ปัจจัยหนุนแรกสำหรับทิศทางของทองคำในตอนนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่มีการปรับตัวร่วงลงถึง -1.41 ดูเหมือนว่าจะเริ่มมีการต่ำลงอย่างต่อเนื่อง หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกามีปัจจัยเชิงบวกของทิศทางทองคำคือการเพิ่มอัตราเงินเฟ้อ ในการปรับนโยบายทางการเงินครั้งใหญ่
ส่งผลทำให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาอายุ 10 ปีมีการปรับตัวร่วงลงถึง 0.705% สะท้อนให้เห็นว่านักลงทุนเริ่มมีการเข้าซื้อพันธบัตรมากขึ้นหลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐมีการส่งสัญญาณดังกล่าว
อย่างไรก็ดีถึงแม้ว่ามีการขยับตัวสูงขึ้นของทิศทางราคาทองคำแต่ดัชนีความกังวลของทองคำหรือ Gold Votatility ยังคงมีการขยับขึ้นเพียงแค่ 24.32 ในระดับการปิดตลาดของสหรัฐอเมริกา ต้องติดตามว่าในการเปิดตลาดของสหรัฐอเมริกาดัชนีดังกล่าวนี้จะมีความผันผวนขยับขึ้นหรือไม่
จึงส่งผลทำให้ทองคำมีการขยับขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยสัญญาณดังกล่าวนี้ยังสะท้อนให้เห็นว่านักลงทุนยังคงให้ความสำคัญกับทิศทางของทองคำอย่างต่อเนื่อง
โดยถ้ามีการขยับขึ้นอย่างต่อเนื่องกรอบแนวต้านสำคัญอย่างมากก็คือ 1992 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและ 1995 เป็นแนวต้านที่สองและ 1998 เป็นแนวต้านที่สามและ 2000 เป็นแนวต้านที่สี่และ 2004 เป็นแนวต้านที่ห้ากับ 2006 เป็นแนวต้านที่หกและ 2009 เป็นแนวต้านที่เจ็ดและ 2013 เป็นแนวต้าน 18 และ 2015 เป็นแนวต้านสุดท้าย
แต่ถ้าเกิดมีปัจจัยหนุนในเชิงลบของทิศทางทองคำแนวรับสำคัญที่จะต้องติดตามแนวรับแรกก็คือ 1987 เป็นแนวรับที่หนึ่งและ 1984 เป็นแนวรับที่สองแรก 1980 เป็นแนวรับที่สามและ 1976 เป็นในรับที่สี่ละ 1974 เป็นแนวรับที่ห้าและ 1970 เป็นแนวรับที่หกและ 1967 เป็นแนวรับที่เจ็ดและ 1965 เป็นแนวรับที่แปดซึ่งเป็นแนวรับสุดท้ายในวันนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญยังคงต้องติดตามตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปเนื่องจากจะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา คือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มประกอบกับในส่วนของวันพุธที่จะถึงนี้จะเป็นการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาของ ADP และสุดท้ายวันศุกร์จะเป็นการประกาศตัวเลขอัตราการจ่ายงานนอกภาคการเกษตรและอัตราการว่างานของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะสร้างความผันผวนและอาจจะกดดันให้ทองคำมีการขยับตัวผันผวนดังกล่าว