.18158 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17992
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18719 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18875 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19043
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึง สกุลเงินดอลล่าร์ที่ดูเหมือนว่าอาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องติดตามว่าสัปดาห์นี้จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : อาจมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจมีการปรับตัวอ่อนค่าลง
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.19033 แนวต้านที่สองก็คือ 1.19255 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19581
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18728 แนวรับที่สองก็คือ 1.18515 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18372
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ติดตามการประกาศอัตราเงินเฟ้อเนื่องจากว่าอัตราเงินเฟ้อในการประกาศของสหรัฐอเมริกาจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์ดังนั้นอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนอย่างต่อเนื่องและระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด