รายงานยอดอนุมัติสินเชื่อประเทศออสเตรเลียการประกาศรายงานอนุมัติสินเชื่อของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จับตาการประกาศรายงานว่าสินเชื่อเพื่อการสร้างบ้านของออสเตรเลียเทียบเตรียมตัวเดือนพร้อมดัชนีอัตราเงินเฟ้อคาดการณ์จากสถาบัน MI ของออสเตรเลียในช่วงเวลา 08:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียผ่านพ้นระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยทางด้านรายงานยอดอนุมัติสินเชื่อเพื่อการสร้างบ้านของออสเตรเลียนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะมีการประกาศ -18.5% เท่ากันกับครั้งก่อนโดยที่การประกาศดัชนีอัตราเงินเฟ้อคาดการณ์จากสถาบัน MI ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์แต่ครั้งก่อนอยู่ที่ 5.2%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะ AUDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.69209 แนวรับที่สองก็คือ 0.69069 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68849
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69935 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70398 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70823
Aud-usd
จับตาอัตราเงินเฟ้อออสเตรเลียการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียประจำไตรมาสที่หนึ่งเทียบไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีที่จะมีการประกาศออกมาในช่วงเวลา 08:30 น. โดยจะมีการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่ารวมทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคถ่วงน้ำหนักไตรมาสที่หนึ่งเทียบปีต่อปีและไตรมาสต่อไตรมาสของออสเตรเลีย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ออกมาหลายภาคส่วนแต่สิ่งที่สำคัญอย่างมากก็คือการประกาศอัตราเงินเฟ้อประจำไตรมาสที่หนึ่งเทียบไตรมาสถัดไปมากนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 1.7% ครั้งก่อน 1.3% และเทียบปีต่อปีนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 4.6% ครั้งก่อน 3.5% จับตาดูว่าจะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะ AUDUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71145 แนวรับที่สองก็คือ 0.70930 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70737
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71872 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72234 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72461
จับตาดัชนีจีดีพีของออสเตรเลียการประกาศดัชนีจีดีพีของออสเตรเลียประจำไตรมาสที่สี่
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 07:30 น. จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สี่เทียบไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีของออสเตรเลียโดยเฉพาะจะมีการประกาศจีดีพีวัดใครจะจ่ายการลงทุนของออสเตรเลียที่ดูเหมือนว่าอาจจะมีมุมมองที่จำเป็นที่จะต้องติดตามอย่างมากสำหรับสกุลเงินออสเตรเลีย
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งดัชนีจีดีพีเทียบไตรมาสไตรมาสประจำไตรมาสที่สี่นั้นนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -2.7% ครั้งก่อน -1.9% ประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีเทียบปีต่อปีประจำไตรมาสที่สี่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศมา 3.0% ครั้งก่อน 3.9%
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญของคู่เงิน AUDUSD
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72313 แนวรับที่สองก็คือ 0.72152 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71975
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72612 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72731 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72855
ออสเตรเลียยุติ QE ด้วยอนาคตอันมืดมนออสเตรเลียยุติ QE ด้วยอนาคตอันมืดมนด้วยสินทรัพย์มูลค่า 465 พันล้านดอลลาร์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ออสเตรเลียเตรียมที่จะสรุปแผนมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ โดยปล่อยให้ธนาคารกลางมีการออกพันธบัตรรัฐบาลมากกว่า 40% และตั้งคำถามว่าจะทำอะไรกับกองสินทรัพย์
RBA ในวันพฤหัสบดีที่ดำเนินการซื้อหลักทรัพย์ขั้นสุดท้ายภายใต้โครงการที่เพิ่มงบดุลเป็นสามเท่าเป็นประมาณ 650 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย (465 พันล้านดอลลาร์) อันที่จริงในปี 2564 ซื้อหนี้มากกว่าที่รัฐบาลออกให้ถึง 3 เท่า ซึ่งเป็นอัตราส่วนที่ใหญ่ที่สุดในตลาดตราสารหนี้ที่พัฒนาแล้วที่ใหญ่ที่สุดในโลก 6 แห่ง
ผู้ว่าการ Philip Lowe กล่าวว่า RBA จะตัดสินใจในเดือนพฤษภาคมว่าจะนำเงินที่ได้จากพันธบัตรที่ครบกำหนดกลับมาลงทุนใหม่หรือไม่ แม้ว่าจะตัดสินใจไม่นำกลับมาลงทุนใหม่ นักวิเคราะห์ก็ไม่คาดว่าจะมีการขาดทุนอย่างมีนัยสำคัญในระยะเวลาอันใกล้ หรือที่เรียกว่าความเข้มงวดในเชิงปริมาณ เนื่องจากพันธบัตรดังกล่าวจะครบกำหนดครั้งแรกยังไม่ถึงเดือนเมษายน 2566
การตัดสินใจของ RBA ในการหันไปใช้ QE โดยหลีกเลี่ยงไม่ได้ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่ามีแนวโน้มที่จะหันไปใช้ QE อีกครั้งในวิกฤตหรือภาวะถดถอยครั้งต่อไป Lowe กล่าวเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าในขณะที่ RBA ถือหุ้น 60% ของหลักทรัพย์บางประเภท แต่ตลาดสามารถรองรับการซื้อได้มากขึ้นหากจำเป็น
การคาดหวังในครั้งนี้?
Diana Mousina นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของ AMP Capital Investors Ltd. กล่าวว่า "พวกเขาอาจจะโน้มเอียงไปสู่การทำโครงการซื้อพันธบัตรมากขึ้น หากจำเป็นในอนาคต" สะท้อนถึงประสบการณ์ของ RBA เกี่ยวกับนโยบายนอกรีตซึ่งรวมถึงเป้าหมายผลตอบแทนในสาม - พันธบัตรปี
“เป้าหมายอัตราผลตอบแทนทำให้พวกเขามากเกินไปในปี 2567 ปัญหาเกิดขึ้นจากการมีกรอบเวลาที่เฉพาะเจาะจงซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ธนาคารกลางอื่น ๆ นอกเหนือจากธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นเลือกที่จะใช้การซื้อพันธบัตรรัฐบาล” เธอกล่าว
ออสเตรเลียได้ต่อต้านนโยบายนอกรีตจนกระทั่งผลกระทบทางเศรษฐกิจจาก Covid-19 ได้ระบายกระสุนอัตราดอกเบี้ยที่เหลืออยู่ในที่สุด RBA จะซื้อหลักทรัพย์ต่อไป ดำเนินการตามเป้าหมายผลตอบแทน ให้คำแนะนำล่วงหน้า ให้ธนาคารกู้ยืมในราคาถูก และสุดท้ายในเดือนพฤศจิกายน 2020 จะดำเนินการ QE
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามคู่เงินที่สำคัญก็คือ AUDUSD ว่ามีความผันผวนมากน้อยแค่ไหนอย่างไรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72108 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72258 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72504
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71536 แนวรับที่สองก็คือ 0.71349 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71129
การรายงานการประชุมของ RBAจับตาการรายงานการประชุมของ RBA
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วง 07:30 น. จะมีการแถลงรายงานการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียซึ่งจะเป็นการแถลงผ่านทางธนาคารกลางออสเตรเลียโดยที่ การแสดงในครั้งนี้อาจจะส่งผลถึงสกุลเงินออสเตรเลียเป็นหลัก
การคาดหวังในครั้งนี้?
การคาดหวังในครั้งนี้นักวิเคราะห์ต่างคาดหวังว่าธนาคารกลางออสเตรเลียอาจจะมีการส่งสัญญาณในการขึ้นอัตราดอกเบี้ยและอาจจะมีการกำหนดนโยบายที่พยายามที่จะกดดันเงินเฟ้อให้มีการปรับตัวลงดังนั้นความเป็นไปได้ที่อาจจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยยังคงมีมากขึ้นจึงควรติดตามว่าอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ถ้าปัจจัยนี้ส่งผลทำให้สกุลออสเตรเลียมีความฝันผวนคู่เงินที่น่าสนใจก็คือ AUDUSD ที่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71571 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71769 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71998
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71139 แนวรับที่สองก็คือ 0.70931 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71619
AUD/USD : ปัจจัปัจจัยเชิงเทคนิค อาจฟื้นตัวขึ้นสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์อาจมีการฟื้นตัวขึ้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการแถลงของประธานธนาคารกลางสหรัฐถึงความไม่ชัดเจนกับการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นบ้างเล็กน้อยจากค่าเงินอยู่ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
ดังนั้นในส่วนของ AUDUSD อาจมีการฟื้นตัวขึ้น จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72253 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72466 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72627
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.72080 แนวรับที่สองก็คือ 0.71952 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71793
รายงานยอดอนุมัติสินเชื่อออสเตรเลียจะมีการรายงานยอดอนุมัติสินเชื่อเพื่อการสร้างบ้านของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 07:30 น. ในวันที่ 10 มกราคม 2022 จะมีการรายงานการอนุมัติสินเชื่อเพื่อการสร้างบ้านของออสเตรเลียเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนรวมทั้งยอดอนุมัติโครงสร้างแบบบ้านภาคเอกชนของออสเตรเลียประจำเดือนพฤศจิกายนซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่ารายงานยอดการอนุมัติสินเชื่อเพื่อการสร้างบ้านเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤศจิกายนของออสเตรเลียจะมีการประกาศออกมา -0.5% ครั้งก่อน -12.9% รวมทั้งยอดอนุมัติการสร้างบ้านภาคเอกชนประจำเดือนพฤศจิกายนไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์แต่ครั้งก่อนประกาศอยู่ที่ 4.3% ต้องจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน AUDUSD อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71850 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72055 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72207
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71642 แนวรับที่สองก็คือ 0.71503 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71388
AUDUSD 29-11-64AUDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
AUD/USD : ปัจจัยทางด้านเทคนิคอาจมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นแต่ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิดซึ่งอาจจะยังคงมีความเป็นไปได้ที่อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นแต่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกัน
โดยถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.73664 แนวต้านที่สองก็คือ 0.73859 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74051
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73381 แนวรับที่สองก็คือ 0.73234 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.72917
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของค่าเงินสกุลออสเตรเลียก็คือความเป็นไปได้ของความผันผวนของสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องเฝ้าจับตามองในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของดัชนียอดขายปลีกที่จะมีการประกาศในครั้งนี้
การประกาศอัตราเงินเฟ้อออสเตรเลียการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียสำคัญอย่างมากในครั้งนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียประจำใจมาสที่สามทั้งไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีโดยนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่าประจำไตรมาสที่สามดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศในครั้งนี้จะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่ ซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 07:30 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศที่สำคัญหลายการประกาศซึ่งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสต่อไตรมาสนั้นจะประกาศออกมา 0.8% เท่ากันกับครั้งก่อนแต่ดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีจะประกาศประมาณ 3.1% ครั้งก่อน 3.8% รวมทั้งการประกาศดัชนีซีพีไอเฉลี่ยปรับแต่งค่าประจำใจมาสที่สามเทียบในมาตรามาตราประกาศออกมา 0.5% เท่ากันกับครั้งก่อนดังนั้นจับตาดูว่าการประกาศครั้งนี้จะส่งผลถึงกับสกุลออสเตรเลียมีความผันผวนหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน AUDUSD ที่ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.74799 แนวรับที่สองก็คือ 0.74704 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74559
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75221 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75327 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75422
AUD/USD : ฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียอ่อนค่าลงระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ ยังคงมีการขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวฟื้นตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญระยะสั้นก็คือ 0.72154 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72392 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72525
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71868 แนวรับที่สองก็คือ 0.71570 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71325
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญประกอบกับส่วนของจับตาดูสกุลเงินดอลล่าร์ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประชุมแจ็คสันโฮหรือแม้กระทั่งการประกาศตัวเลขสำคัญในวันศุกร์ที่จะถึงนี้
EUR/AUD : ปัจจัยเชิงเทคนิคอาจย่อตัวลงAUD อาจมีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในปัจจัยเนี่ยทางด้านเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น โดยในอีกหนึ่งสวนก็คือในส่วนของสกุลเงินยูโรมีความผันผวนในเชิงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงโดยเฉพาะสกุลเงินดอลล่าร์มี การปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60418 แนวรับที่สองก็คือ 1.60136 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.59782
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.60782 แนวต้านที่สองก็คือ 1.61211 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61629
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURAUD ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าสนใจอย่างมาก : คู่เงินนี้อาจจะมีความผันผวนในเชิงระยะสั้นโดยเฉพาะปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีความ ความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงินนี้เป็นปัจจัยระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
การประกาศยอดขายปลีกออสเตรเลียการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียมี อาจมีความผันผวนกับสกุลเงินออสเตรเลีย
ในช่วงเวลา 08:30 น. จะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียประจำเดือนมิถุนายนโดยที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากซึ่งจะมีการประกาศในวันที่ 4 สิงหาคม 2021 แล้วลงทุนได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะมีการประกาศออกมาที่เท่าเดิมที่ -1.8% ซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเช่นเดียวกัน
ซึ่งสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีความผันผวนในช่วงสั้นกับการประกาศตัวเลขนี้อย่างไรก็ดีสกุลออสเตรเลียมักจะมีความผันผวนกับสกุลเงินดอลล่าร์ในทิศทางฝั่งตรงกันข้ามและต้องจับตาดูสกุลเงินหยวนโดยที่การประกาศครั้งนี้อาจจะมีความผันผวนเพียงระยะสั้นเท่านั้น
คู่เงินที่สำคัญก็คือ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้มีการฟื้นตัวขึ้นหลังจากที่จะมีการคงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียในระยะสั้นดังนั้นต้องจับตามองว่าจะมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องของสกุลออสเตรเลียหรือไม่ ซึ่งอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.74022 แนวต้านที่สองก็คือ 0.74143 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74416
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73846 แนวรับที่สองก็คือ 0.73749 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามอง : โดยที่ในการประกาศนี้อาจจะจับตาดูว่าจะมีการประกาศในความเป็นไปได้ในการมากกว่าที่คาดการณ์ไว้หรือไม่ถ้ามีการคาดการณ์ไว้ในระดับนี้และมีการประกาศมาสูงกว่าอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUDUSD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ผู้ช่วย RBA เผยนโยบายทางการเงินผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการแถลงถึงนโยบายทางการเงิน
ในช่วงเวลา 19:35 น. จะมีการแถลงของผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียโดยที่นักลงทุนยังคงคาดหวังและมีการคาดการณ์ว่าในการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการกระตุ้นเศรษฐกิจอีกครั้งหรือไม่
ซึ่งสกุลเงินออสเตรเลียนั้นยังคงมีการเคลื่อนไหวกับนโยบายทางการเงินนี้อย่างต่อเนื่องแต่ในการประกาศนโยบายทางการเงินที่ผ่านมาทางธนาคารกลางออสเตรเลียยังคงมีการอัดฉีดเม็ดเงินอย่างต่อเนื่องและยังมีแนวโน้มที่ยังคงอัดฉีดเม็ดเงินในเชิงระยะสั้น
ดังนั้นต้องจับตาดูนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียถ้ามีการประกาศเริ่มมีการส่งสัญญาณในการลดการอัดฉีดเม็ดเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียอาจจะส่งผลให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและในทิศทางกับการอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงถ้ามีการประกาศยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินอย่างต่อเนื่อง
ในคู่เงิน AUDUSD อาจจะมีการผันผวนในการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินในครั้งนี้ ซึ่งในรอบวันมีการปรับตัวขึ้น +0.22% และในระยะกลางยังคงมีการขยับตัวขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลง
จึงควรติดตามว่า AUDUSD มีการผันผวนในทิศทางไหนถ้ามีการประกาศนโยบายทางการเงินในครั้งนี้
ซึ่งถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสามารถทะลุ 0.73883 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.74151 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.74420
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.73515 แนวรับที่สองก็คือ 0.73360 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.73130
RBA จะมีการปรับดอกเบี้ยอังคารนี้ธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยในวันอังคารที่จะถึงนี้
ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 แต่ช่วงเวลา 11:30 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียรวมทั้งแถลงของธนาคารกลางออสเตรเลียเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยที่มีการคาดการณ์ว่าอาจจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยที่เท่าเดิมที่ 0.10% แต่ต้องจับตาดูว่าจะมีการ ปรับนโยบายทางการเงินอย่างไร
โดยที่ AUDUSD มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสกุลเงินหยวนที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75465 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75639 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75729
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.75116 แนวรับที่สองก็คือ 0.74889 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : จะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของจีนรวมทั้งการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียประกอบกับจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญทั้งดัชนีพีเอ็มไอต่างๆซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนจึงควรจับตามองอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
เงินหยวนอาจกดดัน AUD วันพุธนี้เงินหยวนจะกดดันสกุลเงินออสเตรเลียในวันพุธที่จะถึงนี้
ดูเหมือนว่าจะมีการประกาศของจีนในการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนซึ่งจะส่งผลกับสกุลเงินออสเตรเลียในช่วงระยะสั้นอีกครั้งโดยที่ดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตของจีนมีการคาดการณ์ออกมาว่าในเดือนมิถุนายนจะประกาศออกมา 50.8 ครั้งก่อน 51.1 ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงไปในทิศทางเดียวกันกับสกุลเงินหยวน
โดยปัจจัยที่คู่เงินน่าจับตามองก็คือ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกดดันทำให้ สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.75268 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.75159 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.74992
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75466 แนวต้านที่สองก็คือ 0.75637 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.75724 และแนวต้านอีกหนึ่งแล้วตามที่น่าจับตามองก็คือ 0.75849
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDUSD ซึ่งเป็นปัจจัยในเชิงระยะสั้น : ในวันพุธที่จะถึงนี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสกุลเงินหยวนคือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตรวมทั้งจะเป็น การประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ นอกภาคการผลิตของจีนประกอบกับจะมีรองผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินอีกครั้งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
เงินหยวนกดดัน AUD ระยะสั้นเงินหยวนยังคงกดดัน AUD ระยะสั้นแต่ยังต้องรอดู USD
ค่าเงินหยวนยังคงกดดันให้มีการแข็งค่าหลังจากที่ USD ยังคงมีการอ่อนค่าระยะสั้นโดยที่นักลงทุนยังคงรอปัจจัยหนุนที่สำคัญโดยเฉพาะเงินหยวนจะมีการประกาศที่สำคัญมากในสัปดาห์นี้ซึ่งเป็นการประกาศที่ผ่านมาแล้วแต่ก็ไม่ส่งผลให้กับเงินหยวนมากนัก
ดังนั้นในส่วนของ AUD ยังคงต้องติดตามว่าเงินหยวนนั้นจะยังเคลื่อนไหวอย่างไรหรือว่าในส่วนของการเคลื่อนไหวนั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรโดยเฉพาะ AUDUSD ซึ่งในตอนนี้ดูเหมือนว่ามีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยจากเงิน USD ที่มีการอ่อนค่ารวมทั้งเงินหยวนที่มีการแข็งค่า
จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญของ AUDUSD
ถ้ามีการดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.75598 และกรอบแนวต้านทีสองก็คือ 0.75994 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.76337
แต่ถ้ามีการร่วงลงระยะสั้นสองกรอบแนวรับที่สำคัญก็คือ 0.75091 เป็นแนวรับแรก และแนวรับที่สองก็คือ 0.74790
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน AUDUSD ก็คือ : ในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศที่สำคัญมากของสหรัฐก็คือการประกาศ GDP รวมทั้ง การประกาศ Core PCE ที่ต้องจับตามองเพราะจะคอยกดดันเงินหยวนและ AUD ในระยะสั้น ดังนั้นควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD ยังคงมีการพักตัวไร้ปัจจัยหนุนสกุลเงินออสเตรเลียยังไร้ปัจจัยหนุนในช่วงนี้
กลุ่มเงินสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ถึงแม้ว่ามีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของออสเตรเลียทั้ง ในช่วงเช้ามีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียก็ยังไม่มีปัจจัยที่ส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนแต่อย่างใดทำให้ทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงไปในทิศทางสกุลเงิน Quote Currency เป็นส่วนใหญ่
ดังนั้นคู่เงิน AUDUSD มีการปรับตัวย่อตัวลงหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้ปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.76871 แนวรับที่สองก็คือ 0.76729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.76610
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77033 แนวต้านที่สองก็คือ 0.77203 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.77537
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่ AUDUSD : โดยคู่เงินนี้ยังคงต้องการปัจจัยหนุนของสกุลเงินดอลล่าร์ดังนั้นในการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคำคืนนี้ยังคงเป็นปัจจัยที่อาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนจะควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
RBA คงนโยบายเป้าหมายพันธบัตรธนาคารกลางออสเตรเลียคงนโยบายเป้าหมายพันธบัตรอีกครั้ง
ธนาคารกลางออสเตรเลียตั้งมุมมองนโยบายไว้ที่จะเตรียมตัดสินใจในการขยายผลตอบแทนและโครงการผ่อนคลายเชิงปริมาณหรือมาตรการผ่อนคลายทางการเงินโดยการล็อกดาวเกี่ยวกับ โควิด-19 ให้ซับซ้อนมากขึ้น
ธนาคารกลางออสเตรเลียคงอัตราดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตรเป้าหมายที่สามปีที่ 0.10% ในวันอังคารที่ผ่านมาตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์และมีการตัดสินใจในเดือนกรกฎาคมว่าจะขยายเป้าหมายผลตอบแทนและดำเนินการมาตรการผ่อนคลายทางการเงินเพิ่มเติมหรือไม่และอาจจะมีการปิดเมืองครั้งใหญ่และปิดเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์เพื่อช่วยเพิ่มความ ไม่แน่นอนเกี่ยวกับแนวโน้มของ โควิด-19
ผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียกล่าวว่า แม้เศรษฐกิจและการจ้างงานจะฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งแต่แรงกดดันทั้งด้านเงินเฟ้อและการจ้างงานก็ยังคงนิ่ง คณะกรรมการมีความมุ่งมั่นที่จะรักษาเงื่อนไขและการเงินที่สนับสนุนอย่างสูงเพื่อสนับสนุนการกลับมามีงานอย่างเต็มรูปแบบในออสเตรเลียรวมทั้งอัตราเงินเฟ้อที่สอดคล้องกับเป้าหมาย
ในส่วนของคณะกรรมการยังคงพันธบัตรไว้ในเดือนเมษายนปี 2024 เนื่องจากเป้าหมายที่ครบกำหนดนั้นแข็งแกร่งขึ้นท่ามกลางการจ้างงานและความเชื่อมั่นรวมทั้งแผนการลงทุนที่แข็งแกร่ง สิ่งนี้ได้รับการสนับสนุนโดยรัฐบาลที่ยังคงมีการเปิดทางด้านภาคการคลังในงบประมาณเดือนพฤษภาคม เนื่องด้วยการเข้าร่วมของธนาคารกลางออสเตรเลียในการหาเรือในการลดการว่างานเพื่อฟื้นและเพื่อการเติบโตของค่าจ้างรวมทั้งอัตราเงินเฟ้อ
ซึ่งจากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้ในรอบวันสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหลังจากที่พร้อมที่จะมีการใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแต่อย่างไรก็ดีความเป็นไปได้ในอนาคตเดี๋ยวคงต้องพึ่งสกุลเงินหยวนรวมทั้งต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์โดยคู่เงินที่น่าจับตามองในปัจจัยนี้ก็คือ AUDUSD
ซึ่งในหลายวันที่ผ่านมายังคงวิ่งอยู่ในกรอบเนื่องจากในส่วนของทั้งสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นกดดันทำให้สกุลเงินหยวน ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบและปัจจัยทั้งภายนอกและภายในของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันดังนั้นการเทรดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านสำคัญในระดับวันก็คือ 0.78549 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 0.79612
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงไม่ว่าจะเป็นทั้งปัจจัยทั้งภายนอกและภายในของสกุลออสเตรเลียหรือไม่กระทั่งสกุลเงินหยวนกรอบแนวรับแรกก็คือ 0.77039 แนวรับที่สองก็คือ 0.75788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.75170
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญสำหรับสกุลเงินออสเตรเลียก็คือ : สกุลเงินหยวนยังคงเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลีย ทั้งในระยะสั้นและระยะกลางประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ถ้ามีการกดดันสกุลเงินหยวนสกุลเงินออสเตรเลียก็จะโดนกดดันด้วยเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : เริ่มมีโอกาสฟื้นตัวอีกครั้งสกุลเงินดอลล่าร์อ่อนค่าอีกครั้ง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่ สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงกดดันทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นถึงระยะกลางจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.77869 แนวต้านที่สองก็คือ 0.78097 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.78419
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.77381 แนวรับที่สองก็คือ 0.77202 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.76974
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนรจากการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามการรายงานนโยบายทางการเงินในวันอังคารที่จะถึงนี้เช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/USD : ย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการปรับตัวย่อตัวลง ในระยะสั้นแต่ในระยะการอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นโดยปัจจัยมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.78535 แนวรับที่สองก็คือ 0.78397 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.78185
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.78752 แนวต้านที่สองก็คือ 0.78884 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.79048
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังคงต้องติดตามสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด