AUD (ดอลล่าร์ออสเตรเลีย)
AUD/CAD : เริ่มปรับตัวลงในทิศทางขาลงระยะสั้นAUD/CAD : เริ่มปรับตัวลงในทิศทางขาลงระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
คู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการแข็งค่าขึ้นจากทิศทางของราคาน้ำมันที่มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียที่ในช่วงสองวันที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลงเนื่องจากมีการส่งสัญญาณที่เกี่ยวข้องกับสกุลเงินออสเตรเลียในช่วงนี้ใน การเจรจาสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ประกาศออกมาในมุมมองทิศทางที่ดีแต่ในส่วนของช่วงเช้าที่ผ่านมาดูเหมือนการส่งสัญญาณในการเจรจาทางการค้ายังไม่มีความชัดเจนดังนั้นจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินแคนาดามีการแข็งค่าขึ้นทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการร่วงลงอย่างรุนแรงในช่วงเช้าที่ผ่านมา
โดยที่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สำคัญอย่างมากก็คือ 0.94152 โดยที่แนวรับนี้นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองอย่างมากเนื่องจากว่าในส่วนของแนวรับที่สำคัญนี้ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงจะอยู่ในระยะสั้นถึงระยะกลางในทิศทางเทรนด์ขาลง โดยที่ถ้าสามารถทะลุผ่านไปได้แนวรับที่สองก็คือ 0.94056 แนวรับที่สามที่สำคัญอย่างมากก็คือ 0.93912 ซึ่งถ้าสามารถทะลุแนวรับนี้ได้จะอยู่ในทิศทางขาลงระยะสั้นถึงระยะกลาง
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวทางที่สำคัญด้วยก็คือ 0.94543 แนวต้านที่สองก็คือ 0.94629 และแนวต้านที่สำคัญอย่างมากแนวทางสุดท้ายก็คือ 0.94746 ซึ่งเป็นแนวต้านที่จะต้องติดตามอย่างมากซึ่งถ้าสามารถทะลุในแนวต้านที่แข็งแกร่งนี้ไปได้จะอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาวทันที
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในตอนนี้ยังอยู่ในมุมมองของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนประกอบกับในส่วนของทิศทางของราคาน้ำมันที่ยังกดดันสกุลเงินแคนาดาอย่างต่อเนื่องอย่างไรก็ตามในส่วนของสถานะมันยังคงต้องรอดูการวิพากษ์วิจารณ์ในการเจรจาและการออกมาให้ข้อมูลในผู้เกี่ยวข้องที่เกี่ยวเนื่องกับการผลิตน้ำมันต้องคอยติดตามอย่างใกล้ชิดในช่วงวันสองวันนี้
AUD/CHF : ทยอยปรับตัวลงในทิศทางขาลงระยะสั้นAUD/CHF : ทยอยปรับตัวลงในทิศทางขาลงระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินสวิตฟังหรือเรียกว่า AUD/CHF คู่สกุลเงินนี้ทยอยมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหนึ่งจากว่าการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนอย่างไม่มีทิศทางที่ชัดเจนโดยเฉพาะรอการเจรจาในวันสองวันนี้ ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียที่มีธนาคารกลางออสเตรเลียได้ออกรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียที่ออกมาในทิศทางที่ไม่ค่อยดีนักจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงถึง ประกอบกับสกุลเงินสวิตฟังมีการแข่งค่าขึ้นในช่วงหลายชั่วโมงที่ผ่านมาจึงทำให้กดดันคู่สกุลเงินนี้เป็นทิศทางเทรนด์ขาลงในระยะสั้น
โดยกรอบแนวรับแนวต้านถ้าเกิดว่า มีการปรับตัวร่วงลงแนวรับที่สำคัญแรกก็คือ 0.71253 แนวรับที่สองก็คือ 0071029 ซึ่งเป็นแนวรับที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองว่าจะสามารถทะลุได้หรือไม่ถ้าสามารถทะลุได้อาจจะลงไปในแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70869 ซึ่งแนวรับนี้เป็นแนวรับที่แข็งแกร่งอย่างมาก
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 0.71534 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71632 โดยนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองในแนวตั้งสุดท้ายที่นักลงทุนตลาดเงินต่างบอกว่าถ้าสามารถทะลุแนวต้านนี้ได้แต่อยู่ในทิศทางขาขึ้น ระยะกลางถึงระยะยาวก็คือ 0.71835 ซึ่งเป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมากในแนวต้านนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
คู่สกุลเงินนี้ยังรอทิศทางและผลการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนซึ่งในวันสองวันนี้อาจจะมีมุมมองทิศทางและการส่งสัญญาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและบุคคลที่เกี่ยวข้องในช่วงวันสองวันนี้อย่างไรก็ตามแนะนำควรติดตามอย่างใกล้ชิดและในช่วงสัปดาห์นี้ก็จะมีการประกาศที่สำคัญของประเทศออสเตรเลียก็คือ การประกาศอัตราการว่างานและการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานของประเทศออสเตรเลียในวันพฤหัสที่ 21 กุมภาพันธ์นี้แนะนำควรติดตามอย่างใกล้ชิดเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียอย่างมาก
AUD/JPY : สัญญาณการเทรดยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้นAUD/JPY : สัญญาณการเทรดยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในคู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นเรียกสันเนื่องจากว่าในมุมมองทิศทางของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนยังคงมีมุมมองออกมาในทิศทางที่ดีเนื่องจากว่า ในส่วนของการเจรจาทางการค้าจะมีการเจรจาในกรุงวอชิงตันดีซี ในวันพฤหัสนี้จึงทำให้นักลงทุนตลาดเงินต่างออกมาในทิศทางที่ดีถึงแม้ว่าในช่วงเช้ามีการอ่อนค่าลงของสกุลเงินออสเตรเลียที่มีการประกาศรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียที่ออกมาในทิศทางที่แย่แต่ในส่วนของทิศทางสัญญาณกันเเทรดและเทรนด์ยังคงเป็นเทรนด์ขาขึ้นในระยะสั้น
โดยที่ถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นและยังอยู่ในขา Buy ตำแหน่งในการทำกำไรแรกที่ในตอนนี้ดีดตัวขึ้นไปได้ก็คือ 78.861 และถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้ตำแหน่งทำกำไรที่สองก็คือ 79.160 โดยที่เป็นตำแหน่งในการทำกำไร ที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองอย่างมากเนื่องจากว่าถ้าสามารถทะลุในตำแหน่งที่ได้อาจจะอยู่ในทิศทางเทรนขาขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลางดังนั้นถ้าเกิดว่าสามารถดีดตัวขึ้นไปได้ตำแหน่งในการทำกำไรตำแหน่งสุดท้ายก็คือ 79.613
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งตัดสกุลตำแหน่งแรกก็คือ 78.542 ตำแหน่งที่สองก็คือ 78.160 โดยที่ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่นักลงทุนตลาดเงินต่างให้ความเห็นว่าถ้าสามารถทะลุลงไปในตำแหน่งนี้ได้จะอยู่ในทิศทางขาลงระยะสั้นโดยที่ต้องจับตามองอีกหนึ่งตำแหน่งในการตัดขาดทุนก็คือ 77.926 โดยตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่ควรลดความเสี่ยงและตัดขาดทุนเกือบทั้งหมดใน ทิศทางระยะสั้น
ในทิศทางตรงกันข้าม : โดยในทิศทางตรงกันข้ามถ้า ยังมีมุมมองขา Sell แน่นอนว่าถ้าดิตัวขึ้นไปอย่างต่อเนื่องตำแหน่งขาดทุนที่สำคัญอย่างมากก็คือ 79.160 โดยที่ถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้อาจจะอยู่ในทิศทางขาขึ้นอย่างที่กล่าวไว้จึงควรลดความเสี่ยงในการตัดขาดทุนในตำแหน่งนี้
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งทำกำไรที่น่าจะมีการทำกำไรและลดความเสี่ยงในการทำกำไรก็คือตำแหน่ง 78.160 โดยที่ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองเช่นเดียวกันอย่างไรก็ตามถ้าสามารถลดความเสี่ยงไปได้อาจจะถือไปที่ 77.926 ซึ่งเป็นตำแหน่งควรที่จะ สามารถทะลุลงไปได้หรือไม่ถ้าสามารถทะลุลงไปได้อาจจะสามารถถือต่อในขา Sell ในรอบนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคงหนีไม่พ้นการเจรจาสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับทั้งสองสกุลเงินไม่ว่าจะเป็นนามสกุลออสเตรเลียและสกุลเงินเยน มักจะไปในทิศทางเดียวกันและจะทำให้สกุลเงินนี้มีการผันผวนอย่างรุนแรงหลังจากที่มี ผลของการเจรจาทางการค้าในสัปดาห์นี้
AUD/CHF : สัญญาณการเทรดอยู่ในทิศทางขาลงหรือไม่AUD/CHF : สัญญาณการเทรดอยู่ในทิศทางขาลง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในตอนนี้คู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางขาลงโดยส่งสัญญาณมาจากการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงมีการเจรจาที่ยืดเยื้อและรอผล ในวันที่ 14 และ 15 กุมภาพันธ์นี้โดยที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองในการเจรจาในครั้งนี้ซึ่งถ้าเกิดว่าผลออกมารในการเจรจาในครั้งนี้ออกมาในทิศทางที่ดี อาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นอย่างรุนแรงจากอย่างไรก็ตามในส่วนนี้ยังมีมุมมองทิศทางที่ในสัญญาณเทรนด์ขาลงต้องรอดูว่าการเจรจาจะออกมาในทิศทางไหน
ซึ่งถ้าเกิดว่าการเจรจาออกมาในทิศทางที่ดี ตำแหน่งในการทำ กำไรตำแหน่งแรกก็คือ 0.71463 ซึ่งเป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมากและตำแหน่งที่สองก็คือ 0.71692 และตำแหน่งที่สามที่เป็นตำแหน่งที่ควรที่จะต้องปิดทำกำไรทั้งหมดก็คือ 0.71839
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในทิศทางเทรนด์ขาลงเหมือนเดิมในการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาออกมาในทิศทางที่แย่อาจจะทำให้ตำแหน่งจุดตัดขาดทุนตำแหน่งแรกก็คือ 0.71252 ตำแหน่งที่สองก็คือ 0.71021 และตำแหน่งสุดท้ายก็คือ 0.70876 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่จะต้องติดตามอย่างมากโดยที่ถ้าเกิดอยู่ในทิศทางขา Buy ในตำแหน่งสุดท้ายควรตัดขาดทุนทั้งหมด
ในทิศทางตรงกันข้าม: ถ้าเกิดมีออเดอร์ในทิศทางตรงกันข้ามหรือเรียกว่าขา Sell ซึ่งในตอนนี้มีความสูงเสี่ยงอย่างมากกับการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะออกมาในทิศทางที่ดีควรที่จะติดตามในมุมมองในทิศทางนี้โดยถ้าเกิดมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องตำแหน่งสุดท้ายควรที่จะต้องตัดขาดทุนก็คือ 0.71839 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่จะต้องติดตามอย่างมาก
ในส่วนของถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งทำกำไรอย่างมากที่จะต้องติดตามก็คือ 0.78076 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ควรตัดทำกำไรในตำแหน่งนี้ทั้งหมดเพราะอาจจะสร้างความผันผวนจากสกุลเงินสวิตฟังซึ่งสุ่มเสี่ยงอย่างมาก
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในตอนนี้ยังคงมีทิศทางที่ต้องรอการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงจะมีการแถลงในอีกไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้าซึ่งถ้าเกิดออกมาในทิศทางที่ดีอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องและน่าจะทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นต้องคอยติดตามอย่างใกล้ชิดในวันนี้
AUD/CHF : เริ่มมีการปรับตัวสูงขึ้นAUD/CHF : เริ่มมีการปรับตัวสูงขึ้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในคู่สกุลเงินนี้เริ่มมีการปรับตัวสูงขึ้นได้รับแรงหนุนมาจากการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนรวมทั้งสกุลเงินสวิตฟังที่มีการอ่อนค่าลงทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างรุนแรงและอย่างต่อเนื่องต้องรอดูว่าจะมีการดีดตัวขึ้นได้หรือไม่ซึ่งในตอนนี้เริ่มเป็นการปรับตัวในระยะสั้น
ซึ่งถ้ามีการดีดตัวขึ้นในทิศทางเทรนระยะสั้นแนวต้านที่สำคัญได้ก็คือ 0.71575 และถ้าเกิดมีการดีดตัวขึ้นแนวต้านที่สองก็คือ 0.71821 และแนวต้านสุดท้ายที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองก็คือ 0.72398
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71024 แนวรับที่สองก็คือ 0.70871 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70762 เป็นแนวรับที่จะต้องติดตามอย่างมาก
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
โดยคู่สกุลเงินนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญมักจะอยู่ในการเจรจาสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินสวิตฟังที่มีการผันผวนในตัวของสวิตซ์ฟังเองและในปัจจัยหนุนในปัจจัยภายในจึงจะทำให้สกุลเงินสวิตฟังมีความผันผวนต้องคอยติดตามอย่างใกล้ชิดในช่วงนี้
AUD/JPY : จะสามารถดีดตัวขึ้นได้หรือไม่AUD/JPY : จะสามารถดีดตัวขึ้นได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในคู่สกุลเงินนี้ยังมีความ ผันผวนโดยตรงมาจากการทำสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน เนื่องจากจะต้องมีความชัดเจนและมีการรอการเจรจาระหว่างสองประเทศนี้จึงทำให้สกุลเงินนี้มีความผันผวนอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลเงินออสเตรเลียและตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ตลอดจนปัจจัยหนุนอย่างอื่นที่ทำให้คู่สกุลเงินนี้มีความผันผวนแต่อย่างไรก็ตามในตอนนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อยในช่วงสองวันที่ผ่านมา จึงทำให้เป็นทิศทางเทรนขาขึ้นในระยะสั้น
ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านที่สำคัญที่ตอนนี้อาจจะไปถึงก็คือ 78.123 โดยที่ ถ้าเกิดมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านที่สองก็คือ 78.329 และถ้ามีความผันผวนและมีการดีดตัวขึ้นอีกแนวต้านสุดท้ายที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองก็คือ 78.597
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับที่สำคัญแรกก็คือ 77.926 และแนวรับที่สองก็คือ 77.652 ซึ่งความสำคัญจะอยู่ที่แนวรับสุดท้ายก็คือ 77.443 เพราะนักลงทุนตลาดเงินสั่งจับตามองว่าจะสามารถมีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องได้หรือไม่ถ้าทะลุในราคาดังกล่าวอาจจะอยู่ในทิศทางขาลงในระยะกลางถึงระยะยาว
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในตอนนี้มีการปรับตัวผันผวนไปในส่วนของการรอผลการเจรจาทางสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนประกอบกับในส่วนของความผันผวนจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่ทำให้สกุลเงินเยนมักจะมีความผันผวนอย่างเห็นได้ชัด คอยติดตามว่าในส่วนของตลาดหุ้นนี้จะสร้างความผันผวนมากน้อยแค่ไหนอย่างไรจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิดในช่วงนี้
AUD/CAD : อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงต่อเนื่องAUD/CAD : อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงต่อเนื่อง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
เนื่องจากคู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลีย ได้มีมุมมองทิศทางที่เป็นเชิงลบของสภาพเศรษฐกิจของประเทศออสเตรเลียจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงอย่างรุนแรงถึงแม้ว่าทิศทางของราคาน้ำมันมีการปรับตัวร่วงลงก็ยังไม่ทำให้สกุลเงินแคนาดามีการอ่อนค่าลงกระทบกับคู่สกุลเงินนี้แต่อย่างใดโดยทีอาจจะทำให้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าในระยะสั้นถึงระยะกลางยังคงเป็นทิศทางเทรนด์ขาลง
โดยถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงแนวรับที่สำคัญอย่างมากก็คือ 0.93933 ถ้ามีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องต่ำกว่าราคานี้ นักลงทุนตลาดเงินจะให้ความเห็นและมีทิศทางที่มีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องในระยะกลางถึงระยะยาวซึ่งแน่นอนว่าแนวรับที่สำคัญต่อไปก็คือ 0.93582 โดยที่ถ้าเกิดมีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องอีกหนึ่งแนวรับที่จะต้องติดตามก็คือ 0.93171 ซึ่งเป็นแนวรับที่ต้องติดตามในวันนี้
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านแรกก็คือ 0.94212 ซึ่งถ้าเกิดมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านที่นักลงทุนตลาดเงินจังจับตามองก็คือ 0.94322 ถ้าทะลุแนวต้านนี้เรื่องทุนตลาดเงินอาจจะมีทิศทางมุมมองที่อาจจะดีดตัวขึ้นถึงแนวทางสุดท้ายก็คือ 0.95067 ซึ่งเป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมาก
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในช่วงนี้คงหนีไม่พ้นของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนประกอบกับในส่วนของทิศทางของราคาน้ำมันที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินแคนาดาต้องรอดูว่าน้ำหนักจะอยู่ในทิศทางในทิศทางไหนต้องคอยติดตามอย่างใกล้ชิด
AUD/CHF : จะสามารถอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะยาวได้หรือไม่AUD/CHF : จะสามารถอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะยาวได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ซึ่งคู่สกุลเงินนี้โดนกดดันมาจากสกุลเงินออสเตรเลียที่มีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับสกุลเงินสวิตฟังที่ยังคงวิ่งอยู่ในทิศทางที่ทยอยโอนค่าเช่นเดียวกันจึงทำให้คู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะยาวอย่างไรก็ตามในส่วนของการประกาศของประเทศออสเตรเลียยังกดดันให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นในการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางออสเตรเลียประกาศออกมาในทิศทางที่ดีจึงทำให้มีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องในทิศทางเทรนด์ขึ้นระยะยาว
ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวทางที่สำคัญแรกก็คือ 0.72498 โดยที่แนวทางนี้เป็นแนวทางที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองว่าจะสามารถดีดตัวขึ้นได้หรือไม่ซึ่งถ้าดีโตขึ้นได้อาจจะอยู่ในทิศทางขาขึ้นในระยะยาวเช่นเดิมและควรติดตามอีกสองแนวต้านก็คือ 0.72785 และ 0.72943 ซึ่งเป็นแนวต้านที่สองและที่สามโดยที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตาว่าจะสามารถติดตัวขึ้นไปถึงได้หรือไม่
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71820 ซึ่งเป็นแนวรับที่สำคัญอย่างมากโดยที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองว่าถ้าสามารถทะลุแนวรับในราคาดังกล่าวได้อาจจะอยู่ในทิศทางขาลงในระยะสั้นซึ่งต้องติดตามแนวรับที่สองก็คือ 0.7157 สีและถ้าทะลุลงอย่างต่อเนื่องแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71117
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในช่วงนี้ของสกุลเงินออสเตรเลียก็คือในส่วนของปัจจัยภายในที่มีการตรวจสอบเกี่ยวข้องกับธนาคารพาณิชย์เกี่ยวเนื่องกับระบบธนาคารที่จะทำให้ความมั่นใจของภาคการธนาคารมีการลดลงประกอบกับสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงมีการรอการเจรจาซึ่งในส่วนของสกุลเงินสวิตฟังยังมีมุมมองทิศทางในปัจจัยภายใน รอติดตามว่าจะสามารถสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินสวิตฟังได้หรือไม่
AUD/JPY : ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลางAUD/JPY : ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลาง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในส่วนของคู่สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยน ในคู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากว่าตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังมีความผันผวนและยังคงมีการวิ่งอยู่ในกรอบจึงทำให้ไม่สามารถกดดันสกุลเงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใดจึงยังให้น้ำหนักไปยังตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์และมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงเช้าที่ผ่านมายังมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียที่ทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข่งค่าขึ้นเนื่องจาก มีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียอีกอย่างออกมาที่เกินคาดการณ์อย่างมาก จึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นอย่างรุนแรง
ถ้าเกิดมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านที่สำคัญที่ต้องติดตามในตอนนี้ก็คือ 79.771 นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองแนวต้านนี้ถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง แนวต้านที่สำคัญอย่างมากแนวต้านที่สองก็คือ 80.101 ซึ่งเป็นแนวต้านที่จะต้องติดตามและแนวต้านที่สามก็คือ 80.435 ต้องรอดูว่าจะไปถึงแนวต้านดังกล่าวหรือไม่
มีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 79.150 โดยที่แนวรับที่สำคัญแนวรับนี้ เป็นแนวรับที่จะต้องติดตามว่าถ้าทะลุแนวรับดังกล่าวควรติดตามอีกหนึ่งแนวรับก็คือ 79.035 โดยที่ถ้าทะลุในแนวรับดังกล่าวติดตามอีกหนึ่งแนวรับที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองว่า จะสามารถเข้าไปถึงได้หรือไม่ก็คือ 78.802 โดยที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองว่าถ้าสามารถทะลุแนวรับนี้ลงมาได้จัดอยู่ในทิศทางขาลงในระยะสั้นถึงระยะกลาง
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางของการเจรจาทางการค้า ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงรอทิศทางชัดเจนในช่วงวันสองวันนี้ประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่ยังคงมีทิศทาง เป็นอย่างดีตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องรอดูว่าเหตุการณ์ที่สำคัญที่จะทำให้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีความผันผวนและจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยน จะมีน้ำหนักอยู่ในทิศทางไหนอย่างไรจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
GBP/AUD : ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาวGBP/AUD : ยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาว
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในส่วนของคู่สกุลเงินนี้ปัจจัยหลักยังอยู่ในทิศทางของสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงมีปัจจัยหนุนจากนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองเกี่ยวข้องกับการออกจากสหภาพยุโรปที่ยังคงมีมุมมองทิศทางที่ Deal ซึ่งมีน้ำหนักมากกว่า No Deal อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังมีการอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงมีการยืดเยื้อเช่นเดียวกัน ให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านแรกที่สำคัญก็คือ 1.85165 โดยที่แนวต้านนี้เป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมากซึ่งยังอยู่ในทิศทางเทรนด์ขาขึ้นถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 1.85631 เป็นแนวต้าน ที่สองแนวต้านที่สามก็คือ 1.86077
แต่ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกที่สำคัญในตอนนี้ที่ยืนแล้วได้ก็คือ 1.84021 และถ้ามีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สองก็คือ 1.83264 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82611 ซึ่งเป็นแนวรับที่สำคัญในรอบนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในตอนนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญยังอยู่ในส่วนของ Brexit ที่ยังคงต้องการเจรจากันทุกฝ่ายในอังกฤษรวมทั้งในส่วนของสหภาพยุโรปที่ นางเทเรซ่าเมย์ต้องการเจรจากันอย่างต่อเนื่องเนื่องจากไม่ว่าจะเป็นทั้งเรื่อง Backstop หรือในส่วนของทางการค้าว่าจะมีทางออกอย่างไรจึงจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์อย่างมากประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียก็ยังรทิศทางการเจรจาระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนเช่นเดียวกันจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
EUR/AUD : ยังอยู่ในทิศทางเทรนขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาวEUR/AUD : ยังอยู่ในทิศทางเทรนขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาว
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในตอนนี้ความผันผวนของสกุลเงินยูโรยังมีความผันผวนอย่างมากเนื่องจากว่าในส่วนของการประกาศนโยบายของธนาคารกลางยุโรปยังมีมุมมองทิศทางที่ยังออกมาในทิศทางที่ดีทำให้สกุลเงินยูโรมีการแข็งค่าขึ้นแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าห์ที่มีการ ปรับตัวแข็งค่าขึ้นเนื่องจากว่าประธานธนาคารกลางอังกฤษได้มีการให้สัญญาณว่าธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาอาจจะมีการประกาศขึ้น อัตราดอกเบี้ยในระยะกลางจึงทำให้ในส่วนของ สกุลเงินดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นประกอบกับดัชนีพีเอ็มไอภาคผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อมีการประกาศของสหรัฐในทิศทางที่ดีของสหรัฐอเมริกาจึงทำให้เป็นแรงหนุนที่ทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งในตอนนี้คู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางเทรนขาขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลางโดยที่ความผันผวนอย่างมากับสกุลเงินยูโรเท่านั้นในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงในระยะสั้นเท่านั้นโดยที่ถ้าเกิดคู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.59830 ซึ่งเป็นแนวต้านแรกและแนวต้านที่สองก็คือ 1.60144 โดยที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองแนวตามสุดท้ายก็คือ 1.60310 ซึ่งแน่นอนว่าเดี๋ยวตอนนี้ถ้าเกิดสามารถทะลุขึ้นไปได้อาจจะอยู่ในเทรนขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาว
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.58967 ซึ่งถ้าเกิดทะลุลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สองก็คือ 1.58700 โดยทีท่าร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.581975 สามารถทะลุแนวรับสุดท้ายนี้ได้อาจจะอยู่ในทิศทางขาลงระยะสั้นถึงระยะกลาง
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในช่วงนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจะอยู่ในเกณฑ์ของสกุลเงินดอลล่าร์ที่ยังมี อาจจะมีความผันผวนในการส่งสัญญาณอัตราเบี้ยซึ่งในส่วนของวันที่จะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยก็คือปลายเดือนของ เดือนมกราคมซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนตลาดเงินได้จับตามองในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ที่จะมีความผันผวนและกดดันสกุลเงินยูโรในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังมีมุมมองทิศทางที่ยังอาจจะดูในส่วนของสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังจะต้องมีการเจรจาในช่วงอีกไม่กี่วันนี้จึงจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนโดยตรง
AUD/JPY : เริ่มกลับลงมาในทิศทางขาลงระยะสั้นAUD/JPY : เริ่มกลับลงมาในทิศทางขาลงระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนโดยในตอนนี้มีทิศทางร่วงลงอย่างต่อเนื่องเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงหลังจากที่มีการส่งสัญญาณเกี่ยวกับการยืดเยื้อของการเจรจาสงครามและการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงมีการยืดเยื้ออย่างต่อเนื่องทำให้สกุลเงินหยวน มีการอ่อนค่าประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียก็มีการอ่อนค่าเช่นเดียวกันรวมทั้งตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงกดดันให้คู่สกุลเงินนี้มีการร่วงลงอย่างต่อเนื่อง
โดยถ้าเกิดว่าทิศทางเทรนด์ยังเป็นทิศทางขาลงระยะสั้นถึงระยะกลางเมลรักที่สำคัญได้ก็คือ 77.850 โดยที่ถ้าเกิดมีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สองที่สำคัญอย่างมากก็คือ 77.585 และแนวรับสุดท้ายที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองก็คือ 77.294 ถ้ามีการร่วงลงทะลุแนวรับนี้อาจจะอยู่ในทิศทางระยะกลางถึงระยะยาว
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นไปแนวต้านแรกที่สำคัญอย่างมากก็คือ 78.507 โดยที่อีกสามแนวต้านที่ใกล้มากก็คือ 78.658 เป็นแนวต้านแรกและ 78.797 เป็นแนวต้านที่สองซึ่งถ้าทะลุสองแนวทางนี้ไปจะยังอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะกลางถึงระยะยาว
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
โดยในตอนนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้คงหนีไม่พ้นเกี่ยวข้องกับสกุลเงินออสเตรเลียที่จะอ้างอิงกับสกุลเงินหยวนเกี่ยวข้องกับสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ที่ยังคงการเจรจายังไม่บรรลุรวมถึงในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่กดดันคู่สกุลเงินนี้อย่างต่อเนื่อง จึงควรติดตามทั้งสองสกุลเงินอย่างใกล้ชิด
AUD/NZD : ยังคงอยู่ในทิศทางขาขึ้นตัวอยากกลางถึงระยะยาวAUD/NZD : ยังคงอยู่ในทิศทางขาขึ้นตัวอยากกลางถึงระยะยาว
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในคู่สกุลเงินนี้ดูเหมือนว่ามีความผันผวนอย่างมากซึ่งสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการกดดันอย่างต่อเนื่องโดยที่สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการกดดันบ้างเล็กน้อยในส่วนของทางสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่มีความยุติเยอะก็ไม่ทำให้กูเจอคนนี้มีการตกลงแต่อย่างใด ซึ่งยังอยู่ในกรอบแนวเทรนด์ทิศทางขาขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านที่ยืนเหนือในตอนนี้ก็คือ 1.06281 และถ้าเกิดว่าดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกสองแนวต้านที่สำคัญที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองก็คือ 1.06675 เลข 1.06793 ซึ่งเป็นกรอบแนวต้านที่สำคัญอย่างมาก
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกที่จะต้องติดตามก็คือ 1.05690 แต่ในส่วนของนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองแนวรับที่สำคัญเดียวกับที่สองก็คือ 1.05405 ถ้าสามารถยืนต่ำกว่าในราคานี้ และมีการทะลุลงไปนักลงทุนตลาดเงินจะมีมุมมองทิศทางขาลงระยะสั้นทันทีโดยที่ถ้าเกิดรวมมาควรติดตามอีกหนึ่งแนวรับก็คือ 1.04920 ถ้าสามารถลงมาแตะในราคาดังกล่าว และร่วงลงอย่างต่อเนื่องนักลงทุนตลาดเงินจะมีมุมมองทิศทางเป็นทิศทางขาลงในทันที
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางปัจจัยภายในของสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่มีความรุนแรงและสามารถกดดันสกุลเงินนี้หรือคู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียจะพยายามกดดันในส่วนของการทำสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่มีการที่ยืดเยื้อทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าก็ตาม ก็ไม่ทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใดแนะนำควรติดตามสกุลเงินนิวซีแลนด์อย่างใกล้ชิด
AUD/CAD : จะสามารถเป็นขาลงในระยะสั้นได้หรือไม่AUD/CAD : จะสามารถเป็นขาลงในระยะสั้นได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในคู่สกุลเงินนี้ยังดูเหมือนมีทิศทางมีความผันผวนและมีการปรับตัวร่วงลงเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการร่วงลงหลังจากที่การทำสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนยังคงมีการหยุดยาอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของราคาน้ำมันมีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยในช่วงสองสามวันที่ผ่านมาทำให้สกุลเงินแคนาดามีการแข็งค่าจึงเกิดทำให้คู่สกุลเงินนี้เป็นเทรนด์ทิศทางขาลงในระยะสั้นต้องรอดูว่าจะสามารถร่วงลงอย่างต่อเนื่องได้หรือไม่
ซึ่งถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.94960 ถ้าเกิดสามารถยืนต่ำกว่าราคาดังกล่าวซึ่งในราคานี้เป็นราคาที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองเพราะถ้ามีการร่วงลงอาจจะอยู่ในแนวทิศทางเทรนด์ขาลงอย่างเห็นได้ชัดควรติดตามอีกสองแนวรับก็คือ 0.94647 เป็นแนวรับที่หนึ่งและแนวรับที่สองก็คือ 0.94413
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลเงินแคนาดามีการอ่อนค่าลงหรือสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นควรติดตามในแนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 0.9564 ซึ่งแน่นอนว่าในแนวต้านที่สองเป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 0.95741 ถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องทะลุแนวต้านนี้อาจจะอยู่ในทิศทางสินค้าขึ้นในระยะสั้นควรติดตามอีกหนึ่งแนวทางก็คือ 0.96006 โดยนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองในแนวต้านที่สองซึ่งถ้าเกิดว่ามีการทะลุแนวต้านที่สองก็อาจจะอยู่ในทิศทางขาขึ้นในระยะสั้น
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในส่วนของปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางของราคาน้ำมันที่ยังมีความผันผวนและยังอยู่ในกรอบซึ่งอย่างไม่มีทิศทางที่ชัดเจนรวมทั้งในส่วนของการยืดเยื้อของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนแน่นอนว่าอาจจะต้องคอยติดตามในบางมุม
AUD/CHF : เริ่มอยู่ในทิศทางขาขึ้นในระยะสั้นถึงระยะกลางAUD/CHF : เริ่มอยู่ในทิศทางขาขึ้นในระยะสั้นถึงระยะกลาง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในตอนนี้ดูเหมือนระยะสั้นสกุลเงินสวิตฟังจะมีการอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องและอ่อนค่าลงเกือบทุกวันในช่วงนี้จึงแนะนำว่าการอ่อนค่าของสกุลเงินสวิตฟังจะมีการกดดันให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียจะมีการร่วงลงหลังจากที่ในการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนอย่างไม่มีทิศทางที่ชัดเจนมากนักก็ยังไม่ทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใด
ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางเทรนด์ขาขึ้นควรติดตามแนวทางด้วยกันคือ 0.71294 ซึ่งถ้าสามารถยืนเหนือในราคาดังกล่าวซึ่งเป็นแนวต้านที่สำคัญที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองนั้นควรติดตามอีกสองแนวทางก็คือ 0.71499 และ 0.71683
ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับที่สำคัญแรกก็คือ 0.70883 ซึ่งถ้าสามารถยืมต่ำกว่าและทะลุเทรนด์กาขึ้นลงมากควรติดตั้งอีกสองแนวรับ ก็คือ 0.70526 ซึ่งเป็นแนวรับแรกและแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69671
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในส่วนนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากก็คือสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังคงมีทิศทางที่รอการเจรจาระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนซึ่งจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียไม่น้อยแต่อย่างไรก็ตามในส่วนของสกุลเงินสวิตฟังก็ยังมีปัจจัยภายในที่ทำให้สกุลเงินสวิตฟังเองมีความผันผวนด้วยตัวเองจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
AUD/CHF : อาจจะเริ่มมีการปรับตัวลดลงเล็กน้อยUD/CHF : อาจจะเริ่มมีการปรับตัวลดลงเล็กน้อย
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินสวิตฟังในตอนนี้ดูเหมือนจะเริ่มมีการพักตัวเนื่องจากว่าอาจจะรอทิศทางในส่วนของจารย์จะได้สะสมคะแนนการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่เริ่มดูเหมือนจะมีการจะแถลงการณ์เกี่ยวข้องกับการเจรจาในวันสองวันนี้ต้องรอดูว่าจะมีการแถลงกันอย่างไรถึงแม้ว่าในทิศทางระยะสั้นจะเป็นทิศทางขาขึ้นก็ต่าง
โดยกรอบแนวรับที่สำคัญที่ไหนตอนนี้ยังอยู่ในทิศทางที่ยังอยู่ที่ 0.69840 ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงควรติดตามในอีกสองแนวรับที่สำคัญก็คือ 0.69495 และ 0.69262
ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 0.70238 ซึ่งเป็นแนวต้านแรกและอีกสองแนวต้านที่จะต้องติดตามก็คือ 0.70396 และ 0.70621 ซึ่งเป็นกรอบแนวรับแนวต้านในรอบนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
คงยังนี้มีผลเกี่ยวข้องกับการเจรจาระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนเกี่ยวเนื่องกับภาษีในสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่อาจจะมีการแถลงการณ์ในการเจรจาในช่วงวันสองวันนี้ต้องรอดูว่าจะเป็นในทิศทางไหนและจะสั่งความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียอย่างไร
AUD/JPY : ยังรอการแถลง Trade WarAUD/JPY : ยังรอการแถลง Trade War
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยน ในตอนนี้ยังดูเหมือนมีทิศทางที่ กำลังรอการแถลงในส่วนของสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนในช่วงวันพรุ่งนี้ต้องรอดูว่าจะมีการแถลงอย่างไรเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียไม่มากก็น้อยจึงแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ในส่วนนี้ถ้าเกิดมีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านที่สำคัญที่กำลังยืนอยู่ในตอนนี้ก็คือ 77.673 ถ้ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 78.040 และ 78.723
ถ้ามีการปรับตัวอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สำคัญแรกก็คือ 77.073 ซึ่งเป็นแนวรับแรก อย่างไรก็ตามถ้ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สำคัญอย่างมากก็คือ 75.707 ถ้าสามารถยืนต่ำกว่าในราคาดังกล่าวได้ และมีการถูกลงอย่างต่อเนื่องอีกหนึ่งแนวรับที่สำคัญอย่างมากก็คือ 75.190 ถ้ามีการร่วงลงอาจจะอยู่ในขาลงระยะสั้นถึงระยะกลาง
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินนี้ก็คือตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่มีการผันผวนในส่วนของการทำสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนรวมทั้งประเทศออสเตรเลียที่ยังคงมีมุมมองทิศทางที่จะต้องรอการแถลงการณ์เกี่ยวข้องกับการเจรจาของสหรัฐอเมริกาและจีนในช่วงวันสองวันนี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ขาย AUDNZD ระยะยาว ( เด้งขึ้นมาก็ short นะครับ)เนื่องในโอกาสสิ้นปีเก่า และจะเริ่มปีใหม่
ในต้นปีผมจะไม่ค่อยมีเวลามากนัก เนื่องจากต้องปั้นพอร์ตอีกหลายพอร์ตทำให้อาจไม่มีเวลามากนัก
จึงถือโอกาสนี้ แชร์ไอเดียที่เหมาะกับคนถือระยะยาว
ผมมองว่าตัว AUDNZD ระยะยาว เหมาะมากกับการ Short น่าจะได้มากกว่า 1000 pips ( ดู Timeframe week )
หากเล่นสั้นก็ 200 pips (ดู Timeframe H4)
ขึ้นกับแต่ละคนนะครับ
ผมสังเกตุเทรดเดอร์คนไทยเรา สนใจแต่พวก GOLD EURUSD USDJPY GBPJPY ,...
แต่พวกบางกลุ่มไม่ค่อยสนใจ ทั้งๆที่จริง คู่เงินบางพวกนี้ วิ่งตาม pattern มากๆ แต่ข้อเสียคือวิ่งช้า
แต่ ช้าแต่ชัวร์ ครับ ทำให้การวางแผนง่าย คือถือทิ้งไว้ ปล่อยยาวไม่ต้องไปยุ่งมาก อาจจะแค่ไปคอย ปรับ stoploss หรือ
ถือเพิ่ม หากมันมี discount
ส่วน ค่า SWAP ติดลบนิดหน่อย หากเราทำกำไรได้ชัดเจน คำถามว่ามันคุ้มมั้ยกับเสียค่า swap นี้
ผมมองว่ายังไงก็คุ้ม
ลองไปดูเทรด USDCAD ที่ผมแชร์ไว้นานล่ะ
อันนี้ผมมองเป็น Timeframe เดือน
จะเห็นว่า ราคาขึ้นมา เกือบ 400 pips แถม swap เป็นบวกอีก ทำให้การถือยาวทิ้งไว้ค่อยข้างคุ้ม
อีกเรื่องคือบ้านเราค่อยข้างเทรดหนักมือ เป็น lot หนักๆ โดยไม่วางแผนให้ดี ทำให้พอร์ตพังไปเยอะ
หากไม่อยากคำนวณไปลิงค์นี้นะครับ
www.myfxbook.com
ป้อนข้อมูลกรอกลงไป แนะคำนวน lot ที่เหมาะกับความเสี่ยง
หากวางแผนอย่างนี้ ทำยังไงพอร์ตก็ไม่พัง เป็นการลงทุน เพื่ออยู่รอด ในระยะยาว
ไม่ใช่การพนัน แล้วมาโชว์กำไรกัน ไปวันๆ
ที่สำคัญคือ Mindset
ลองคิดดูนะครับ ผมแค่เจตนาดี ส่วนที่เหลืออยู่ที่คุณตัดสินใจว่า จะเป็นเทรดเดอร์แบบไหน ไม่มีใครไปบังคับได้
Regards,
Mr. T
#sell #AUDNZD #short #longterm
ปล. เทรดคู่นี้ผมได้เริ่มเทรดได้บันทึกใน twitter ก่อนหน้านี้ครับเพราะไม่มีเวลามาเขียนในนี้ครับ
ที่ twitter.com
AUD/JPY: รอการส่งสัญญาณมาจาก TRADE WARAUD/JPY: รอการส่งสัญญาณมาจาก TRADE WAR
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในส่วนของการทำสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนหรือเรียกว่า TARD WAR ในช่วงนี้ยังคงไม่มีทิศทางที่จะเป็นประเด็นมากนักแต่ก็ดูเหมือนที่ทางจะออกมาในทิศทางที่ดีขึ้น ซึ่งในตอนนี้สกุลเงินหยวนมีการแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกัน สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนหรือเรียกว่า AUD/JPY จึงมีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อยในช่วงนี้ควรติดตามแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้น ควรติดตามในแนวต้านที่สำคัญแรกในตอนนี้ก็คือ 77.988 ซึ่งถ้ายืนเหนือและสามารถดีดตัวขึ้นไปได้ควรติดตามอีกสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 78.456 และ 78.896 ซึ่งนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองสองแนวต้านนี้อย่างมากโดยที่ถ้าเกิดมีการดีดตัวขึ้นควรติดตามในแนวต้านสุดท้ายก็คือ 79.236 ซึ่งแนวต้านสุดท้ายนี้เป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมาก
แต่ถ้ามีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลเงิน ทั้งสกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงหรือว่าสกุลเงินเยนมีการแข็งค่าขึ้น แนวรับแรกที่สำคัญก็คือ 77.502 ซึ่งนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองแนวรับนี้ซึ่งถ้าเกิดว่ามีการร่วงลงอย่างต่อเนื่องอาจจะไปถึงในแนวรับสามแนวรับที่สำคัญอย่างมากก็คือ 76.924 เป็นแนวรับที่สอง 76.710 เป็นแนวรับที่สาม 76.520 เป็นแนวรับที่สี่ซึ่งเป็นแนวรับที่สำคัญอย่างมาก
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ในช่วงนี้แนะนำติดตามปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการทำสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองการเคลื่อนไหวของ Trade War อย่างใกล้ชิดเพราะจะสั่งความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียอีกทั้งในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยนในช่วงนี้
AUD/NZD: ทะลุเทรนด์ขาลงระยะสั้น
AUD/NZD: ทะลุเทรนด์ขาลงระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
คู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางของสกุลเงินนิวซีแลนด์ซะเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากว่าสกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินนิวซีแลนด์ดังนั้นสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินอยู่ที่นั่นหรือเรียกว่า AUD/NZD ในตอนนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
โดยถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องควรติดตามในแนวรับสองแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.04549 ซึ่งเป็นแนวรับแรกและแนวรับที่สองก็คือ 1.043505 สามารถยืนต่ำกว่าในราคาดังกล่าวและร่วงลงอย่างต่อเนื่องอาจจะทำให้อยู่ในทิศทางขาลงระยะสั้นถึงระยะกลาง
แต่ถ้ามีการปรับตัวขึ้นไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นหรือสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการอ่อนค่าลงควรติดตามในแนวต้านแรกก็คือ 1.04935 ซึ่งเป็นแนวต้านแรกและแนวต้านที่สองก็คือ 1.05257 อย่างไรก็ตามแนวต้านที่สามและแนวต้านที่สี่ซึ่งเป็นแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.05571 และ 1.05705 ซึ่งเป็นกรอบแนวรับแนวต้านในวันนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ที่สกุลเงินนิวซีแลนด์ที่ยังมีกันผันผวนแต่ภายในของนิวซีแลนด์เองเพราะตราบใดที่สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินนิวซีแลนด์คู่สกุลเงินนี้ก็มีความผันผวนเช่นเดียวกันส่วนสกุลเงินออสเตรเลียก็ยังอยู่ในมุมมองของการติดตาม สงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน