GDP สหรัฐประจำไตรมาสที่สามกับค่าเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันพฤหัสที่ 28 ตุลาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาประจำไตรมาสที่สามซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกาจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่จะมีการประกาศทั้งดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามประกอบกับทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนรวมทั้งจะมีการประกาศ จำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศดัชนีจีดีพีของสหรัฐอเมริกานักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.7% ครั้งก่อน 6.7% คือการประกาศรัชนีจีดีพีไตรมาสต่อไตรมาสประจำใจมาสที่สามประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.5% ครั้งก่อน 6.2% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 290K เท่ากันกับครั้งก่อนสำหรับจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรก
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยนี้อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนโดยคู่เงินที่สำคัญก็คือ USDJPY แน่นอนว่าอาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 113.839 แนวต้านที่สองก็คือ 114.103 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.256
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.500 แนวรับที่สองก็คือ 113.224 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.069
Usd-jpy
ดัชนีพีเอ็มไอสหรัฐกับสกุลเงินดอลล่าร์การประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อเป็นการประกาศที่สำคัญของสหรัฐเช่นเดียวกัน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อในหลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit รวมทั้งดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยที่เห็นนักวิเคราะห์หลายสำนักได้มีการคาดการณ์การประกาศนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการผันผวนระยะสั้นโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่า จะมีการประกาศดัชนีพีเอ็มไอผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 60.3 ครั้งก่อน 60.7 และดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 55.1 ครั้งก่อน 54.9 แต่ดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งครั้งก่อนประกาศออกมา 55.0
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน USDJPY ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาและทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น กรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 114.170 แนวต้านที่สองก็คือ 114.401 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 114.625
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 113.686 แนวรับที่สองก็คือ 113.517 แนวรับสุดท้ายก็คือ 113.338
USD/JPY : ฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการเสพตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นทะลุ 111.557 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 111.780 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.039
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 111.392 แนวรับที่สองก็คือ 111.227 แนวรับสุดท้ายก็คือ 111.095
Core PPI ของสหรัฐที่กำลังจะเกิดขึ้นการประกาศดัชนี Core PPI สหรัฐอเมริกามีความสำคัญในระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตหรือเรียกว่า PPI ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐาน Core PPI หรือแม้กระทั่งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองว่าดัชนีราคาผู้ผลิตนี้จะมีการประกาศอย่างไรและจะส่งผลไปทาง ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรือไม่จับตาดูอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามเราไปขอได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตประกาศเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนั้นประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน 1.0% และการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 0.5% ครั้งก่อน 1.0% ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่ถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
การวิเคราะห์ของราคา
อย่างไรก็ตามติดตามการประกาศในการประกาศในครั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตและดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นคู่เงินที่น่าสนใจอีกหนึ่งคู่เงินก็คือ USDJPY โดยคู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นถ้ามีการประกาศอีกครั้งอาจจะทำให้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.621 แนวรับที่สองก็คือ 109.530 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.417
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.764 แนวต้านที่สองก็คือ 109.910 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.192
ดอลล่าร์ฟื้นจาก NFPการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรทำให้ดอลลาร์ฟื้นตัวขึ้น
กระทรวงแรงงานสหรัฐได้มีการรายงานตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตรพุ่งขึ้นถึง 943,000 ตำแหน่งในเดือนกรกฎาคมซึ่งสูงกว่าที่ นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ประกอบกับอัตราการว่างานปรับตัวลดลงถึง 5.4% ในเดือนกรกฎาคมต่ำกว่าที่ นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ในระดับ 5.7% ทำให้สกุลดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง
จากปัจจัยนี้ทำให้ USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดไม่ว่าจะเป็นทั้งดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาที่มีการสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นจากการประกาศนี้เช่นเดียวกันส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น
ดังนั้นต้องจับตาดูว่า USDJPY มีการฟื้นตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.380 แนวต้านที่สองก็คือ 110.572 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.753
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.118 แนวรับที่สองก็คือ 109.979 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.795
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาดูการประชุมของ FEDแม้ว่าจะเน้นไปที่ 40% ของประชากรสหรัฐฯ ที่เป็นผู้ใหญ่เป็นส่วนใหญ่ที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน แต่การระบาดในปัจจุบันยังคงเพิ่มความตึงเครียดให้กับเฟดว่าการวางแผนป้องกันเงินเฟ้อควรเป็นความกังวลสูงสุดในช่วงเวลาที่วิกฤตสุขภาพยังอาจควบคุมอย่างอื่นหรือไม่ การกู้คืนที่ลุกลาม
“น่าเศร้าที่ (ประธานเฟดเจอโรม) พาวเวลล์จะต้องยอมรับความเสี่ยงด้านลบที่เริ่มปรากฏขึ้น” ไดแอน สวอนก์ หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของแกรนท์ ธอร์นตัน เขียนก่อนการประชุมนโยบายสองวันของเฟดในสัปดาห์นี้ "เครื่องหมายคำถามคือการแพร่กระจายของตัวแปรเดลต้าส่งผลต่อการกลับมาทำงานอย่างไรและช่วยลดความต้องการบริการบางส่วนหรือไม่" ซึ่งเริ่มนำไปสู่การฟื้นตัวและดึงผู้คนนับล้านที่ถูกกีดกันกลับเข้าทำงาน
ซึ่งต้องจับตาดูในการแถลงของประธาน FED อย่างไรก็ดีในช่วงเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากประกอบกับในส่วนของในช่วงเวลา 01:30 น. ก็ยังคงเป็นการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธาน FED ที่จะมีการแถลงโดยเฉพาะการตอบคำถามของประธานธนาคารกลางสหรัฐ
คู่เงินที่สองที่สำคัญอย่างมากเช่นเดียวกันก็คือ USDJPY ซึ่งคู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยในช่วงสั้น จะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงของสกุลเงินเยนที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นแต่ถ้ามีการแถลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.200 แนวต้านที่สองก็คือ 110.382 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.570
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.923 แนวรับที่สองก็คือ 109.768 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.619
รายงานการประชุม BOJ กับ USDJPYการวิเคราะห์ของราคา
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยของดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.34% และ EURJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.22% ประกอบกับ CADJPY มีการฟื้นตัวขึ้น +0.79% สะท้อนให้เห็นว่าสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
โดยปัจจัยของคู่เงิน USDJPY ที่มีการฟื้นตัวขึ้นนั้นต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์ว่าจะสามารถแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจะมีการปรับตัวอ่อนค่าหรือไม่ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.930 แนวต้านที่สองก็คือ 110.126 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.314
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.526 แนวรับที่สองก็คือ 109.420 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.192
ดัชนียอดขายปลีกพุ่งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานสหรัฐขยับตัวสูงขึ้น
ในวันนี้ในช่วงเวลา 19:30 น. มีการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนมิถุนายนโดยเฉพาะการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 1.3% ครั้งก่อน -0.9% ประกอบกับมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน -1.7%
จากปัจจัยนี้ส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นโดยคู่เงิน USDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นถึงแม้ว่าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวย่อตัวลงก็ตาม จากในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.21% แนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.316 แนวต้านที่สองก็คือ 110.511 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.630
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.955 แนวรับที่สองก็คือ 109.880 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.744
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่กระทบจากดอลล่าร์ : ปัจจัยที่น่าจับตามองของดอลล่าร์ที่ยังคงต้องจับตาก็คือการแถลงของสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในสัปดาห์ถัดไปเพราะจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมากในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในสัปดาห์ถัดไปเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์กดดัน JPYตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยกดดันสกุลเงินเยนให้มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
ในรอบวันนี้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นตามทิศทางเดียวกันกับดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ โดยดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้น +2.12% ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับในวันนี้การเปิดตลาดสหรัฐจะส่งผลให้มีการขยับตัวสูงขึ้นหรือไม่ต้องจับตาดูในระยะสั้น
โดยคู่เงิน USDJPY มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่ดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงมีการย่อตัวลงแต่ไม่ทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงแต่อย่างใดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.274 แนวต้านที่สองก็คือ 110.582 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.751
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.887 แนวรับที่สองก็คือ 109.748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.567
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ USDJPY ที่น่าจับตามอง ในสัปดาห์ถัดไป : ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงคอยทั้งเป็นแรงหนุนและแรงกดดันให้กับสกุลเงินเยนดังนั้นจับตามองทั้งสองปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD จะอ่อนค่าหรือไม่ศูกร์นี้สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงติดตามปัจจัยหนุนสำคัญของการประกาศตัวเลขวันศุกร์นี้
นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเกี่ยวเนื่องกับการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้คือการประกาศดัชนีการใช้จ่ายผู้บริโภคส่วนบุคคลของสหรัฐอเมริกาที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 19:30 น. ตามเวลาประเทศไทยอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
เนื่องด้วยในตัวเลขนี้นักลงทุนต่างให้ความเห็นและในส่วนของธนาคารกลางสหรัฐยังคงจับตามองเพราะจะใช้ตัวเลขนี้เป็นตัวเลขที่คาดการณ์ว่าเงินเฟ้อจะมีความ ผันผวนและมีเงินเฟ้อมากน้อยแค่ไหนจึงส่งผลทำให้นักลงทุนต่างจับตามองตัวเลขนี้อย่างใกล้ชิด
โดยคู่เงิน USDJPY มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยแต่ในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เป็นตัวกดดันทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงในช่วงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.623 แนวรับที่สองก็คือ 110.450 แนวรับสุดท้ายก็คือ 110.261
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.871 แนวต้านที่สองก็คือ 111.043 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.119
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ที่หน้าจับตามองอย่างมาก : ในส่วนของ USDJPY ยังคงต้องจับตามองตัวเลขสำคัญในการประกาศสหรัฐอเมริกาในวันศุกร์นี้ประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงเป็นทั้งแรงหนุนและใส่กดดันของสกุลเงินเยนดังนั้นจับตามองตลาดหุ้นอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
BOJ คงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางญี่ปุ่นคงนโยบายทางการเงินในวันนี้
ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางญี่ปุ่นโดยที่มีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ -0.10% ไว้ที่เท่าเดิม ประกอบกับการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีเนื้อหาใจความในช่วงสั้นว่าพร้อมที่จะมีการใช้มาตรการในการช่วยเหลือและอัดฉีดเม็ดเงินเพิ่มเติมถ้ามีความจำเป็นในการใช้ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนยังคงมีความผันผวนในระยะสั้นแต่อย่างไรก็ดี ในการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้ดูเหมือนมีการส่งสัญญาณของการเริ่มการลดการอัดฉีดเม็ดเงินส่งผลทำให้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงและทำให้สกุลเงินเยนนั้นมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน USDJPY ได้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินเยนโดยมีการปรับตัวร่วงลงของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ซึ่งควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.864 แนวรับที่สองก็คือ 109.660 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.464
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 110.328 แนวต้านที่สองก็คือ 110.501 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.769
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่ USDJPY : ติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่องเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินเยนในช่วงระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
BOJ จะมีการพิจารณาสภาวะเศรษฐกิจครั้งใหม่BOJ จะมีการพิจารณาสภาวะเศรษฐกิจครั้งใหม่และอภิปรายเกี่ยวกับนโยบายทางการเงิน
ธนาคารกลางญี่ปุ่นจะมีการพิจารณาสภาวะสภาพเศรษฐกิจในการหารือเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินซึ่งผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นกล่าวด้วยสัญญาณที่ชัดเจนที่สุดว่าธนาคารกลางต้องมีการสนับสนุนการต่อสู้กับสภาวะเศรษฐกิจของโลก
โดยที่มีความสนใจอย่างมากในการเปลี่ยนแปลงสภาวะและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและระบบทางการเงินซึ่งธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการกล่าวให้สัมภาษณ์ต่อหนังสือพิมพ์ชั้นนำเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาซึ่งมีการกล่าวอีกว่าโดยปกติแล้ววิธีการที่เราจะตอบสนองต่อสิ่งนี้ในระดับนโยบายทางการเงินจะมีการสนทนากันเป็นหัวข้อที่สำคัญอย่างมาก
ซึ่งความคิดเห็นดังกล่าวเกิดขึ้นท่ามกลางการถูกเถียงกันมากขึ้นในหมู่นายธนาคารกลางว่าด้วยพวกเขาควรสนับสนุนความพยายามในการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาวะหรือไม่ตามคำมั่นสัญญาของรัฐบาลต่างๆรวมถึงสหรัฐอเมริกาจีนญี่ปุ่นในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
เมื่อพิจารณาถึงประเด็นที่สำคัญอีกหนึ่งประการในหมู่นักลงทุนธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการให้สัมภาษณ์อีกว่าความกังวลถึงเรื่องเงินเฟ้อทั่วโลกมีความเกี่ยวข้องมากที่สุดในประธานธนาคารกลางสหรัฐโดยมีการกล่าวว่าแรงกดดันทั้งด้านเงินเฟ้อชั่วคราวบางส่วนจะพิสูจน์ให้เห็นว่าแรงกดดันนี้จะสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจและควรอยู่ต่อไปอีกระยะหนึ่ง
โดยประธานธนาคารกลางญี่ปุ่นได้มีการกล่าวอีกว่าจุดยืนของนโยบายดังกล่าวตั้งอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับว่าจะต้องใช้เวลาในการเอาชนะอัตราเงินเฟ้อที่ต่ำเมื่อได้ยอมรับแล้วซึ่งนั่นคือบทเรียนที่ได้รับจากประสบการณ์ของญี่ปุ่นที่มีภาวะเงินฝืดเป็นเวลานาน
จากการส่งสัญญาณในการถกเถียงในครั้งนี้ของธนาคารกลางญี่ปุ่น ซึ่งอาจจะเป็นการส่งสัญญาณถึงสกุลเงินเยนที่อาจจะมีการผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลางอย่างไรก็ดีธนาคารกลางญี่ปุ่นต้องคอยจับตามองอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริการและการใช้นโยบายทางการเงินและการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาอีกครั้ง เผื่อจะมีการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นในระยะถัดไป
ดังนั้นสิ่งที่น่าจับตามองของสกุลเงินเยนอย่างมากก็คือการปรับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาในเดือนมิถุนายนที่จะถึงนี้เพื่อที่จะจับตามองว่าธนาคารกลางญี่ปุ่นจะมีการใช้มาตรการอะไรที่จะส่งผลถึงสกุลเงินเยนบ้าง
โดยในส่วนของสกุลเงินที่สำคัญและโครงการที่สำคัญของสกุลเงินเยนก็คือ USDJPY ซึ่งในระดับวันมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการขยับตัวขึ้นของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ส่งผลทำให้ในระยะสั้นเริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องกรอบแนวต้านที่สามารถติดตามได้อย่างระยะสั้นก็คือ 109.883 ซึ่งถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 110.711 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 111.289
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.537 แนวรับที่สองก็คือ 107.835 แนวรับสุดท้ายก็คือ 106.696
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินเยนที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือ : ในส่วนของการปรับใช้นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นหรือ BOJ ที่จำเป็นจะต้องติดตามธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาในการปรับใช้นโยบายทางการเงินซึ่งมีการส่งสัญญาณว่าอาจจะมีการปรับลดวงเงินในการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐดังนั้นในส่วนของธนาคารกลางญี่ปุ่นอาจจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากในการตัดสินใจของธนาคารกลางสหรัฐในครั้งนี้
USD/JPY : จะขยับตัวสูงขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะมีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.007 แนวต้านที่สองก็คือ 109.165 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.265
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.881 แนวรับที่สองก็คือ 108.783 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.607
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่ต้องติดตามถึงปัจจัยการกดดันและแรงหนุนในสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงแต่ในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงมีการผันผวนในระยะสั้นดังนั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1097233 แนวรับที่สองก็คือ 1087997 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.757
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.433 แนวต้านที่สองก็คือ 109.620 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.720
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยในการประกาศตัวเลขที่สำคัญประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : จะมีโอกาสร่วงลงต่อเนื่องหรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะโดนกดดันอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 108.664 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 108.523 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.337
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 108.874 แนวต้านที่สองก็คือ 109.033 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.209
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์เพราะจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญไม่ว่าจะเป็นการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐหรือไม่กระทั่งดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะมีความหวานผัวจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : จะปรับตัวร่วงลงหรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะโดนกดดันหรือไม่
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงถึงแม้ว่าสกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าก็ตามดังนั้นอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.775 แนวรับที่สองก็คือ 108.585 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.452
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.130 แนวต้านที่สองก็คือ 109.472 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.655
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะยังคงเป็นที่น่าติดตามโดยเฉพาะในส่วนของการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการผันผวนในระยะสั้นในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่มีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาออกมาในมุมมองเชิงบวกส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นตัวกลับกับตลาดหุ้น Nikkei เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นแต่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 110.733 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 110.869 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 110.961
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 110.391 แนวรับที่สองก็คือ 10.815 แนวรับสุดท้ายก็คือ 109.936
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึง ในสัปดาห์ถัดไปจำเป็นจะต้องติดตามว่าในส่วนของสกุลดอลล่าร์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหรือไม่ประกอบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาจะมีการขยับตัวสูงขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหรือไม่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์เริ่มพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นถึงแม้ว่าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ที่มีการปรับตัวร่วงลงทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการแข็งค่าขึ้นระยะสั้นแต่ยังคงพักตัวซึ่งทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวเพียงอยู่ในกรอบเท่านั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 109.007 แนวต้านที่สองก็คือ 109.074 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.213
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.821 แนวรับที่สองก็คือ 108.648 แนวรับสุดท้ายก็คือ 108.511
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามการผันผวนของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกอบกับที่สุดของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 108. 5.6 แนวต้านที่สองก็คือ 108.924 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 109.225
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 108.259 แนวรับที่สองก็คือ 108.880 แนวรับสุดท้ายก็คือ 107.598
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะผันผวนในทิศทางของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีโอกาสขยับตัวขึ้นสกุลเงินดอลล่าร์มีโอกาสแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 106.525 แนวต้านที่สองก็คือ 106.693 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 106.864
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 106.252 แนวรับที่สองก็คือ 106.072 แนวรับสุดท้ายก็คือ 105.953
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะยังคงผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาอายุ 10 ปีประกอบกับในค่ำคืนนี้มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลา 20:30 น. จึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
USD/JPY : ยังคงมีโอกาสขยับขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะกดดันอีกครั้ง
สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในช่วงท้ายของวันนี้สกุลเงินเยนปรับตัวอ่อนค่าลงจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 104.846 แนวต้านที่สองก็คือ 105.044 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 105.129
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 104.651 แนวรับที่สองก็คือ 104.559 แนวรับสุดท้ายก็คือ 104.471
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามสัปดาห์ถัดไปเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินนี้อย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
แนะนำให้เน้นออเดอร์ BUY ภายในวันที่ 25ประเดนที่สำคัญ
1. อัตราเงินเฟ้อภายในประเทศเดือนธันวาคมของญี่ปุ่นแย่กว่าที่คาดการณ์ไว้มาก
2. ข้อสงสัยเกี่ยวกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของสหรัฐฯและความกังวลเกี่ยวกับไวรัสโคโรนาส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของตลาด
ญี่ปุ่นเผยแพร่อัตราเงินเฟ้อภายในประเทศเดือน ธ . ค. ซึ่งแย่ลงจาก -0.9% เป็น -1.2% YoY ดีกว่าที่คาดการณ์ไว้เล็กน้อย จึงทำให้กราฟทำ รูปแบบ inverse head and shoulder
เปิด ออเดอร์ BUY ที่ราคาประมาณ >> 103.731
STOP LOSS ที่ >> 103.326
ตั้ง TP ที่โซนราคา >> 104.014