ประกาศ GDP อังกฤษ ไตรมาส 3การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สามรวมทั้งการประกาศอีกหลายการประกาศแต่การประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีของอังกฤษเทียบไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังในครั้งนี้นักลงทุนต่างคาดหวังการประกาศดัชนีจีดีพีในหลายภาคส่วนแต่ที่เซอร์ไพรซ์ก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 6.6% และการประกาศดัชนีจีดีพีเทียบไตรมาสไตรมาสจะประกาศประมาณ 1.3% ซึ่งเท่ากันกับครั้งก่อนทั้งสองการประกาศดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศ surprise ของตลาดหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยคู่เงินที่สำคัญที่จำเป็นจะต้องติดตามก็คือ การประกาศดัชนีจีดีพีนั้นอาจจะส่งผลทำให้ GBP มีความผันผวนและคู่เงินที่ต้องจับตาดูก็คือ GBPAUD ซึ่งถ้าเกิดว่ามีความผันผวนในระยะสั้นนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.85271 แนวรับที่สองก็คือ 1.84974 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.84569
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85672 แนวต้านที่สองก็คือ 1.85925 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86290
D-GBP
Covid เกิดขึ้นยากมากในอังกฤษเพราะอยู่ใน ยูโรปส่วนใหญ๋สหราชอาณาจักรกล่าวว่า COVID เพิ่มขึ้น 'ยากมาก' เนื่องจาก Omicron ยึดที่ยุโรป
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
นายกรัฐมนตรีอังกฤษบอริสจอห์นสันกล่าวเมื่อวันจันทร์ว่าเขาจะกระชับการควบคุม coronavirus เพื่อชะลอการแพร่กระจายของตัวแปร Omicron หากจำเป็นหลังจากที่เนเธอร์แลนด์เริ่มล็อคดาวน์ครั้งที่สี่และในขณะที่ประเทศในยุโรปอื่น ๆ พิจารณาข้อ จำกัด คริสต์มา
หลังจากที่สื่อของสหราชอาณาจักรรายงานว่าสหราชอาณาจักรอาจกำหนดมาตรการห้ามใหม่หลังคริสต์มาส จอห์นสันกล่าวว่าสถานการณ์ดังกล่าว “ยากมาก” และการรักษาในโรงพยาบาลก็เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากในลอนดอน
“ฉันต้องบอกประชาชนชาวอังกฤษ และบอกกับทุกคนว่า เราจะไม่กีดกันความเป็นไปได้ที่จะดำเนินต่อไป หากเราต้องทำสิ่งต่าง ๆ เพื่อปกป้องสาธารณะ” จอห์นสันกล่าวหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี
การคาดหวังในครั้งนี้?
การติดเชื้อ Omicron กำลังทวีคูณอย่างรวดเร็วทั่วยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยจะเพิ่มเป็นสองเท่าทุก ๆ สองหรือสามวันในลอนดอนและที่อื่น ๆ และส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างหนักซึ่งกลัวผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
ตัวแปรนี้ตรวจพบครั้งแรกเมื่อเดือนที่แล้วในแอฟริกาตอนใต้และฮ่องกง และจนถึงขณะนี้มีรายงานอย่างน้อย 89 ประเทศ ความรุนแรงของการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นยังไม่ชัดเจน
ข้อจำกัดใดๆ ในการฉลองคริสต์มาสจะทำให้จอห์นสันมีต้นทุนทางการเมืองสูง ซึ่งตอนนี้ตกอยู่ภายใต้รายงานที่เขาและพนักงานของเขาละเมิดกฎการปิดเมืองเมื่อปีที่แล้ว
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ GBPUSD อาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.31975 แนวรับที่สองก็คือ 1.31838 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.31728
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.32200 แนวต้านที่สองก็คือ 1.32382 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.32671
ยอดขายปลีกของอังกฤษการประกาศสำคัญของอังกฤษก็คือดัชนียอดขายปลีก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ดัชนียอดขายปลีกของอังกฤษที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 14:00 น. จะมีการประกาศในหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานและดัชนียอดขายปลีกประจำเดือนพฤศจิกายนซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการประกาศในครั้งนี้นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากแต่ในนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในหลายการประกาศโดยเฉพาะการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศจะออกมา 2.4% ครั้งก่อน -1.9% ประกอบกับดัชนียอดขายปลีกประจำเดือนพฤศจิกายนเทียบเดือนต่อเดือนซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศ 0.8% เท่ากันกับครั้งก่อน
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPUSD ถ้าเกิดมีความผันผวนในระยะสั้น อาจจะควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.33292 แนวต้านที่สองก็คือ 1.33557 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.33738
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.33076 แนวรับที่สองก็คือ 1.32745 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.32417
ปัจจัยทางด้านเทคนิคกับค่าเงินปอนด์สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีความผันผวนและอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลีย หรือ GBPAUD มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการอ่อนค่าของดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นดังนั้นอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิคแต่ควรติดตามกรอบแนวรับสำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.84634 แนวรับที่สองก็คือ 1.84314 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.83960
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85322 แนวต้านที่สองก็คือ 1.85623 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86253
ดัชนี PMI กลุ่มยูโรโซนจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอของกลุ่มยูโรโซน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในหลายช่วงเวลาจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอของกลุ่มยูโรโซนไม่ว่าจะเป็นทั้งในฝั่งของการประกันดัชนีพีเอ็มไอกลุ่มยูโรโซนรวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของเยอรมนีประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของฝรั่งเศสซึ่งเป็นการประกาศของภาคการผลิตดังนั้นความเป็นไปได้ที่อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนยังมีมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยที่ความคาดหวังของนักวิเคราะห์ต่างให้การคาดหวังว่ารัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของฝรั่งเศสนั้นจะประกาศออกมาน้อยกว่าครั้งก่อนโดยที่ดัชนีผู้จัดการพีเอ็มไอภาคการผลิตของฝรั่งเศสประกาศออกมา 55.5 ครั้งก่อน 55.9 รวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของเยอรมนีนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 56.8 ครั้งก่อน 57.4 รวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอรวมของ กลุ่มยูโรโซนจะประกาศออกมา 54.0 ครั้งก่อน 55.4 ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ออกมาน้อยกว่าครั้งก่อนอาจจะทำให้ค่าเงินยูโรอ่อนค่าบ้างเล็กน้อย
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนทำให้ EURGBP อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.85044 แนวรับที่สองก็คือ 0.84904 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.84743
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.85234 แนวต้านที่สองก็คือ 0.85355 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.85486
ปรับอัตราดอกเบี้ยของ BOEการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:00 น. จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษซึ่งจะมีการบวชในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยและคงอัตราดอกเบี้ยไว้โดยเฉพาะจะมีการรายงานการประชุมของคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การปรับอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้อาจจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมที่ 0.10% และในการโหวตเพื่อคงอัตราดอกเบี้ยไว้จากคณะกรรมการนโยบายทางการเงินนั้นจะอยู่ที่ 7-2-0 ซึ่งต้องติดตามว่าสกุลเงินปอนด์จะมีความผันผวนระยะสั้นหรือไม่โดยที่ยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณหรือมาตรการ QE อยู่ในระดับเดิมก็คือ 875B ซึ่งเป็นการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะค่าเงิน GBPJPY ที่อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 151.357 แนวต้านที่สองก็คือ 151.583 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 151.727
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 151.078 แนวรับที่สองก็คือ 150.932 แนวรับสุดท้ายก็คือ 150.692
มีการกล่าวสุนทรพจน์ของประธาน ECBจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในการประชุมทางกฏหมายของ ECB ในปี 2021 ผ่านดาวเทียม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 15:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการ ประชุมทางกฏหมายของ ECB ผ่านดาวเทียมโดยที่ประธานธนาคารกลางยุโรปจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในการประชุมทางกฏหมายของ ECB ประจำปี 2021 อย่างไรก็ดีนักวิเคราะห์และนักลงทุนยังคงต้องจับตาดูว่าจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์และนักลงทุนยังคงต้องเฝ้าจับตาดูว่าประธานธนาคารกลางยุโรปยังคงมีการแถลงและกล่าวสุนทรพจน์ถึงการประชุมทางกฏหมายของธนาคารกลางยุโรปอย่างไรและอาจจะมีการส่งสัญญาณถึงเรื่องอัตราเงินเฟ้อหรือถึงเรื่องเกี่ยวเนื่องกับการขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือไม่หรือการส่งสัญญาณในการทราบว่าเศรษฐกิจของกลุ่มยูโรโซนเป็นอย่างไรซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับ สกุลเงินยูโรในระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนซึ่งคู่เงินที่สำคัญก็คือ EURGBP อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.84013 แนวรับที่สองก็คือ 0.83892 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.83835
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.84255 แนวต้านที่สองก็คือ 0.84344 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.84568
GBP/AUD : พักตัวระยะสั้นค่าเงินปอนด์กับสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียตอนนี้อยู่คงมีการพักตัวระยะสั้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นแต่เดี๋ยวคงพักตัวประกอบกับที่ส่งของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวหลังจากที่ตลาดเริ่มพักตัวเช่นเดียวกันดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.85030 แนวรับที่สองก็คือ 1.84464 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.84227
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85956 แนวต้านที่สองก็คือ 1.86361 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86667
สิ่งที่สำคัญก็คืออัตราเงินเฟ้อของอังกฤษการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษจำเป็นที่ต้องจับตาดู
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษไม่ว่าจะเป็นทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีหรือแม้กระทั่งอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานและอัตราเงินเฟ้อที่รวมอาหารและพลังงานซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนตุลาคมต้องจับตาดูว่าจะส่งผลกระทบกับสกุลเงินปอนด์อย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศอัตราเงินเฟ้อหรือดัชนีราคาผู้บริโภคซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 14:00 น. นั้นนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนตุลาคมจะประกาศประมาณ 3.9% ครั้งก่อน 3.1% ประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 0.8% ครั้งก่อน 0.3% โดยที่จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตสำหรับปัจจัยการผลิตที่เป็นตัวเดิมประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 7.3% ครั้งก่อน 6.7%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้คู่เงิน GBPJPY มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 154.243 แนวต้านที่สองก็คือ 154.723 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 155.531
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 153.724 แนวรับที่สองก็คือ 153.573 แนวรับสุดท้ายก็คือ 153.156
การประกาศอัตราการว่างานอังกฤษจะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานของอังกฤษประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสของอังกฤษซึ่งเป็นการประกาศของเดือนกันยายน แต่จำประกาศในส่วนของการเปลี่ยนแปลงในจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการจะเป็นการประกาศของเดือนตุลาคมจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในการประกาศในครั้งนี้หลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกันยายน นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.6% ครั้งก่อน 7.2% ประกอบกับการประกาศการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานประจำเดือนตุลาคมครั้งก่อน -51.1K แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งการประกาศอัตราการว่างานประจำเดือนกันยายนของอังกฤษนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.4% ครั้งก่อน 4.5%
การวิเคราะห์ของราคา
การประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้ GBPAUD อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82559 แนวต้านที่สองก็คือ 1.82876 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83040
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82223 แนวรับที่สองก็คือ 1.82052 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81886
GBP/AUD : มีโอกาสปรับตัวที่ลงลงสกุลเงินปอนด์มีโอกาสปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันแต่คู่กันี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงจากสกุลเงินปอนด์มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82070 แนวรับที่สองก็คือ 1.81764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81298
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83231 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83854
GBP/AUD : มีโอกาสปรับตัวที่ลงลงสกุลเงินปอนด์มีโอกาสปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันแต่คู่กันี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงจากสกุลเงินปอนด์มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82070 แนวรับที่สองก็คือ 1.81764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81298
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83231 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83854
PMI ภาคการบริการของอังกฤษกับ GBPดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของอังกฤษกับค่าเงินปอนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 ในช่วงเวลา 16:30 น. จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการของอังกฤษประจำเดือนตุลาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมของอังกฤษประจำเดือนตุลาคมเช่นเดียวกันซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินปอนด์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
จากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการ ประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 58.0 เท่ากันกับครั้งก่อน ประกอบกับการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมของอังกฤษประจำเดือนตุลาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 56.8 เท่ากันกับครั้งก่อนดังนั้นหากมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือใกล้เคียงอาจจะทำให้ค่าเงินปอนด์มีความผันผวนเพียงระยะสั้นเท่านั้น
การวิเคราะห์ของราคา
โดยจากปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะคู่เงิน GBPUSD ที่มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.36043 แนวรับที่สองก็คือ 1.35764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.35495
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.36310 แนวต้านที่สองก็คือ 1.36604 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.36873
ปอนด์เทียบกับยูโรพุ่งปอนด์พุ่งนิวไฮ 20 เดือนเทียบยูโร เก็ง BoE ขึ้นดอกเบี้ยสัปดาห์หน้า
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ปอนด์พุ่งแตะระดับสูงสุดรอบ 20 เดือนเทียบยูโรในวันนี้ ขณะที่นักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในการประชุมนโยบายการเงินสัปดาห์หน้า
ณ เวลา 18.46 น.ตามเวลาไทย ปอนด์แข็งค่า 0.36% สู่ระดับ 1.382 ดอลลาร์ และปรับตัวขึ้น 0.24% สู่ระดับ 0.841 เทียบยูโร หลังจากพุ่งแตะระดับ 0.842 ก่อนหน้านี้ ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือนก.พ.2563
นักลงทุนคาดการณ์ว่า BoE จะเป็นธนาคารกลางแห่งแรกในกลุ่มธนาคารขนาดใหญ่ที่สุดของโลกที่จะทำการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายนับตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปีที่แล้ว และธนาคารกลางยุโรป (ECB) จะอยู่ในกลุ่มธนาคารกลางขนาดใหญ่ของโลกที่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยช้าที่สุด
การคาดหวังในครั้งนี้?
ตลาดการเงินคาดการณ์ว่า BoE จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในการประชุมนโยบายการเงินในวันที่ 4 พ.ย. และในเดือนธ.ค. รวมทั้งจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อไปในปีหน้า หลังจากที่นายแอนดรูว์ เบลีย์ ผู้ว่าการ BoE ส่งสัญญาณบ่งชี้ว่า BoE มีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อรับมือกับเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้น
นักลงทุนคาดการณ์ว่า BoE จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.15% ในเดือนพ.ย. และ 0.25% ในเดือนธ.ค. รวมทั้งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีก 3 ครั้งในปี 2565 ซึ่งจะทำให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายของ BoE พุ่งแตะระดับ 1.25%
นายเบลีย์ส่งสัญญาณบ่งชี้ว่า BoE มีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปีที่แล้ว เพื่อรับมือกับเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้น
นายเบลีย์กล่าวว่า BoE จำเป็นต้องดำเนินการเพื่อสกัดการพุ่งขึ้นของเงินเฟ้อ แม้เขาเชื่อว่าการดีดตัวขึ้นของเงินเฟ้อในระยะนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้คู่เงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ EURGBP ที่ดูเหมือนว่ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.83999 แนวรับที่สองก็คือ 0.83584 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.83442
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 0.84221 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.84350 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.84639
อังกฤษชี้ผู้ป่วยโควิดอาจจะแตะ 10Kรมว.สาธารณสุขอังกฤษชี้ ผู้ป่วยโควิดอาจแตะ 100,000 ต่อวันในช่วงฤดูหนาว ยังไม่มีมาตรการฉุกเฉินในตอนนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขของสหราชอาณาจักร กล่าวเมื่อวันพุธว่า รัฐบาลจะไม่ใช้กลยุทธ์ที่เรียกว่า “แผนบี” ของแผนโควิดช่วงฤดูใบไม้ร่วง-ฤดูหนาว ซึ่งขัดต่อคำเตือนจากผู้นำด้านสุขภาพว่าประเทศนี้เสี่ยง “เข้าสู่วิกฤตฤดูหนาว” ”
“เรากำลังตรวจสอบข้อมูลอย่างใกล้ชิด และเราจะไม่ดำเนินการตามแผน B ของมาตรการฉุกเฉิน ณ จุดนี้” จาวิดกล่าวขณะแถลงข่าวที่งานแถลงข่าวโคโรนาไวรัสครั้งแรกของรัฐบาลในรอบมากกว่าหนึ่งเดือน
“แต่เราจะคอยระวังตัว เตรียมพร้อมสำหรับเหตุการณ์ทั้งหมดในขณะที่เสริมความแข็งแกร่งให้กับการป้องกันที่สำคัญของเรา ที่สามารถช่วยเราต่อสู้กับไวรัสนี้”
Javid กล่าวว่าพลุกพล่านกำลัง "ดำเนินการอย่างโดดเด่น" โดยยอมรับว่าบริการด้านสุขภาพได้รับแรงกดดันมากขึ้น แต่ปฏิเสธข้อเสนอแนะว่าความกดดันนี้ไม่ยั่งยืน
“เราจะทำทุกอย่างเพื่อให้แน่ใจว่าแรงกดดันนี้จะไม่ยั่งยืน และเราไม่อนุญาตให้พลุกพล่านท่วมท้น”
Javid กล่าวว่าฤดูหนาวเป็น “ภัยคุกคามที่ยิ่งใหญ่ที่สุด” ต่อการฟื้นตัวจาก Covid และเสริมว่าผู้ป่วยยังสามารถปีนสูงถึง 100,000 ต่อวัน
การคาดหวังในครั้งนี้?
เกิดขึ้นไม่นานหลังจากสมาพันธ์บริการสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเป็นตัวแทนขององค์กรต่างๆ ในภาคส่วนการดูแลสุขภาพของสหราชอาณาจักร เตือนว่าข้อจำกัดบางประการเกี่ยวกับโควิด จะต้องได้รับการแนะนำอีกครั้ง “โดยไม่ชักช้า” หากรัฐบาลต้องการให้ประชาชนรักษาตัว
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้นแตกคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ GBPJPY ซึ่งยังคงมีความผันผวนในหลายปัจจัยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 157.183 แนวรับที่สองก็คือ 156.728 แนวรับสุดท้ายก็คือ 155.341
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 160.430 แนวต้านที่สองก็คือ 161.413 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 162.899
จับตาการประกาศอัตราเงินเฟ้ออังกฤษการประกาศอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนกันยายนของอังกฤษสำคัญในช่วงนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษในช่วงเวลา 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นทั้งอัตราเงินเฟ้อ ทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนกันยายนอย่างไรก็ตามจับตาดูอย่างใกล้ชิดประกอบกับจะมีการประกาศผลผลิตดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานและดัชนียอดขายปลีกเช่นเดียวกันแต่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดู การประกาศอัตราเงินเฟ้ออังกฤษในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ที่การประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนกันยายนหรืออัตราการเฟิสเทียบปีต่อปีนั้นนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.2% เท่ากันกับครั้งก่อน และในส่วนของการประกาศอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.7%
การวิเคราะห์ของราคา
การประกาศอัตราเงินเฟ้อในครั้งนี้จะส่งผลให้คู่เงิน GBPUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.38253 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38518 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38815
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.37953 แนวรับที่สองก็คือ 1.37722 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37163
EUR/GBP : ปัจจัยทางด้านเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวลงสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินปอนด์อาจจะมีการย่อตัว
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรได้รับแรงกดดันจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.84749 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.84607 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.84553
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.85056 แนวต้านที่สองก็คือ 0.85177 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.85247
GDP อังกฤษส่งผลกระทบกับค่าเงินปอนด์ระยะสั้นการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีประกาศเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีภาคการผลิตอุตสาหกรรมเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมและผลผลิตอุตสาหกรรมเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมของอังกฤษรวมทั้งจะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงดัชนีจีดีพีของรายเดือนแบบ 3M/3M ซึ่งเป็นปัจจัยที่อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ต่างคาดการณ์ออกมาในลักษณะในเชิงผันผวนได้อะไรอ่ะสั้นแต่อาจจะจำเป็นจะต้องจับตาดูการประกาศอีกครั้งก่อนโดยที่ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเทียบปีต่อปีของอังกฤษครั้งก่อนอยู่ที่ 23.6% ประกอบกับดัชนีจีพีเทียบเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ 0.1% โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในการประกาศของดัชนีจีดีพีรายเดือนแบบ 3M/3M ครั้งก่อนอยู่ที่ 3.6% รวมทั้งการประกาศรุ่นการค้าประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -12.00B ครั้งก่อน -12.71B
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนแต่คู่เงินที่น่าจับตามองอย่างมากก็คือ GBPUSD โดยเป็นที่น่าจับตามองในระยะสั้น ซึ่งถ้าเกิดมีความผันผวนเกิดขึ้นอาจจะควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.36259 แนวต้านที่สองก็คือ 1.36437 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.36644
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.35836 แนวรับที่สองก็คือ 1.35496 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.35322
การว่างงานอังกฤษกับ GBPอัตราการว่างานของอังกฤษจะมีการประกาศในช่วงเวลา 13:00 น.
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 13:00 น. จะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษประจำเดือนกรกฎาคมรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานของอังกฤษประกอบกับจะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับบริการการว่างานของอังกฤษประจำเดือนสิงหาคมรวมทั้งรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกรกฎาคม
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังในครั้งนี้อัตราการว่างานของอังกฤษนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 4.6% ครั้งก่อน 4.7% รวมทั้งรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกรกฎาคมจะประกาศประมาณ 8.2% ครั้งก่อน 8.8% ประกอบกับจะมีการประกาศในการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 178K ครั้งก่อน 95K จับตาดูว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ทางด้านสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นและยังคงวิ่งอยู่ในกรอบดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลอย่างไรกับสกุลเงินปอนด์แต่คู่เงินที่น่าสนใจมากก็คือ GBPUSD ในคู่เงินนี้มีความผันผวนทั้งในส่วนของดอลล่าร์และในส่วนของสกุลเงินปอนด์โดยที่จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญในวันอังคารที่จะถึงนี้ดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.38244 แนวรับที่สองก็คือ 1.38059 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.37866
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.38491 แนวต้านที่สองก็คือ 1.38607 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.38845
GBP ส่งผลกับค่าเงินปอนด์การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษส่งผลกับค่าเงินปอนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 13:00 น. จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษโดยที่จะมีการประกาศทั้ง ปีต่อปีและเดือนต่อเดือนนักลงทุนยังคงจับตาดูว่าการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษจะส่งผลให้กับสกุลเงินปอนด์หรือไม่อย่างไรก็ดีมีการประกาศดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมด้วยเช่นเดียวกันซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการผันผวนของดัชนีจีดีพีนั้นนักวิเคราะห์ยังคงมีความคาดการณ์ในบางมุมแต่ในส่วนของดัชนีจีดีพีเทียบเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ 0.8% ประกอบกับดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมของปีต่อปีของอังกฤษครั้งก่อน 22.2% ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 0.2% รวมทั้งดุลการค้าของอังกฤษประจำเดือน กรกฎาคมด้วยเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยของสกุลเงินปอนด์จะส่งผลให้กับหลายคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPCHF โดยมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวดังนั้นอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นถ้ามีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวก'
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27244 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27537 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27760
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26910 แนวรับที่สองก็คือ 1.26605 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26518
GBP/AUD : ปัจจัยทางด้านเทคนิคฟื้นตัวขึ้นสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้ในแนวโน้มระยะสั้นมีการฟื้นตัวขึ้นดังนั้นถ้าเกิดมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.87192 แนวต้านที่สองก็คือ 1.87495 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.87798
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.86538 แนวรับที่สองก็คือ 1.86255 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.85830
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามในระยะที่สำคัญอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลยพรที่อาจจะเป็นจะต้องติดตามไม่ว่าจะเป็นทั้งปัจจัยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์อย่างใกล้ชิด
GBP/AUD : ยังคงยังคงมีการปรับตัวลงสกุลเงินออสเตรเลียแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้อยู่คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัด
อย่างไรก็ดี GBPAUD อาจจะยังคงเป็นการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.87991 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.87748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.87275
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.88384 แนวต้านที่สองก็คือ 1.88866 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.89280
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียเพราะจะกดดันสกุลเงินหลายสกุลเงินรวมทั้งคู่เงินนี้อย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/JPY : ฟื้นตัวได้จากตลาดหุ้น Nikkeiสกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนฟื้นตัวขึ้นได้ระยะสั้น
ในส่วนของสกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังมีการปรับตัวฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้ สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นในระยะสั้น
GBPJPY มีการปรับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นแต่อย่างไรก็ดียังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ถึงแม้ว่ามีการฟื้นตัวขึ้นแต่ก็ยังคงไม่กดดันทำให้มีการฟื้นตัวขึ้นในระยะยาวดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 151.445 แนวต้านที่สองก็คือ 151.668 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 152.054
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 151.072 แนวรับที่สองก็คือ 150.868 แนวรับสุดท้ายก็คือ 150.557
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากจำเป็นจะต้องติดตามก็คือในส่วนของสกุลเงินเยนเนื่องจากว่าในหลายสำนักยังคงต้องจับตาดูในการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาและจะส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีความผันผวนไปในทิศทางของตลาดหุ้น Nikkei จับตาดูอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด