Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
เคลื่อนตัวออกด้านข้าง
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นขนาดใหญ่ หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,730.90 จุด เพิ่มขึ้น 5.46 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.89 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,714 จุด ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 4 นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง ตามแรงขายที่มีออกมาในหุ้นขนาดใหญ่ที่ผลประกอบการไตรมาสสองออกมาต่ำกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,714 จุด และมีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,748 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงพักตัวลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) โดยดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1,716 – 1,748 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,714 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,736 – 1,740 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,724 – 1,720 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
สัญญาณทางเทคนิคัลทางเทคนิคัลจะกลับมาเป็นลบ ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท เป้าหมายดัชนีตลาดระยะกลางอยู่ที่ 1,820 จุด
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวออกด้านข้าง
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 1,714 – 1,748 จุด บรรยากาศการซื้อขายเริ่มชะลอตัว เนื่องจากขาดปัจจัยบวกเข้ามาหนุน ดัชนีตลาดปิดที่ 1,725.44 จุด เพิ่มขึ้น 0.57 จุด มูลค่าการซื้อขายลดลงเหลือ 5.28 หมื่นล้านบาท ต่างชาติซื้อสุทธิเล็กน้อย ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง ดาวโจนส์ปิดลบ ขณะที่ S&P 500 และ Nasdaq ปิดในแดนบวกและทำราคาปิดสูงตลอดกาล
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,714 จุด และมีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,748 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงพักตัวลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) โดยดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1,716 – 1,748 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,714 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,730 – 1,736 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,720 – 1,714 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
สัญญาณทางเทคนิคัลทางเทคนิคัลจะกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท เป้าหมายดัชนีตลาดระยะกลางอยู่ที่ 1,820 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ตลาดหุ้นนิวยอร์กกลับมาสดใส
สถาบันภายในประเทศยังคงเดินหน้าขายสุทธิ ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงปิดที่ 1,724.87 จุด ลดลง 2.71 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.2 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,714 จุด ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดในแดนบวกขานรับผลประกอบการไตรมาสสองที่สดใส และการเจรจาการค้ากับจีนคืบหน้า
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,714 จุด และมีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,748 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงพักตัวลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) โดยดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1,716 – 1,748 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มกลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,730 – 1,735 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,720 – 1,714 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
สัญญาณทางเทคนิคัลทางเทคนิคัลจะกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท เป้าหมายดัชนีตลาดระยะกลางอยู่ที่ 1,820 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ความตึงเครียดบนช่องแคบฮอร์มุซ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงจากแรงขายของสถาบันในประเทศ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,727.58 จุด ลดลง 7.52 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีแนวโน้มแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 1,716 – 1,748 จุด สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดในแดนบวกเพื่อดักข่าวผลประกอบการและการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของเฟด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงทดสอบแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลาง โดยมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,716 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีแนวต้านอยู่ที่ 1,748 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,716 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงพักตัวลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) โดยดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1,716 – 1,748 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มกลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,733 – 1,738 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,721 – 1,716 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
สัญญาณทางเทคนิคัลทางเทคนิคัลจะกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท เป้าหมายดัชนีตลาดระยะกลางอยู่ที่ 1,820 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ยังขาดทิศทาง
ดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นปิดในแดนบวก ขานรับฟิทช์ เรตติ้งปรับมองมองตลาดหุ้นไทยจาก Stable เป็น Positive ดัชนีตลาดปิดส่งท้ายสัปดาห์ที่ 1,735.10 จุด ทั้งสัปดาห์ดัชนีตลาดปรับเพิ่มขึ้น 3.51 จุด มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละ 5.8 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางการปรับตัวขึ้นเมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง หลังเกิดความตึงเครียดบนช่องแคบฮอร์มุช ขณะที่นักลงทุนสหรัฐกำลังติดตามผลประกอบการไตรมาสสอง และสัญญาณการปรับลดลงดอกเบี้ยของเฟด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงพักตัวลงจากคลื่น iii) ลงเป็นคลื่น iv) โดยดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1,716 – 1,748 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (gap) หลังจากดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,716 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม แท่งเทียนเกิดเป็น Star สะท้อนถึงแรงซื้อกับแรงขายที่มีพละกำลังพอๆกัน ราคาปิดวันถัดไปจะเป็นตัวบอกทิศทาง หากดัชนีตลาดเปิดต่ำปิดสูง ดัชนีตลาดจะปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,748 จุด แต่ถ้าดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ ดัชนีตลาดจะพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายสัปดาห์ สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มกลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,742 – 1,748 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,729 – 1,722 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
สัญญาณทางเทคนิคัลทางเทคนิคัลจะกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีปิดเหนือ 1,748 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท เป้าหมายดัชนีตลาดระยะกลางอยู่ที่ 1,820 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ลุ้นยืนเหนือ 1,730 จุด
แรงซื้อที่เริ่มกลับเข้ามาในหุ้นขนาดใหญ่ หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,723.44 จุด เพิ่มขึ้น 4.59 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.46 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ กดดัชนีตลาดปรับตัวลงทดสอบแนวรับที่ 1,716 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลจะเริ่มกลับมาเป็นบวกเมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,730 จุด ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นเล็กน้อย หลังจากดัชนีดิ่งลงในช่วงเช้า ผลประกอบการที่ออกมาดีและกระแสลดดอกเบี้ยของเฟด จะหนุนให้ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นต่อ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังดัชนีตลาดปรับตัวลงทดสอบแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,716 จุด ซึ่งเป็นแนวรับของเส้นคอ (Neck line) ที่เกิดจากสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ดัชนีตลาดมีแนวรับ 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,706 จุดเป็นแนวรับถัดไป และมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
การเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัล
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) โดยระยะสั้นดัชนีตลาดกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) มีเป้าหมายของแนวรับอยู่ที่ 1,716 จุด, 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,730 – 1,735 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,718 – 1,714 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
สัญญาณทางเทคนิคัลทางเทคนิคัลจะกลับมาเป็นบวก เมื่อดัชนีตลาดสามารถกลับขึ้นยืนปิดเหนือ 1,730 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท เป้าหมายดัชนีตลาดระยะกลางอยู่ที่ 1,820 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,716 จุด
แรงขายที่มีออกมาอย่างต่อเนื่อง ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่ 4 ดัชนีตลาดปิดที่ 1,718.85 จุด ลดลง 9.13 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.26 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,706 จุด สถาบันในประเทศยังเดินหน้าขายสุทธิ ขณะที่ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง หลังจากการเจรจาการค้ากับจีนไม่คืบหน้าอาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่ 4 ดัชนีตลาดกำลังปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของจุดต่ำเก่า ซึ่งเป็นแนวรับเดียวกับ 38.2% Fibonacci Retracement ที่ 1,716 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนเหนือแนวรับที่ 1,716 จุด ดัชนีตลาดจะปรับลดลงเข้าหาแนวรับ 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,706 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
การเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Double Top ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัล
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) โดยระยะสั้นดัชนีตลาดกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) มีเป้าหมายของแนวรับอยู่ที่ 1,716 จุด, 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,723 – 1,730 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,711 – 1,706 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แรงขายระยะสั้น
สัญญาณปลายตลาดขาขึ้น (Bearish Divergence) กดดันให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยเผชิญแรงขายระยะสั้น ดัชนีตลาดปิดส่งท้ายสัปดาห์ที่ 1,731.59 จุด ทั้งสัปดาห์ดัชนีปรับเพิ่มขึ้น 0.36 จุด มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละ 6.7 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด ต่างชาติยังซื้อสุทธิต่อเนื่อง ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นสร้างจุดสูงใหม่ตลอดกาล ขานรับสัญญาณปรับลดดอกเบี้ยของเฟด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) โดยระยะสั้นดัชนีตลาดกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) มีเป้าหมายของแนวรับอยู่ที่ 1,716 จุด, 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านที่ 1,747 จุด เกิดเป็น Key Reversal Day และเกิดรูปแบบของ Double Top ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น แรงขายระยะสั้นจะกดดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วม
จากหลักการของเส้น MMA2 จะเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายสัปดาห์ สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ สัญญาณ Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,740 – 1,747 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,724 – 1,716 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ยังทดสอบแนวต้านที่ 1,747 จุด
แรงขายที่มีออกมาในช่วงบ่าย ฉุดให้ดัชนีตลาดเปิดสูงและลงมาปิดที่ 1,740.45 จุด เพิ่มขึ้น 1.02 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,747 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเกิดสัญญาณ Bearish Divergence เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงในระยะสั้น ระยะกลางขึ้นไปดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สาม ดาวโจนส์และ S&P 500 ขานรับสัญญาณลดดอกเบี้ยของเฟด ด้วยการทำราคาปิดสูงตลอดกาล
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำหลังจากดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,747 จุด สัญญาณ Bearish Divergence เตือนให้ระวังถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น การเปิดสูงปิดต่ำที่เกิดตามมาจะทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,725 จุด และมีจุดต่ำเก่าที่ 1,716 จุดเป็นแนวรับถัดไป โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับร่วม
จากหลักการของเส้น MMA2 จะเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) โดยมีเป้าหมายแนวรับอยู่ที่ 1,716 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นคลื่นส่ง (Impulse wave) ขึ้นเป็นคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ สัญญาณ Bearish Divergence ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นมีความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลเพิ่มขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,157 – 1,162 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,147 – 1,140 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,747 จุด
แรงซื้อกลับเข้ามาในหุ้นขนาดใหญ่ หลังตลาดคาดการณ์ถึงการจัดตั้งรัฐบาลเริ่มลงตัว ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,739.43 จุด เพิ่มขึ้น 17.95 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.33 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ระยะสั้นดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,747 จุด ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง นักลงทุนทั่วไปเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ขานรับเฟดส่งสัญญาณเปิดทางลดอัตราดอกเบี้ย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดในแดนบวก แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick (เปิดต่ำปิดสูง) หลังดัชนีตลาดปรับตัวลดลงทดสอบแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้น โดยที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบขาขึ้นเป็นแนวรับร่วม (หลักการของเส้น MMA2 จะเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2)
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,747 จุด การเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ยังเป็นความเสี่ยงจากปัจจัยทางเทคนิคัลในระยะสั้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) โดยมีเป้าหมายแนวรับอยู่ที่ 1,706 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นคลื่นส่ง (Impulse wave) ขึ้นเป็นคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด ระยะกลางดัชนีตลาดยังคงเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,744 – 1,750 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,734 – 1,728 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,716 จุด
สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นที่เป็นลบ กดดันให้เกิดแรงขายออกมา ส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงปิดที่ 1,721.48 จุด ลดลง 9.55 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.5 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลที่เป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ ขณะที่ค่าเงินบาทเริ่มมีสัญญาณอ่อนตัวลง หลังแบงก์ชาติออกมาตรการสกัดเงินร้อน ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง นักลงทุนเฝ้าติดตามถ้อยแถลงเฟดต่อรัฐสภาในสัปดาห์นี้
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงทดสอบแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้น หลังจากที่ดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นเป็นรูปธง (Flag) ที่ชายธงชี้ขึ้น ซึ่งเป็นสัญญาณลงต่อเนื่อง (Continuation pattern) ระยะสั้นดัชนีตลาดมีแนวรับที่เกิดจาก Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,716 จุด, 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับร่วม
จากหลักการของเส้น MMA2 จะเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) โดยมีเป้าหมายแนวรับอยู่ที่ 1,706 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นคลื่นส่ง (Impulse wave) ขึ้นเป็นคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด ระยะกลางดัชนีตลาดยังคงเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,726 – 1,732 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,716 – 1,710 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
การเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แสดงถึงสัญญาณเพื่อทำกำไรเป็นรอบ
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยเสี่ยงระยะสั้น
แรงซื้อที่มีเข้ามาหนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวขึ้นปิดที่ 1,731.03 จุด ดัชนีตลาดปรับลดลง 0.20 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.73 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ หลังแบงก์ชาติออกมาตรการสกัดเงินร้อน ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง นักลงทุนหวั่นว่าเฟดจะคงอัตราดอกเบี้ย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆในทิศทางปรับตัวขึ้นเหนือแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดมีรูปแบบแกว่งตัวขึ้นเป็นรูปธง (Flag) ที่ชายธงชี้ขึ้น ซึ่งเป็นสัญญาณของการปรับตัวลงต่อเนื่อง (Continuation pattern) ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,706 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับร่วม
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) โดยมีเป้าหมายแนวรับอยู่ที่ 1,706 จุด ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นคลื่นส่ง (Impulse wave) ขึ้นเป็นคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด ระยะกลางดัชนีตลาดยังคงเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,736 – 1,742 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,725 – 1,720 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
การเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แสดงถึงสัญญาณเพื่อทำกำไรเป็นรอบ
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นปรับฐาน
ภาวะซื้อมากเกินกดดันให้เกิดแรงขายระยะสั้น ฉุดให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยระยะสั้นมีโอกาสปรับฐาน ดัชนีตลาดปิดส่งท้ายสัปดาห์ที่ 1,731.23 จุด ทั้งสัปดาห์ดัชนีตลาดปรับเพิ่มขึ้น 0.89 จุด มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละ 6.99 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด ต่างชาติยังมีแนวโน้มซื้อสุทธิต่อเนื่อง ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง หลังตัวเลขการจ้างงานทำให้นักลงทุนกังวลว่าเฟดจะยังไม่ปรับลดอัตราดอกเบี้ย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐานก่อนที่จะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆปิดเหนือแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้น หลังจากดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,747 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Engulfing (Key Reversal Day) ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นและมีความลาดชันเพิ่มเป็นแนวรับร่วม ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงและมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลงต่อ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายสัปดาห์ สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,738 – 1,743 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,725 – 1,716 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
การเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แสดงถึงสัญญาณเพื่อทำกำไรเป็นรอบ
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
สัญญาณทางเทคนิคเป็นลบ
หลังจากดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงต่ำกว่า 1,730 จุด เกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เป็นขายแบบรอบ แรงเทขายที่มีออกมาฉุดดัชนีตลาดดิ่งลงไปทำจุดต่ำที่ 1,714 จุด แรงซื้อที่มีเข้ามาช่วงท้ายตลาดช่วยลดช่วงลบของดัชนี ดัชนีตลาดปิดที่ 1,724.37 จุด ลดลง 14.14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.86 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,706 จุด ต่างชาติและนักลงทุนทั่วไปเป็นฝ่ายซื้อสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดทำการเนื่องในวันชาติสหรัฐฯ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำหลังจากดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,747 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Engulfing (Key Reversal Day) ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,732 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลที่เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,716 จุด และ 1,706 จุด ตามลำดับ โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับถัดไป
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลง แต่ระยะกลางดัชนีตลาดยังคงเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น iii) ที่ 1,747 จุด ก่อนที่จะปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) ลงเป็นคลื่น iv) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,716 จุด, 1,706 จุด และ 1,696 จุด ตามลำดับ ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น v) หรือคลื่น (iii),v) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด การเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แสดงถึงสัญญาณเพื่อทำกำไรเป็นรอบ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,732 – 1,738 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,715 – 1,708 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ก่อนที่ดัชนีตลาดจะปรับลดลงต่ำกว่า 1,730 จุด เกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เป็นสัญญาณขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
จับตาทิศทางดอกเบี้ยของเฟด
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,738.51 จุด เพิ่มขึ้น 6.28 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.37 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐานเหนือแนวรับที่ 1,720 จุด ต่างชาติซื้อสุทธิเล็กน้อย ขณะที่บัญชีบริษัทหลักทรัพย์กลับขึ้นมาเป็นกลุ่มนำซื้อสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นสร้างจุดสูงใหม่ เนื่องจากนักลงทุนมองว่าเฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเหนือแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,721 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,716 จุด โดยมีจุดสูงเก่าทำหน้าที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,747 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลที่เริ่มกลับมาเป็นลบ เป็นสัญญาณว่าดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวลง ขณะที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น แสดงว่าดัชนีตลาดระยะกลางยังคงเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดที่พักตัวลงเป็นการปรับตัวลงเพื่อขึ้นต่อ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และกำลังเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด ระยะสั้นดัชนีตลาดมีแนวโน้มซิกแซกปรับตัวลงก่อนที่จะปรับตัวขึ้นต่อเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (iii),v)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,744 – 1,750 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,733 – 1,727 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวระยะสั้น
แรงขายทำกำไรระยะสั้นฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่สอง ดัชนีตลาดปิดที่ 1,732.23 จุด ลดลง 8.68 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด ระยะกลางขึ้นไปดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวเพิ่มขึ้น ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกที่ไม่แน่นอน
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางที่ 1,721 จุด และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,716 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลที่เริ่มกลับมาเป็นลบ เป็นสัญญาณว่าดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวลง ขณะที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น แสดงว่าดัชนีตลาดระยะกลางยังคงเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดที่พักตัวลงเป็นการปรับตัวลงเพื่อขึ้นต่อ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และกำลังเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด ระยะสั้นดัชนีตลาดมีแนวโน้มซิกแซกปรับตัวลงก่อนที่จะปรับตัวขึ้นต่อเป็นคลื่น v) หรือคลื่น (iii),v)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,738 – 1,744 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,727 – 1,720 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,721 – 1,716 จุด
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นระวังภาวะซื้อมากเกิน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาดหลังจีนและสหรัฐพักรบข้อพิพาททางการค้า หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,747 จุด ก่อนที่จะอ่อนตัวลงมาปิดที่ 1,740.91 จุด เพิ่มขึ้น 10.57 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.85 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิด แรงขายทำกำไรระยะสั้นจะทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสอ่อนตัวลง โดยระยะกลางดัชนีตลาดยังคงเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้นเข้าหาแนวต้านที่ 1,766 จุด และ 1,820 จุด ตามลำดับ ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก หลังจีนและสหรัฐพักรบสงครามการค้า
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (Gap) ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำแท่งเทียนลำตัวเล็กสีดำ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,766 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลง ขณะที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น สะท้อนถึงดัชนีตลาดระยะกลางขึ้นไปยังเป็นตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดที่พักตัวลงเป็นการปรับตัวลงเพื่อขึ้นต่อ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และกำลังเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด กราฟรายวันแสดงถึงดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นเริ่มอ่อนแรง ต่างไปจากกราฟรายสัปดาห์ความลาดชันของ MACD Histogram ยังสะท้อนถึงภาวะตลาดกระทิง (Bull market)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะซึ่งจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลง แต่ระยะกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,747 – 1,753 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,735 – 1,729 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
จากกราฟรายวันดัชนีตลาดเริ่มปรากฏสัญญาณ Bearish Divergence ของ MACD Histogram แม้จะมีนัยสำคัญน้อยกว่าสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แต่ก็เป็นสัญญาณเตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น จึงควรหลีกเลี่ยงการไล่ราคา
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ยุติสงครามการค้า
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดส่งท้ายเดือนมิถุนายนที่ 1,730.34 จุด ในรอบครึ่งปีแรกของปีดัชนีตลาดปรับตัวเพิ่มขึ้น 166.46 จุด หรือเพิ่มขึ้น 10.64 เปอร์เซ็นต์ มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.2 หมื่นล้านบาท ต่างชาติมีแนวโน้มซื้อสุทธิต่อเนื่อง ภาวะซื้อมากเกินในระยะสั้นจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ โดยดัชนีตลาดระยะกลางมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,740 จุด และ 1,766 จุด ตามลำดับ สัปดาห์นี้คาดว่าตลาดหุ้นนิวยอร์กจะได้รับแรงหนุนจากข่าวจีนและสหรัฐยุติการขึ้นภาษีรอบใหม่ เพื่อหันหน้าเจรจาการค้ารอบใหม่ และทรัมป์ผ่อนผันให้บริษัทสหรัฐค้าขายกับบริษัทหัวเว่ย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และกำลังเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด กราฟรายวันแสดงถึงดัชนีตลาดที่ปรับตัวขึ้นเริ่มอ่อนแรง ต่างไปจากกราฟรายสัปดาห์ความลาดชันของ MACD Histogram ยังสะท้อนถึงภาวะตลาดกระทิง (Bull market)
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเข้าหาแนวต้านที่ 1,740 จุด แท่งเทียนเกิดเป็นสตาร์ หลังดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่างที่ 1,722 – 1,726 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดเปิดต่ำปิดสูงและมูลค่าการซื้อขายหนาแน่น ช่องว่างที่เกิดจะเป็น Breakaway gap เป็นสัญญาณขึ้นต่อเนื่อง แต่ถ้าดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ (Key Reversal Day) ช่องว่างที่เกิดจะเป็น Exhaustion gap ซึ่งเป็นสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น ดัชนีตลาดมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง
เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นและความลาดชันเพิ่มขึ้น ชี้ถึงภาวะตลาดขาขึ้น (Bull market) ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวลงจะมีทิศทางปรับตัวขึ้นต่อ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายสัปดาห์ สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะซึ่งจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลง แต่ระยะกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,735 – 1,742 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,725 – 1,720 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
จากกราฟรายวันดัชนีตลาดเริ่มปรากฏสัญญาณ Bearish Divergence ของ MACD Histogram แม้จะมีนัยสำคัญน้อยกว่าสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แต่ก็เป็นสัญญาณเตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น จึงควรหลีกเลี่ยงการไล่ราคา
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
หลีกเลี่ยงการไล่ราคา
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,731.64 จุด เพิ่มขึ้น 9.43 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.8 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวแนวต้านที่ 1,740 จุด และ 1,766 จุด ตามลำดับ แม้สัญญาณทางเทคนิคัลจะแสดงถึงการปรับตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น แต่ระยะสั้นควรหลีกเลี่ยงการไล่ราคาหุ้น ต่างชาติเดินหน้าซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 8 ตลาดหุ้นนิวยอร์กแกว่งตัวแบบไร้ทิศทาง นักลงทุนกังวลว่าการเจรจาการค้าระหว่างสี จิ้นผิงและทรัมป์อาจไม่บรรลุข้อตกลง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่างที่ 1,722 – 1,726 จุด ดัชนีตลาดปิดค่อนไปทางสูงทำให้ช่องว่างที่เกิดมีแนวโน้มเป็น Breakaway gap หรือ High Price Gapping Play ซึ่งเป็นสัญญาณขึ้นต่อเนื่อง ดัชนีตลาดจึงมีทิศทางปรับตัวขึ้นต่อ เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น เป็นสัญญาณยืนยันถึงทิศทางขาขึ้นในระยะกลาง
อย่างไรก็ดี การเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ MACD Histogram เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงในระยะสั้น
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของเส้นแนวโน้มขาลงระยะกลางที่ 1,664 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และดัชนีตลาดกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะซึ่งจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลง แต่ระยะกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,735 – 1,742 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,726 – 1,720 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
จากกราฟรายวันดัชนีตลาดเริ่มปรากฏสัญญาณ Bearish Divergence ของ MACD Histogram แม้จะมีนัยสำคัญน้อยกว่าสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI แต่ก็เป็นสัญญาณเตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น จึงควรหลีกเลี่ยงการไล่ราคา
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวก่อนเดินหน้า
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออก้านข้าง แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ช่วยให้ดัชนีกลับมาปิดในแดนบวกที่ 1,722.21 จุด เพิ่มขึ้น 0.88 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.3 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้เกิดแรงขายออกมาเป็นระยะกดดัชนีตลาดให้พักตัวก่อนที่จะปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,740 จุด และ 1,766 จุด ตามลำดับ ต่างชาติซื้อสุทธิ (5,011 ล้านบาท) โดยสถาบันในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กแกว่งตัวแบบไร้ทิศทาง นักลงทุนชะลอการลงทุนเพื่อรอดูผลการเจรจาการค้าระหว่างสี จิ้นผิงและทรัมป์จะได้ผลการเจรจาอย่างไร
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,705 – 1,711 จุด (Filling the gap) ดัชนีตลาดปิดเหนือแนวต้านของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางที่ 1,718 จุด ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,723 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายกว่า 6 หมื่นล้านบาท ขณะที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,766 จุด โดยมีแนวต้านระหว่างทางอยู่ที่ 1,740 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของเส้นแนวโน้มขาลงระยะกลางที่ 1,664 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และดัชนีตลาดกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะซึ่งจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลง แต่ระยะกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,727 – 1,735 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,716 – 1,710 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นพักตัว
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวผันผวน สงครามการค้าและความตึงเครียดในตะวันออกกลางกำลังกลับมาคุกคามบรรยากาศการลงทุนในตลาดหุ้น ดัชนีตลาดปิดที่ 1,721.33 จุด เพิ่มขึ้น 5.33 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.5 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นลบแต่ระยะยาวเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,700 จุด โดยระยะกลางขึ้นไปดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,740 จุด และ 1,820 จุด ตามลำดับ ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 ตลาดหุ้นวอลล์สตรีทปรับตัวลดลงตามแรงกดดันจากดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคและยอดขายบ้านที่ลดลง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นปิดเหนือแนวต้านของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,717 จุด หลังดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,705 – 1,711 จุด (Filling the gap) ขณะที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น จะทำให้ดัชนีตลาดที่อ่อนตัวลงเป็นการอ่อนตัวลงเพื่อปรับตัวขึ้นต่อ โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายการปรับตัวขึ้นอยู่ที่ 1,740 จุด และ 1,820 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของเส้นแนวโน้มขาลงระยะกลางที่ 1,664 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และดัชนีตลาดกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน โดยสัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบ สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นแสดงถึงการปรับตัวลดลง แต่ระยกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,727 – 1,735 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,716 – 1,710 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปรับฐาน
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงหลังดีดตัวขึ้นขานรับปัจจัยบวก แรงขายทำกำไรระยะสั้นกดดัชนีตลาดอ่อนตัวลงปิดที่ 1,716.00 จุด ลดลง 1.14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.17 หมื่นล้านบาท ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายทำกำไรระยะสั้นมีออกมาเป็นระยะ โดยดัชนีตลาดระยะกลางเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 5 ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง นักลงทุนชะลอการซื้อขายเพื่อรอดูผลการเจรจาระหว่างสี จิ้นผิงและทรัมป์ในช่วงปลายสัปดาห์นี้
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำเป็นวันที่สอง แท่งเทียนเกิดเป็น Dark Two Crows ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเพื่อปิดช่องว่างขาขึ้นที่ 1,705 – 1,711 จุด (Filling the gap) และการที่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น จะทำให้ดัชนีตลาดที่อ่อนตัวลงเป็นการอ่อนตัวลงเพื่อปรับตัวขึ้นต่อ โดยดัชนีตลาดมีเป้าหมายการปรับตัวขึ้นอยู่ที่ 1,740 จุด และ 1,820 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของเส้นแนวโน้มขาลงระยะกลางที่ 1,664 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และดัชนีตลาดกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน โดยสัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบ สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นแสดงถึงการปรับตัวลดลง แต่ระยกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,722 – 1,727 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,711 – 1,705 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ร้อนแรง
ดัชนีตลาดหุ้นไทยได้รับอานิสงส์จากการที่ธนาคารกลางสหรัฐ(เฟด) ส่งสัญญาณลดอัตราดอกเบี้ย บวกกับการเมืองภายในประเทศเริ่มนิ่ง หนุนแรงซื้อกลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ส่งผลให้ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,717.14 จุด ทั้งสัปดาห์ดัชนีตลาดปรับตัวเพิ่มขึ้น 44.81 จุด มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละ 7.5 หมื่นล้านบาท ต่างชาติกลับมาเป็นกลุ่มนำซื้อสุทธิ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวขึ้นขานรับธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ส่งสัญญาณลดดอกเบี้ย ขณะที่ปัญหาความตึงเครียดในตะวันออกกลาง ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบถีบตัวสูงขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของเส้นแนวโน้มขาลงระยะกลางที่ 1,664 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น (ii) ที่ 1,599 จุด และดัชนีตลาดกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,820 จุด
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดอ่อนตัวลงปิดเหนือแนวต้านของช่องแนวโน้มขาขึ้นระยะกลางที่ 1,717 จุด แรงขายทำกำไรระยะสั้นเนื่องจากภาวะซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลง แต่เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นด้วยความลาดชันที่เพิ่มขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดยังคงเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ปริมาณการซื้อขายที่หนาแน่นและต่อเนื่อง เป็นปัจจัยหนุนให้ดัชนีตลาดเดินหน้าต่อ
สัญญาณ RSI แม้จะแสดงภาวะซื้อมากเกิน แต่ยังไม่เกิดสัญญาณ Bearish Divergence
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน โดยสัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบ สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นแสดงถึงการปรับตัวลดลง แต่ระยกลางขึ้นไปดัชนียังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สำหรับนักลงทุนต้องการขายเพื่อทำกำไรเป็นรอบ ควรสัญญาณ RSI เกิดสัญญาณ Bearish Divergence จึงนำหุ้นออกขาย
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,727 – 1,735 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,705 – 1,695 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
คงระดับพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของพอร์ต