Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้าน 1,306 จุด
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ดัชนีตลาดปิดที่ 1,301.66 จุด เพิ่มขึ้น 18.98 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (4/5) ปิดตลาดในแดนบวก หลังดัชนีดิ่งลงในช่วงเปิดตลาด แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีเป็นปัจจัยหนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (อาจเป็น Breakaway gap หรือ Exhaustion gap) ดัชนีตลาดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวต้านถัดไปอยู่ที่ 1,306 จุด ดัชนีตลาดเกิดเป็น Star ในเขตซื้อมาก สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ และจะยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดเหนือแนวต้านที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดทรุดตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 969 จุด ดัชนีจะจบคลื่น II ที่ 969 จุด ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,307 – 1,317 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,293 – 1,281 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปัจจัยเสี่ยงระยะสั้น
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆในแดนบวก ตามแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มปตท.แต่กลับมีแรงขายทำกำไรออกมาในหุ้นโรงไฟฟ้าและธนาคาร ดัชนีตลาดปิดที่ 1,282.68 จุด เพิ่มขึ้น 7.69 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาขายสุทธิเล็กน้อย
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (29/4) ปิดตลาดในแดนบวก ตลาดได้รับความหวังจากการผลิตวัคซีนป้องกันโควิด-19 หนุนดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิ่มขึ้น 532 จุด และเฟดยังมีนโยบายคงอัตราดอกเบี้ยไปอีกนาน
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ ขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวต้านถัดไปอยู่ที่ 1,306 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Doji ในเขตซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างในลักษณะจำหน่ายจ่ายแจก (Distribution) สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ และยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,293 – 1,306 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,271 – 1,264 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
จำหน่ายจ่ายแจก
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวออกด้านข้าง ตามแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า และแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคาร ดัชนีตลาดปิดที่ 1,274.99 จุด เพิ่มขึ้น 7.58 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิเล็กน้อยในรอบ 15 วัน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (28/4) ปรับตัวลดลง ดัชนี Nasdaq รูดลง 122 จุด ตามแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่ม FANG
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง (Sideways) ดัชนีตลาดแกว่งตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement เป็นแนวต้านร่วมอยู่ที่ 1,306 จุด ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างในลักษณะจำหน่ายจ่ายแจก (Distribution) ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ และยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,285 – 1,299 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,265 – 1,256 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวต้านทางเทคนิคัล
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ จากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า และแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,267.41 จุด เพิ่มขึ้น 8.63 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 14
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (27/4) ปิดตลาดในแดนบวก ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิ่มขึ้น 358 จุด นักลงทุนขานรับการยกเลิกมาตรการล็อกดาวน์และหันมาเปิดธุรกิจ ขณะที่ราคาน้ำมันดิบ WTI ปรับตัวลดลง 24 เปอร์เซ็นต์ และการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ยังดำเนินต่อไป
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Star ในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน แรงขายที่มีออกมาจะกดดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,200 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,280 – 1,292 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,256 – 1,241 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระวังเปิดสูงปิดต่ำ
แรงขายที่มีออกมาในช่วงบ่าย กดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,258.78 จุด ลดลง 13.75 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.87 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,184 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 13
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (24/4) ปิดตลาดในแดนบวก ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 260 จุด ขานรับราคาน้ำมันดิบที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นและได้รับแรงหนุนจากหุ้นเทคโนโลยี
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Engulfing ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณทางเทคนิคัลที่เริ่มกลับมาเป็นลบ จะกระตุ้นแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (380/1852) ที่ 1,290 จุด หลังจากดัชนีตลาดดิ่งลงเป็นคลื่น II, E เหนือแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 942 จุด หากดัชนีตลาดจบคลื่น II ที่จุดนี้ ดัชนีตลาดจะต้องไม่ปรับตัวลงต่ำกว่า 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน แรงขายที่มีออกมาจะกดดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,200 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,269 – 1,280 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,248 – 1,234 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
สัญญาณซื้อมากเกิน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,272.53 จุด เพิ่มขึ้น 10.72 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 12
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (23/4) ตลาดเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเล็กน้อย เนื่องจากข่าวล้มเหลวการทดลองยาต้านโควิด-19 และยอดขอรับสวัสดิการว่างงานพุ่งขึ้นแตะ 4.4 ล้านราย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างและมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 860 – 870 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 838 – 825 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แนวต้าน 1,300 – 1,306 จุด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก จากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้า ดัชนีตลาดปิดที่ 1,261.81 จุด เพิ่มขึ้น 8.89 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.67 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 11
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (22/4) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 456 จุด หลังราคาน้ำมันดิบเวสต์เท็กซัสปรับเพิ่มขึ้น 20 เปอร์เซ็นต์ หลังจากดิ่งลงในแดนลบ ตลาดยังถูกครอบงำจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวออกด้านข้างและมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,273 – 1,285 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,247 – 1,234 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ราคาน้ำดิบล่วงหน้าติดลบ
ราคาน้ำมันดิบ TWI ล่วงหน้าดิ่งลง ฉุดราคาหุ้นกลุ่มพลังงานในตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง ส่งผลให้ดัชนีดาวโจนส์ประจำวันอังคาร (21/4) ทรุดตัวลง 631 จุด ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,252.92 จุด ลดลง 13.48 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.86 หมื่นล้านบาท ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 10 ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Harami ขาขึ้นในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,267 – 1,281 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,237 – 1,222 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ราคาน้ำมันดิบดิ่งลงติดลบ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (20/4) ปรับตัวลดลง ดาวโจนส์รูดลง 592 จุด ตลาดได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ในสหรัฐ และราคาน้ำมันดิบ WTI ล่วงหน้าทรุดตัวลงติดลบ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยได้รับผลดีจากการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19 ชะลอตัว จนนำไปสู่การเปิดภาคธุรกิจ ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,266.40 จุด เพิ่มขึ้น 27.16 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.7 หมื่นล้านบาท ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขาย ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 9
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 – 1,364 จุด และมีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) อยู่ที่ 1,306 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะกระตุ้นแรงขายออกมาเป็นระยะ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,281 – 1,299 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,251 – 1,236 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ยิ่งสูงยิ่งหนาว
แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,239.24 จุด เพิ่มขึ้น 39.09 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.89 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิออกมาเล็กน้อย
ความหวังในยาและวัคซีนป้องโควิด-19 กระตุ้นความเชื่อมั่นนักลงทุนย่านวอลล์สตรีท ที่จะเห็นการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐ ส่งผลให้ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 704 จุด ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนและมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,267 จุด หลังดัชนีอ่อนตัวลงปิดช่องว่าง (Filling the gap) ที่ 1,184 – 1,150 จุด และมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (1267/969 จุด) อยู่ที่ 1,153 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ จะกระตุ้นแรงขายระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบ ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,253 – 1,267 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,226 – 1,210 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ผลประกอบการ 1Q63
การปรับลดเครดิตพินิจของประเทศไทย กดดันให้เกิดแรงขายออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,200.15 จุด ลดลง 35.95 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 7 ผลประกอบการของหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่เริ่มทยอยประกาศ จะส่งผลลบในด้านจิตวิทยา
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (16/4) ปรับตัวเพิ่มขึ้น หลังทรัมป์ส่งสัญญาณเดินเครื่องภาคธุรกิจ สวนทางกับยอดติดเชื้อโควิด-19 ที่เพิ่มขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวต้าน และมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (1267/969 จุด) อยู่ที่ 1,153 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ จะกระตุ้นแรงขายระยะสั้น ส่งผลให้ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,153 – 1,083 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,150 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,217 – 1,236 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ – จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ทยอยกลับเข้าซื้อหุ้นรายตัว (เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 20 เปอร์เซ็นต์) เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,083 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระวังผลกระทบจากผลประกอบการ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยเผชิญแรงขาย หลังสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ “S&P” ปรับลดมุมมองเศรษฐกิจไทยจาก “บวก” เป็น “เสถียรภาพ” ดัชนีตลาดปิดที่ 1,236.10 จุด ลดลง 20.25 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.9 หมื่นล้านบาท ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (15/4) ปรับตัวลดลง ดาวโจนส์รูดลง 445 จุด หลังยอดค้าปลีกรูดลงและผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนต่ำกว่าเป้า ท่ามกลางการแพร่ระบาดของโควิด-15
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง หลังดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 จุด มีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) ที่ 1,306 จุด และมีแนวต้านทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านร่วม แท่งเทียนเกิดเป็น Star ในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวลงปิดช่องว่างที่ 1,184 – 1,150 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,253 – 1,267 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,220 – 1,207 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ภาวะซื้อมากเกิน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,256.35 จุด เพิ่มขึ้น 19.57 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติเดินหน้าขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 5
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (14/4) ปิดตลาดในแดนบวก Nasdaq ปรับตัวเพิ่มขี้นเกือบ 4% นักลงทุนมองว่าการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 มีแนวโน้มที่ดีขึ้น (แต่จากรายงานพบว่าผู้ติดเชื้อรายใหม่สหรัฐเพิ่มขึ้น 24,215 ราย และยอดผู้เสียชีวิตในรอบ 24 ชั่วโมง 2,284 ราย) สวนทางกับมุมมองของนักลงทุน
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,272 จุด มีแนวต้าน 38.2% Fibonacci Retracement (1852/969 จุด) ที่ 1,306 จุด และมีแนวต้านทางจิตวิทยาอยู่ที่ 1,300 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านร่วม แท่งเทียนเกิดเป็น Star ในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณที่ดัชนีตลาดพักตัวตามมา
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,272 – 1,285 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,241 – 1,228 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แรงขายจากภาวะซื้อมากเกิน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,228.03 จุด เพิ่มขึ้น 17.55 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.37 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ตลาดยังมีความเสี่ยงที่พักตัวลงเนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,184 – 1,249 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านร่วม ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,243 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Shooting Star ในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,184 จุด
ภาวะซื้อมากเกินและตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดจะพักตัวเมื่อปรับตัวเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,243 – 1,255 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,210 – 1,192 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Shooting Star
แรงขายที่มีในช่วงบ่ายฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยที่ปรับตัวขึ้นในช่วงเช้าลงมาปิดที่ 1,210.48 จุด เพิ่มขึ้น 4.71 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.36 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (9/4) ปรับตัวเพิ่มขึ้นขานรับเฟดออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจวงเงิน 2.3 ล้านล้านดอลลาร์สรอ. ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 และตัวเลขการว่างงานที่พุ่งขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่าง (Gap) ที่ 1,184 – 1,249 จุด โดยมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านร่วม ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,243 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Shooting Star ในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,184 จุด
ตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดจะพักตัวเมื่อปรับตัวเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,226 – 1,243 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,195 – 1,180 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นซื้อมากเกิน
แรงขายทำกำไรระยะสั้นที่มีออกมา ส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยพักตัวลงปิดที่ 1,205.77 จุด ลดลง 9.18 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9.3 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกและเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาขายสุทธิเกือบ 8 พันล้านบาท
ดัชนีดาวโจนส์ ปิดตลาดวันพุธ (8/4) ปรับเพิ่มขึ้น 779 จุด ขานรับข่าวเบอร์นี แซนเดอร์ส ถอนตัวจากการแข่งขันเป็นตัวแทนพรรคเข้าชิงประธานาธิบดี และมองว่าการระบาดเชื้อโควิด-19 จะดีขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเหนือแนวรับกรอบล่างของช่องว่างที่ 1,184 จุด (ช่องว่างขาลงอยู่ที่ 1,184 – 1,249) และปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง
ตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดจะพักตัวเมื่อปรับตัวเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก สัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,220 – 1,238 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,183 – 1,162 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นมีโอกาสพักตัว
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (7/4) แกว่งตัวผันผวนเนื่องจากนักลงทุนกลับมากังวลกับการแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้ดัชนีดาวโจนส์ที่ปรับตัวขึ้น 900 จุดในช่วงเช้า ปิดตลาดดัชนีปรับตัวลดลง 26 จุด
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,214.95 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 76.11 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9.87 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิในรอบ 6 วัน
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านกรอบล่างของช่องว่างที่ 1,184 จุด ขึ้นทดสอบแนวต้านของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลง หลังจากดัชนีตลาดแกว่งตัวอยู่ในกรอบสามเหลี่ยมรูป Ascending Triangle ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,306 จุด
ตามหลักการของ Granville ดัชนีตลาดจะพักตัวเมื่อปรับตัวเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลงมาทำจุดต่ำที่ 969 จุด จากที่ได้วิเคราะห์ไว้คลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) ที่ 942 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นอย่างร้อนแรง เมื่อนำจุดสูงที่ 1,852 จุด กับจุดต่ำที่ 969 จุด มาวิเคราะห์แนวต้านจะได้ ดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,306 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,410 จุด และ
61.8% Fibonacci Retracement = 1,515 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก สัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,238 – 1,255 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,199 – 1,183 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ดาวโจนส์ชี้นำในทางบวก
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวขึ้นปิดที่ 1,138.84 จุด เพิ่มขึ้น 0.57 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.97 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกและเริ่มปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 5
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (6/4) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1,627 จุด นักลงทุนเริ่มกลับเข้าซื้อเพื่อดักข่าวดี หลังยอดการติดเชื้อโควิด-19 มีสัญญาณชะลอตัว
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของสามเหลี่ยม Ascending Triangle ที่มีแนวต้านอยู่ที่ 1,130 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,138 จุด ดัชนีตลาดมีจุดสูงเก่าเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,184 จุด เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,197 จุด การเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก สัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,161 – 1,184 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,120 – 1,100 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะทยอยเข้าซื้อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 940 จุด+/- และเกิดสัญญาณ Bullish Divergence
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ราคาน้ำมันหนุนตลาดทุน
แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มปตท. หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,138.27 จุด เพิ่มขึ้น 32.76 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.9 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2 ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (2/4) ตลาดได้รับแรงหนุนจากราคาน้ำมันดิบที่ทะยานขึ้น 20 เปอร์เซ็นต์ ดาวโจนส์บวก 469 จุด หลังทรัมป์เข้าเป็นตัวกลางยุติสงครามราคาน้ำมันดิบระหว่างซาอุดิอาระเบียกับรัสเซีย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสามเหลี่ยมรูป Ascending Triangle ที่มีแนวต้านอยู่ที่ 1,130 จุด ดัชนีตลาดทะลุผ่านแนวต้านขึ้นมาปิดที่ 1,138 จุด และมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,184 จุด เส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,203 จุด การเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,161 – 1,184 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,120 – 1,100 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
โควิด-19 กดดันตลาด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (1/4) ปรับตัวลดลง 4 เปอร์เซ็นต์ ดาวโจนส์ดิ่งลง 973 จุด หลังทรัมป์เตือนการแพร่ระบาดโควิด-19 จะทวีความรุนแรงในช่วง 2 สัปดาห์ข้างหน้า
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,105.51 จุด ลดลง 20.35 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.7 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางแกว่งตัวออกด้านข้างเพื่อปรับฐาน ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสามเหลี่ยมรูป Ascending Triangle ที่มีแนวต้านอยู่ที่ 1,130 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,130 จุด ดัชนีตลาดจะมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,184 จุด และมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,214 จุด การเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,125 – 1,140 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,087 – 1,073 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
เคลื่อนตัวออกด้านข้าง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (31/3) ดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 400 จุด หลังการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ทวีความรุนแรง จนอาจเป็นสาเหตุให้คนสหรัฐเสียชีวิต 100,000 – 240,000 ราย
แรงซื้อเริ่มกลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด เพื่อดักเม็ดเงินจากกองทุน SSF ที่จะเปิดขายในวันที่ 1 เมษายน เป็นวันแรก ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นที่ 1,125.86 จุด เพิ่มขึ้น 38.04 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.7 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,130 – 1,184 จุด สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสามเหลี่ยมรูป Ascending Triangle ที่มีแนวต้านอยู่ที่ 1,130 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,130 จุด ดัชนีตลาดจะมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,184 จุด และมีเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,214 จุด การเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,150 – 1,164 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,108 – 1,091 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวออกด้านข้าง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดในแดนบวก ดาวโจนส์ (30/3) ปรับเพิ่มขึ้น 3 เปอร์เซ็นต์ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ทำให้ทรัมป์ต้องขยายเวลามาตรการเว้นระยะห่างทางสังคมออกไปจนถึงวันที่ 30 เมษายน
แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาดในช่วงบ่าย ส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยลดช่วงลบ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,087.82 จุด ลดลง 11.94 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.1 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน ต่างชาติกลับมาขายสุทธิอีกครั้ง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างภายในกรอบสามเหลี่ยมรูป Ascending Triangle ที่มีแนวต้านอยู่ที่ 1,130 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,130 จุด ดัชนีตลาดจะมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของเส้น Multiple Moving Average แบบ Long – Term (MMA2) ที่เรียงตัวแบบตลาดขาลงเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,220 จุด การเกิดสัญญาณ Convergence ของสัญญาณ MACD Histogram แสดงว่าดัชนีตลาดยังมีทิศทางปรับตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น I,(5),5) ที่ 1,852 จุด ดัชนีมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่น II,E มีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 942 จุด ซึ่งเป็นแนวรับ 61.8% Fibonacci Retracement (คำนวณระหว่าง 380 จุดกับ 1,852 จุด) และมีแนวรับถัดไปอยู่ที่ 843 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 380 จุด กับจุดสูงที่ 1,852 จุด มาวิเคราะห์แนวรับ จะได้แนวรับดังนี้
38.0% Fibonacci Retracement = 1,290 จุด
50.0% Fibonacci Retracement = 1,116 จุด
61.8% Fibonacci Retracement = 942 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,100 – 1,120 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,071 – 1,058 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ได้แนะนำให้ล้างพอร์ตการลงทุน จะกลับเข้าซื้อเมื่อสัญญาณ RSI และ MACD Histogram เกิดสัญญาณ Bullish Divergence ซึ่งเป็นสัญญาณที่แสดงถึงช่วงปลายตลาดขาลง
คำแนะนำ
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายวัน ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ RSI จากกราฟรายวัน เพื่อการลงทุนระยะสั้น
- ในกรณีที่นักลงทุนจะเข้าซื้อ (ทยอย) โดยพิจารณาจากกราฟรายสัปดาห์ ควรดูพิจารณาสัญญาณ Bullish Divergence ของ MACD Histogram จากกราฟรายสัปดาห์ เพื่อการลงทุนระยะกลาง – ยาว
- ในกรณีที่ตลาดเป็น Bear Market มากๆ การเกิดสัญญาณ Bullish Divergence อาจเกิดถึง 3 ยอด (โดยทั่วไปในภาวะที่ตามปกติ สัญญาณ Bullish Divergence ส่วนใหญ่จะเป็นสองยอด)