Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปิดช่องว่างก่อนปรับฐาน
แรงซื้อเก็งกำไรที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,614.86 จุด เพิ่มขึ้น 11.80 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.38 หมื่นล้านบาท ต่างชาติและสถาบันภายในประเทศกลับมาเป็นฝ่ายซื้อสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลงที่ 1,617 – 1,625 จุด ก่อนที่จะพักตัวเพื่อปรับฐาน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคารที่ 21 กันยายน ดัชนีดาวโจนส์และเอสแอนด์พี 500 ปรับตัวลดลงเล็กน้อย ขณะที่ดัชนีแนสแดคปรับตัวเพิ่มขึ้น ตลาดยังคงได้รับแรงกดดันจากการผิดนัดชำระหนี้ของบริษัท Evergrande และตลาดเฝ้าติดตามผลการประชุมของเฟด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน แรงซื้อเก็งกำไรหนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่าง (Filling the gap) ขาลงที่ 1,617 – 1,625 จุด ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,591 จุด ดัชนีตลาดมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด โดยมีเส้น MMA2 เป็นแนวรับร่วม และดัชนีตลาดมีแนวรับ 50.0% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,585 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลงก่อนที่จะปรับตัวลงเพื่อปรับฐาน
ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,658 จุด ดัชนีตลาดปรับลดลงมาปิดที่ 1,625 จุด ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ คลื่น (ii) ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลงที่ 1,617 – 1,625 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเพื่อปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,623 – 1,632 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,604 – 1,595 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
สัญญาณเทรดทองคำ XAU/USD Demand Supply ที่น่าสนใจ 21/9/2021สัญญาณเทรดทองคำที่มีหลายปัจจุย Confluence กัน
- Supply Zone DBD TF H1
- SBR แนวต้าน R1,2,3,4 TF H1
- Supply Zone อยู่ใกล้ เทรนไลน์
- Supply Zone Fibo 61.8
รอดูกันต่อว่าราคาจะเข้า Zone ที่รอ Sell ด้วย Pattern แบบไหน?
ถ้าเป็นประเภท Compression จะน่าสนใจมาก หรือไม่ก็เกิด Divergence ของ Indicator ก็จะเป็นการ Confirm การเข้าเทรด
Korn Trade For Live
ทำกำไรแล้วใช้ชีวิต
รายการตัวย่อ
DBD = Drop Base Drop
SBR = Support Become Resistance
R= Resistance
TF= Time Frame
สัญญาณเทรด QM EUR/USD ที่น่าสนใจ 21/9/2021สัญญาณเทรด QM EUR/USD ที่น่าสนใจ 21/9/2021
คู่ EUR/USD เกิด
- QM Reversal Pattern TF Day
- King (RBR TF H4)
- เกิด Divergence ของ Awesome Oscillator TF Day
สรุป Follow Buy ราคาปัจจุัน หรือ รอย่อ Buy กลับลงมาที่ Throwback ใน TF เล็กแล้วค่อย Buy
SL และ TP ตามรายละเอียดในกราฟ
โชคดีมีกำไรทุกท่าน
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ผลกระทบจาก Evergrande
การผิดนัดชำระหนี้ของ Evergrande สร้างความวิตกให้กับตลาด หวั่นผลกระทบกระจายในวงกว้าง แรงเทขายในหุ้นกลุ่มนำตลาดส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,603.06 จุด ลดลง 22.59 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.5 หมื่นล้านบาท สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มนำขายสุทธิกว่า 4 พันล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ที่ 20 กันยายน 2564 ปิดตลาดในแดนลบ นักลงทุนผวาผลกระทบจากการผิดนัดชำระหนี้ของ Evergrande จะส่งผลกระทบในวงกว้าง ทำให้นักลงตื่นเทขายหุ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดทรุดตัวลงแบบมีช่องว่าง (Breakaway Gap ที่ 1,617 – 1,625 จุด) ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวต้าน และเป็นสัญญาณลงต่อเนื่อง ดัชนีตลาดหลุดแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,602 จุด และมีเส้น MMA2 เป็นแนวรับร่วม ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,585 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตขายมากเกิน ภาวะขายมากเกินจะกระตุ้นแรงซื้อกลับเข้าเก็งกำไร หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างก่อนที่จะปรับตัวลงต่อ
ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,658 จุด ดัชนีตลาดปรับลดลงมาปิดที่ 1,625 จุด ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ คลื่น (ii) ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,611 – 1,621 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,594 – 1,585 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปิดช่องว่าง (Filling the Gap)
แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,625.65 จุด ลดลง 6.05 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.05 แสนล้านบาท ต่างชาติขายสุทธิ 889 ล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้น (Filling the gap) ที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ที่ 17 กันยายน ตลาดปรับตัวลดลงจากแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจสหรัฐฯฟื้นตัวอย่างล่าช้า และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีการขายหุ้นออกมา
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน แรงเทขายที่มีออกมากดดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดช่องว่างขาขึ้น (Filling the gap) ที่ 1,621 – 1,611 จุด และมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด โดยมีเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วมอยู่ที่ 1,608 – 1,593 จุด สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวเพื่อปรับฐาน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น ตามการเรียงตัวของเส้น MMA2
ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,658 จุด ดัชนีตลาดปรับลดลงมาปิดที่ 1,625 จุด ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ คลื่น (ii) ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,635 – 1,642 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,617 – 1,606 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แนวโน้มบวกเริ่มมา
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้น PTT, CPALL และ PTTEP หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,631.70 จุด เพิ่มขึ้น 3.66 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.95 หมื่นล้านบาท ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ 1,372 ล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสดบีที่ 16 กันยายน ดาวโจนส์และเอสแอนด์พี 500 ปรับลดลง ขณะที่แนสแดคปรับตัวเพิ่มขึ้น อัตราผลตอบแทนพันธบัตรที่เพิ่มขึ้นฉุดหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีและกลุ่มวัสดุปรับตัวลง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ หลังดัชนีปรับตัวลงปิดช่องว่างขาขึ้น (Filling the gap) ที่ 1,621 – 1,611 จุด ดัชนีตลาดมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด โดยมีเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม (1,605 – 1,591 จุด) สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวเพื่อปรับฐาน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,640 – 1,648 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะพักตัว
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ เหนือแนวรับของช่องว่างที่ 1,621 – 1,611 จุด แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้น PTT, INTUCH และ ADVANC หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,628.04 จุด เพิ่มขึ้น 4.20 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.29 หมื่นล้านบาท ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ 667 ล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธที่ 15 กันยายน ปิดตลาดในแดนบวก จากตัวเลขการผลิตที่ขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง กระตุ้นนักลงทุนกลับเข้าเก็งกำไรในตลาดหุ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังดัชนีปรับตัวลงปิดช่องว่างขาขึ้น (Filling the gap) ที่ 1,621 – 1,611 จุด ดัชนีตลาดมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด โดยมีเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม (1,605 – 1,591 จุด) สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวเพื่อปรับฐาน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,636 – 1,646 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,619 – 1,611 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปรับฐานเพื่อรอสัญญาณบวก
แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้น DELTA ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,623.84 จุด ลดลง 9.92 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.4 หมื่นล้านบาท ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 และนักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธที่ 14 กันยายน ตลาดปรับตัวลดลงจากความกังวลว่าการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จะบั่นทอนเศรษฐกิจสหรัฐฯ แนวโน้มตัวเลขเงินเฟ้อที่สูงขึ้นจะทำให้เฟดปรับลดวงเงินเข้าซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงประมาณเร็วกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวต้าน สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับลดลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด ดัชนีตลาดมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด โดยมีเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม ทำให้ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,632 – 1,640 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,615 – 1,604 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวปิดช่องว่าง 1,621 – 1,611 จุด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบและปิดที่ 1,633.16 จุด ลดลง 1.59 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.6 หมื่นล้านบาท นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นพักตัวลงปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด ดัชนีตลาดมีทิศทางพักตัวก่อนปรับตัวขึ้นต่อ เนื่องจากการเรียงตัวของเส้น MMA2 เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ที่ 13 กันยายน ปิดตลาดในแดนบวก โดยได้รับแรงหนุนจากหุ้นกลุ่มพลังงาน หลังราคาน้ำมัน WTI ถีบตัวขึ้นยืนเหนือ 70 ดอลลาร์สรอ./บาร์เรล
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสแกว่งตัวแคบๆ และเคลื่อนตัวออกด้านข้างในทิศทางปรับตัวลง เข้าหาแนวรับของช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดที่ปรับตัวลงมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,642 – 1,650 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,623 – 1,615 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
BTC Elliote waveกฎของลุงโฉลก
Wave 3 ต้องไม่สั้นที่สุด และ Wave 4 ต้องไม่ต่ำกว่า Wave 1
3,800-41,000
Wave 1 มักจะประกอบด้วย 3 sub-waves,
Wave 2 มักจะลงยาวเป็น A-B-C ชัดเจน และ Wave 4 ลงเร็วแล้วต่อด้วย Sideway sub-waves 1–2 ของ Wave 5 อื่นๆ
แต่ถ้า Wave 2 เกิด Complex คือไม่ลง a-b-c แล้วจบเลย แต่อาจเล่น sideway ยาวออกมา
ใน Wave 4 มักจะไม่เกิด Complex เหมือน 2 (ถ้า Wave 2 simply, Wave 4 จะ Complex แทน)
wave 2 complex wave 4 ไม่ complex
ตาม ทฤษฎี Wave 3 ต้องไม่ใช่คลื่นที่สั้นที่สุด และควรจะยาวครับ หากไม่ยาว คือมีขนาดพอๆกับ Wave 1 แล้ว Wave 5 มักจะเป็น extended wave 5 หรือมีการต่อคลื่น คือขึ้นคลื่นชุดย่อย(แต่ ใหญ่) ขยายความยาว Wave 5 ออกไปอีก
ถ้า Wave B เด้งแรงมากแล้วขึ้นไปเกินกว่า Wave 5 ให้รีบถอนตัวโดยเร็วที่สุด (Wave C มหาโหดกำลังจะตามมา)
เด้งถึง 61.8
Peak RSI จะตรงกับ Wave 3 ในระดับใดระดับหนึ่งเสมอ (เพราะฉะนั้นการจบ 5, Peak อยู่ที่ 3 เกิด Convergence แล้ว Crash เป็น A-B-C)
ถูก
Wave 3–4 มีลักษณะที่น่าสนใจมาก ตลาดจะเคลื่อนไหวเป็น Sideway movement (เกือบจะ) เสมอ กล่าวคือ Wave 3–4 จะตามมาด้วย Sub-Wave 1–2 ของ Wave 5 ซึ่ง Peak ของ Sub-Wave 1 จะต่ำกว่า Peak ของ Wave 3 และ Through ของ Sub-Wave 2 จะสูงกว่า Through ของ Wave 4 (เกือบจะ) เสมอ
กรณีจบรอบใหญ่ (การจบ A-B-C, C จะต่ำกว่า A เยอะๆ เลย ตาม Fibo)
จาก 5 ลงมา A เท่าไหร่ก็ได้ไม่มีกฎตายตัว แต่จาก 5 ลงมา A เด้งไป B = 61.8%
(ถ้าเป้านั้นๆ เช่น 61.8% รับไม่อยู่ เป้าต่อไปจะเป็น Square root ของเป้าก่อนหน้า Ex. 61.8% => 78.6% => 88.6%)
61.8 @ 52,000
แล้วจาก A ไป B ลงมา C เท่ากับ 161.8, 261.8 ++ แล้วแต่ความแรงความ Panic sell
161 อยู่ 14k
261 อยู่ 9.5k
ยังไม่เกิด แต่คาดว่าไม่ถึง
แนวต้าน 41k 37k 30k
ลุงบอกรอบนี้ c น่าจะยก / เราจะเข้าซื้อแถว 35k ดูความรีบ
ถ้าวัดจากฐาน 1 มายอด 5 ของการจบรอบใหญ่ Wave c มักจะลงลึกเท่ากับ 78.6%
78.6@ 16k ไม่น่านะะ
จาก 5 ลงมาจบที่ C แล้วเด้งไปที่ 1 = 61.8% (กรณีขึ้นรวดเดียวไม่ถึง ให้เอาก้านธง จาก 1 ย่อยกับ Prev.low มากำหนด Target ได้)
Wave 1 มา 2 ไม่ใช่ Correction ใหญ่ ปกติจะลงมาที่ 38.2% แต่ส่วนมากไม่เกิน 50%
Wave 1 จะไป 3 หรือ 5 อย่างต่ำต้องขึ้นไปอีก 161.8 (127.2 เป็นจุดพัก), ถ้า Bullish มากจะไปถึง 261.8 และ 423.6 ++
(Step การขึ้นจะทะลุ 61.8 ขึ้นไปก่อนอย่างง่ายดาย ถึงจะไปที่ 161.8 ได้ ถ้าติดที่ 100% จะเป็น Double top ซึ่งเเป็นกรณีที่กิดขึ้นได้ยาก)
Wave 3 มา 4 Correction อาจลงมาถึง 61.8% แต่ไม่เกิน 78.6%
Wave 4 ลงไม่ถึงยอด Wave 1 เสมอ
ความกว้างของ Correction A-B-C ของ Wave 5(เก่า) ไม่ควรยาวกว่า Correction a-b-c ของ Wave 3(ใหม่)
เมื่อราคาไปถึงตามเป้าหมายแล้วให้ใช้ Momentum oscillator ช่วย ก็จะเห็น Bearish Convergence/Divergence
ประกอบกับการเกิด Reversal signal (Price pattern/Candle stick) เพื่อระบุจุดเปลี่ยนเทรน
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะพักตัวเพื่อปรับฐาน
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,635.35 จุด เพิ่มขึ้น 6.23 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9.2 หมื่นล้านบาท ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ 716 ล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ที่ 10 กันยายน ตลาดปรับตัวลดลงจากแรงเทขายที่มีออกมา นักลงทุนวิตกกังวลว่าตัวเลขเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น อาจกดดันให้เฟดปรับลดวงเงินที่จะเข้าซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณเร็วกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลงทดสอบแนวรับของช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด แท่งเทียนมีเงาส่วนล่างขนาดยาว สะท้อนถึงแรงซื้อที่กลับเข้ามา สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลง ดัชนีมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด ควรเข้าซื้อเพิ่มเมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด หรือเมื่อสัญญาณ RSI ปรับลดลงไปที่ 50 – 40 เปอร์เซ็นต์
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,646 – 1,653 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,623 – 1,615 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เนื่องจากดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 1,620 จุด ตั้งจุดซื้อไว้ที่ 1,621 จุด และเพิ่มพอร์ตการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,611 – 1,602 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แนวรับระยะสั้น 1,621 – 1,611 จุด
แรงที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาดอย่างต่อเนื่อง ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,629.12 จุด ลดลง 11.33 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9 หมื่นล้านบาท ต่างชาติกลับมาขายสุทธิกว่า 2.3 พันล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน ตลาดปรับตัวลดลงจากความกังวลว่าการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐฯ และตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานที่ลดลงต่ำสุดจะเป็นปัจจัยที่ทำให้เฟดปรับลดวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตร
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ ระหว่างการซื้อขายดัชนีปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,646 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวต้าน สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นที่ชะลอตัว สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด ดัชนีตลาดมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,602 จุด จะเป็นจุดเข้าซื้อเพื่อเก็งกำไรระยะสั้น
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,637 – 1,646 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
รอจังหวะเข้าซื้อ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยกลับมาปิดบวก หลังต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิกว่า 7.5 พันล้านบาท ดัชนีตลาดปิดที่ 1,640.45 จุด เพิ่มขึ้น 4.00 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.98 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธที่ 8 กันยายน ตลาดปรับตัวลดลงจากความกังวลว่า การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์เดลตาจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศของสหรัฐฯ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก จากแรงซื้อเก็งกำไรที่มีเข้ามา สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางขาขึ้นเริ่มชะลอตัว ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านกึ่งกลางลำตัวของ Bearish Candlestick ที่ 1,645 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงสลับกับการปรับตัวขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,648 – 1,658 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,632 – 1,621 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับที่ 1,621 จุด
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,636.45 จุด ลดลง 11.92 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.01 แสนล้านบาท ต่างและสถาบันภายในประเทศเป็นฝ่ายขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคารที่ 7 กันยายน ดัชนีดาวโจนส์และเอลแอนด์พีปรับตัวลดลง ขณะที่ดัชนีแนสแดคปรับตัวขึ้นเล็กน้อย นักลงทุนหวั่นการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลตาจะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนสองแท่งหลังเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Two Dark Crows ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางการปรับตัวขึ้น ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวสลับกับการปรับตัวขึ้น ดัชนีตลาดมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,647 – 1,658 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,628 – 1,618 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นพักตัว
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด กดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,648.37 จุด ลดลง 1.96 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.8 หมื่นล้านบาท ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นวอลล์สตรีทประจำวันจันทร์ที่ 6 กันยายน ตลาดปิดทำการเนื่องในวัน “แรงงาน”
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายระยะสั้น หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,657 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Star แท่งที่ 2 ในเขตซื้อมากเกิน สะท้อนถึงเริ่มเกิดแนวต้าน สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นลบ ขณะที่สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางการปรับตัวขึ้น ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวสลับกับการปรับตัวขึ้นต่อ ดัชนีตลาดมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,657 – 1,665 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,638 – 1,628 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นมีความเสี่ยง
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ จากแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ แต่มีแรงซื้อเข้ามาในหุ้นกลุ่มพลังงานทดแทน ดัชนีตลาดปิดที่ 1,650.33 จุด เพิ่มขึ้น 2.58 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.87 หมื่นล้านบาท ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้เกิดแรงขาย ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ที่ 3 กันยายน ดัชนีดาวโจนส์และเอสแอนด์พี 500 ปรับตัวลดลง ขณะที่ดัชนีแนสแดคปิดในแดนบวก นักลงทุนผิดหวังตัวเลขการจ้างงานเดือนสิงหาคมต่ำกว่าที่คาดการณ์ ตลาดได้รับแรงกดดันจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลตา
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ หลังดัชนีปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,657 จุด แท่งเทียนเกิดเป็นสตาร์ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นลบ ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลงสลับกับการปรับตัวขึ้น ดัชนีตลาดมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,650 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายระยะสั้นอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,660 – 1,670 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,642 – 1,634 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,580 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบเป้าหมายที่ 1,673 จุด
ต่างชาติกลับเข้าซื้อสุทธิในหุ้นขนาดใหญ่ หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,647.75 จุด เพิ่มขึ้น 13.27 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.01 แสนล้านบาท ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิกว่า 3 พันล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะสั้น โดยดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,673 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดีที่ 2 ตลาดปิดในแดนบวกขานรับตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานต่ำกว่าที่คาดการณ์ สะท้อนถึงตัวเลขการจ้างงานที่แข็งแกร่ง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดต่ำปิดสูง แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,652 จุด ดัชนีปรับตัวทะลุแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,642 จุด สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวสลับกับการปรับตัวขึ้นต่อ การปรับตัวลดลงจะเกิดเมื่อสัญญาณ RSI เกิดเป็น Bearish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น ดัชนีตลาดมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,647 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,642 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,673 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,673 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,656 – 1,670 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,638 – 1,628 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,580 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,634.48 จุด ลดลง 4.27 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.17 แสนล้านบาท ต่างชาติและสถาบันในประเทศเป็นฝ่ายขาย ขณะที่นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มนำซื้อสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน แรงขายทำกำไรระยะสั้นส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,621 – 1,611 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธที่ 1 กันยายน ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง ขณะที่ดัชนีเอสแอนด์พี 500 และแนสแดคบวกขึ้นเล็กน้อย นักลงทุนผิดหวังกับตัวเลขการจ้างงานภาคเอกชนเดือนสิงหาคมต่ำกว่าคาดการณ์
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,642 จุด แรงขายที่มีออกมาทำให้ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Dark Cloud Cover ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง โดยมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด ระยะสั้นดัชนีตลาดอยู่ในช่วงพักตัวเพื่อปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,634 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,580 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,642 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก และสัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด โดยดัชนีตลาดมีจุดสูงเก่าเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,642 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,642 – 1,654 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,622 – 1,611 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,580 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,642 จุด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยได้รับแรงหนุนจากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มพลังงานทดแทนและกลุ่มสื่อสาร หนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,638.75 จุด เพิ่มขึ้น 4.98 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.17 แสนล้านบาท ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมา ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,580 จุด
ตลาดหุ้นวอลล์สตรีทประจำวันอังคารที่ 31 สิงหาคม ตลาดปรับตัวลงเล็กน้อยจากแรงขายทำกำไรระยะสั้น สัญญาณทางเทคนิคัลเตือนให้ระวังแรงขายในระยะสั้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,642 จุด ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,643 จุด สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง โดยมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,621 – 1,611 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,611 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,580 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,642 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,642 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,648 – 1,660 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,628 – 1,621 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,580 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,642 จุด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นอย่างร้อนแรง จากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นสถาบันการเงินและหุ้นกลุ่มพลังงาน ดัชนีตลาดปิดที่ 1,633.77 จุด เพิ่มขึ้น 22.57 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.16 แสนล้านบาท ต่างชาติซื้อสุทธิ 2,067 ล้านบาท ขณะที่นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,642 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายทำกำไรระยะสั้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง ขณะที่ดัชนีเอสแอนด์พี 500 และแนสแดคปรับตัวขึ้นจุดสูงใหม่ตลอดกาล ตลาดขานรับมาตรการคงอัตราดอกเบี้ยต่ำของเฟด แต่เฟดส่งสัญญาณว่าจะปรับลดลงวงเข้าที่จะเข้าซื้อพันธบัตรในช่วงปลายปีนี้
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (Breakaway gap ที่ 1,642 – 1,654 จุด) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวรับ สัญญาณ DMI แสดงถึงการปรับตัวขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,642 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง โดยมีช่องว่างขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,611 จุด ดัชนีปิดเหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,580 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะจบคลื่นปรับ (Collective wave) คลื่น 2 ที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 และคลื่น 3) ตามลำดับ โดยมีเป้าหมายแรกอยู่ที่ 1,642 จุด
ในกรณีที่คลื่น 3) ยาวเท่ากับ 1.618 เท่าของความยาวคลื่น 1) คลื่น 3) จะมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายเพื่อทำกำไรระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,621 – 1,611 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,642 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,642 – 1,654 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,622 – 1,611 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 40 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต เพิ่มพอร์ตการลงทุน 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,580 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity