การซื้อขายเหตุการณ์พื้นฐานในสัปดาห์นี้ การซื้อขายเหตุการณ์พื้นฐานในสัปดาห์นี้
ความสนใจของตลาดจะได้รับการแก้ไขในการประชุมนโยบายสุดท้ายของธนาคารกลางของ 2023 กำหนดไว้สำหรับวันพุธนี้ด้วยความคาดหวังว่าสหรัฐจะรักษาอัตราดอกเบี้ยที่สูง 22 ปี
นักลงทุนจะมีโอกาสที่จะกลั่นกรองคำสั่งของเฟดและประธานแถลงข่าวของเจโรมพาวเวลล์สำหรับข้อบ่งชี้ใดๆของการปรับลดอัตราดอกเบี้ยที่มีศักยภาพในปี 2024(หรือขาดมัน)
วันหนึ่งก่อนที่จะมีการตัดสินใจของเฟดสหรัฐยังทรงตัวที่จะเปิดเผยข้อมูลอัตราเงินเฟ้อที่ส การคาดการณ์แนะนำการเพิ่มขึ้นเล็กน้อยของ 0.1%ในเดือนพฤศจิกายนราคาผู้บริโภค
บนักลงทุนทุกท่านระดับของอำนาจเพิ่มทางการเงินอาจจะต่อต้านคุณเช่นเดียวกับทำเงินใ
คาดการณ์ว่าจะรักษาต้นทุนการกู้ยืมเงินที่สูง 15 ปีในขณะที่ย้ำความจำเป็นสำหรับอัตราดอกเบี้ ความเห็นใดๆจากธนาคารเบี่ยงเบนไปจากแนวโน้มนี้อาจทำให้เกิดคลื่นในตลาด
อัตราเงินเฟ้อยูโรโซนลดลงถึง 2.4%เมื่อเดือนที่แล้วลดลงจากกว่า 10%ต่อปีก่อนหน้านี้ต่อไปนี้สิบปรับ การลดลงนี้จะนำเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อของธนาคารกลางยุโรป 2%เข้าสู่มุมมองและทำให้ เริ่มต้นของการตัดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกตามด้วย 25 จุดพื้นฐานตัดในการประชุมแต่ละครั้งต่
BOE
"GBP/USD แข็งค่าเหนือ 1.2600, รอข้อมูลสหรัฐฯ" 🌍📈💱🔍🌍📈 การวิเคราะห์ค่าเงินปอนด์ (GBP) และดอลลาร์สหรัฐ (USD) ในช่วงนี้กลายเป็นเรื่องที่น่าจับตามองในวงการการเงินโลก! ราคาคู่เงิน GBP/USD ได้มีการปรับตัวแน่นอนเหนือระดับ 1.2600 โดยมีแรงหนุนจากคำพูดแบบ "hawkish" (ท่าทีแข็งกร้าว) ของสมาชิกธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) และกำลังรอข้อมูลจากสหรัฐฯ
🔍📉 ในช่วงเช้าของวันจันทร์ในยุโรป, ค่าเงินปอนด์เคลื่อนไหวใกล้เคียง 1.2610 และได้รับประโยชน์จากการอ่อนค่าของดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเกิดจากความคาดการณ์ที่เพิ่มขึ้นว่าธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve) อาจจบการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยแล้ว
🏦💬 นอกจากนี้, คู่สกุลเงินคาเบิ้ล (GBP/USD) ยังได้รับแรงหนุนเพิ่มเติมจากคำพูดของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) แอนดรูว์ เบลีย์ ที่เน้นย้ำว่าการลดอัตราเงินเฟ้อลงเหลือ 2% เป็นงานที่ยาก และยังเร็วเกินไปที่จะพูดถึงการลดอัตราดอกเบี้ย และเขายังแสดงความกังวลเกี่ยวกับการชะลอตัวของด้านการจัดหาในเศรษฐกิจ
🛡️💪 หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของ BoE, ฮิวว์ พิลล์ ได้สื่อสารถึงความมุ่งมั่นของธนาคารกลางในการรักษาท่าทีแข็งแกร่งต่อต้านเงินเฟ้อ โดยเน้นว่า BoE ไม่สามารถผ่อนคลายนโยบายการเงินที่เข้มงวดได้
🇺🇸💵 ดัชนีดอลลาร์สหรัฐ (DXY) ยังพบความท้าทายแม้ว่าผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐจะดีขึ้น ถึงแม้จะมีการคาดเดาเกี่ยวกับศักยภาพในการผ่อนคลายนโยบาย, เจ้าหน้าที่ของ Federal Reserve ย้ำถึงความสำคัญของการเข้มงวดเพิ่มเติม ท่าทีนี้ส่งสัญญาณถึงความมุ่งมั่นในการประเมินข้อมูลที่เข้ามาอย่างรอบคอบก่อนการตัดสินใจใดๆ ทางนโยบาย
🔎📊 ผู้เข้าร่วมตลาดดูเหมือนจะประพฤติตัวอย่างระมัดระวังก่อนการเปิดเผยข้อมูลทางเศรษฐกิจสำคัญหลายชุดจากสหรัฐฯ ข้อมูลที่กำลังจะมาถึง รวมถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ประจำไตรมาสที่สามและดัชนีราคาการบริโภคส่วนบุคคลพื้นฐาน (PCE) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดสำคัญของเงินเฟ้อ คาดว่าจะให้ภาพรวมที่ครอบคลุมของประสิทธิภาพเศรษฐกิจของประเทศ
#GBPUSD #ตลาดการเงิน #เงินเฟ้อ #นโยบายการเงิน #BoE #FederalReserve #ดอลลาร์ #ปอนด์ #เศรษฐกิจโลก 🌐💸📊🏦🔍
จับตาการกล่าวสุนทรพจน์ของผู้ว่า BOEจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในงานอีเวนท์ออนไลน์ที่จัดโดย TheCityUK
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในงานอีเวนท์ออนไลน์ที่จัดโดย TheCityUK ซึ่งจะเป็นการกล่าวสุนทรพจน์ของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษในช่วงเวลา 16:05 น. ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูถ้อยแถลงในการ กล่าวสุนทรพจน์ในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการกล่าวสุนทรพจน์งานอีเวนท์ออนไลน์ของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษยังคงให้ความสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะนักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างยังคงต้องเฝ้าจับตาดูว่าจะมีการแถลงหรือจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ไปถึงเรื่องนโยบายทางการเงินหรือไม่โดยเฉพาะการที่อาจจะต้องเฝ้าจับตา ดูว่าจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินไปยังการขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งต่อไปหรือไม่หรือในการกำหนดนโยบายทางการเงินอย่างไรซึ่งปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การวิเคราะห์ของราคา
โดยที่ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนอย่างมากจึงควรติดตามว่า GBPCHF มีกรอบแนวรับแนวต้านอย่างไร
ซึ่งถ้าเกิดว่าค่าเงินปอนด์มีความผันผวนและมีการแข็งค่าขึ้นคู่เงินนี้อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25144 และสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.25304 และ 1.25395 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.25504
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.24911 แนวรับที่สองก็คือ 1.24755 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24626
ปรับอัตราดอกเบี้ยของ BOEการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:00 น. จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษซึ่งจะมีการบวชในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยและคงอัตราดอกเบี้ยไว้โดยเฉพาะจะมีการรายงานการประชุมของคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การปรับอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้อาจจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมที่ 0.10% และในการโหวตเพื่อคงอัตราดอกเบี้ยไว้จากคณะกรรมการนโยบายทางการเงินนั้นจะอยู่ที่ 7-2-0 ซึ่งต้องติดตามว่าสกุลเงินปอนด์จะมีความผันผวนระยะสั้นหรือไม่โดยที่ยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณหรือมาตรการ QE อยู่ในระดับเดิมก็คือ 875B ซึ่งเป็นการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะค่าเงิน GBPJPY ที่อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 151.357 แนวต้านที่สองก็คือ 151.583 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 151.727
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 151.078 แนวรับที่สองก็คือ 150.932 แนวรับสุดท้ายก็คือ 150.692
BOE จะมีการแถลงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางอังกฤษจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยรวมทั้งแถลงนโยบายทางการเงิน
ในช่วงเวลา 18:00 น. จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษรวมทั้งจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของคณะกรรมการนโยบายทางการเงิน MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. เช่นเดียวกัน ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าจะมีการแถลงอย่างไร
ประกอบกับในช่วงเวลาเดียวกันจะมีรายงานภาวะเงินเฟ้อจากธนาคารกลางอังกฤษโดยเฉพาะนักลงทุนต่างจับตามองว่าจะมีการมองอย่างไรจาก BOE ในการกล่าวถึงเงินเฟ้อของอังกฤษว่าจะมีทิศทางอย่างไรซึ่งถ้ามีเงินเฟ้อมากอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
อย่างไรก็ดีปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างมากก็คือการแถลงนโยบายทางการเงินโดยที่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างจับตามองว่าจะมีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินต่อหรือไม่เอาหรือจะมีการลดการอัดฉีดเม็ดเงินซึ่งถ้ามีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัว อ่อนค่าลงและถ้ามีการลดการอัดฉีดเป็นเงินอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
อีกหนึ่งคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ EURGBP ซึ่งคู่เงินนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยทิศทางเทรนด์ขาลงนั้นยังคงมีมุมมองชัดเจนดังนั้นถ้ามีการแถลงในครั้งนี้อาจจะทำให้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงทะลุ 1.85175 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.85054 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.84873 และแนวรับอีกหนึ่งแล้วรับที่จะต้องจับตามองก็คือ 0.84727
แต่ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญสองแนวต้านแรกเท่านั้นก็คือ 0.85313 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 0.85465
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของ EURGBP : คู่เงินนี้ยังคงต้องจับตาดูโดยเฉพาะในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาจะมีความผันผวนกับสกุลเงินยูโรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการประกาศปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURGBP ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP อ่อนค่าหลังจาก BOE คงดอกเบี้ยธนาคารกลางอังกฤษมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมแต่สกุลเงินปอนด์อ่อนค่าลงระยะสั้น
ในเมื่อวานที่ผ่านมาธนาคารกลางอังกฤษได้มีการจัดการประชุมนโยบายทางการเงินเมื่อวานนี้โดยที่มีมติเป็นเอกฉันท์ในการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับ 0.10% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการสอทของกับการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
โดยนอกจากนี้ ธนาคารกลางอังกฤษได้มีการประกาศคงวงเงินในการซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณที่ระดับ 8.95 แสนล้านปอนด์เพื่อลดผลกระทบเกิดจากวิกฤตโควิด 19
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเป็นปัจจัยมาจากยังคงมีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวร่วงลงดังกล่าว
ซึ่งสกุลเงิน GBPUSD มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ GBP มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.38917 แนวรับที่สองก็คือ 1.38662 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.38319
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านแรกก็คือ 1.39363 แนวต้านที่สองก็คือ 1.39735 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.40039
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPUSD ที่น่าจับตา : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในคู่เงินนี่จำเป็นต้องจับตามองในส่วนของสกุลดอลลาร์เนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินดอลลาร์ยังคงมีการประกาศที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาไหนวันนี้ดังนั้นคู่เงินนี้อาจมีความเสี่ยงเชิงระยะสั้นจับตามองอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาการประกาศปรับดอก BOEการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในวันพฤหัสที่จะถึงนี้
ในวันที่ 24 มิถุนายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ รวมทั้งจะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินในครั้งนี้โดยที่อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเงินในเชิงระยะสั้นดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและอาจจะมีการแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน GBPCHF อาจจะมีความผันผวนในวันพรุ่งนี้ดังนั้นในช่วงนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจากปัจจัยของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28516 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28802 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.29329
แต่มีการขยับตัวร่วงลงเมื่อไหร่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยที่แนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.28083 แนวรับที่สองก็คือ 1.27788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27562
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยปัจจัยเสี่ยงที่น่าจับตามองก็คือยังคงเป็นการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษหรือ MPC รอดูว่าจะมีการประกาศรายงานการประชุมอย่างไรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด