Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยอ่อนตัวลงปิดที่ 1,350.50 จุด ลดลง 15.31 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.4 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,331 จุด ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ 1,157 ล้านบาท
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (10/7) ตลาดปรับตัวเพิ่มขึ้น ตลาดได้รับแรงหนุนจากหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ส่งผลให้ดัชนี Nasdaq ปรับตัวขึ้นสร้างจุดสูงใหม่ตลอดกาล ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวลงเข้าแนวรับของเส้นแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,351 จุด โดยมีเส้น MMA2 ทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,338 – 1,351 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,338 จุด ดัชนีตลาดจะมีทิศทางปรับตัวลงต่อ โดยมีจุดต่ำเก่าที่ 1,331 จุดเป็นแนวรับ สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น ii) เมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,380 จุด และมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,362 – 1,375 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,338 – 1,325 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ขาดปัจจัยบวก
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ เนื่องจากตลาดขาดปัจจัยหนุน ดัชนีตลาดปิดที่ 1,365.81 จุด เพิ่มขึ้น 3.35 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.26 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเป็นบวก ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ 1,241 ล้านบาท
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (9/7) ตลาดปิดทั้งบวกและลบ ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 361 จุด จากการปรับตัวลดลงของหุ้น Walgreen และ Boeing ดัชนี Nasdaq ปรับตัวขึ้นสร้างจุดสูงใหม่อย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ เหนือแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,338 – 1,351 จุด และมีเส้นแนวโน้มขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,346 จุด ดัชนีตลาดจะมีทิศทางปรับตัวลงต่อหากดัชนีไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,346 จุด ดัชนีตลาดมีจุดสูงเก่าทำหน้าที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,391 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น ii) เมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,380 จุด และมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นเป็นบวก แต่ระยะยาวยังเป็นลบ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,376 – 1,388 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,353 – 1,340 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,337 จุด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาดในช่วงบ่าย ฉุดดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดที่ 1,362.46 จุด ลดลง 10.76 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.6 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,337 จุด ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ 1,211 ล้านบาท
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (9/7) ตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 177 จุด หุ้นกลุ่มเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนตลาด ราคาหุ้น Apple ปรับตัวขึ้นสร้างจุดสูงใหม่ตลอดกาล
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลง หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,391 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวต้าน ดัชนีตลาดมีทิศทางพักตัวลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,337 – 1,350 จุด และมีเส้นแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวรับร่วมอยู่ที่ 1,346 จุด ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดปิดลงต่ำกว่า 1,337 จุด ดัชนีตลาดจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวลง และดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดเหนือ 1,391 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น ii) เมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,380 จุด และมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,346 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,374 – 1,386 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,349 – 1,337 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แรงขายทำกำไรระยะสั้น
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด โดยเฉพาะกลุ่มธนาคารที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้จากแบงก์ชาติ ฉุดดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดที่ 1,373.22 จุด เพิ่มขึ้น 0.95 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.18 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 2
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (7/7) ตลาดปรับตัวลดลงจากแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ดัชนี Nasdaq ดัชนี S&P 500 ปรับตัวลดลงครั้งแรกในรอบ 6 วัน ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 396 จุด ความเชื่อมั่นของนักลงทุนถูกบั่นทอนจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,391 จุด ดัชนีปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่างขาลงที่ 1,382 – 1,396 จุด ดัชนีตลาดมีทิศทางพักตัวลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,336 – 1,349 จุด และมีจุดต่ำเก่าทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,331 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือแนวรับที่ 1,331 จุด ดัชนีตลาดจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวลง และดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวขึ้นต่อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดเหนือ 1,380 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น ii) เมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,380 จุด และมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้น แต่ระยะยาวยังมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,384 – 1,396 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,360 – 1,349 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แรงเหวี่ยงจากตลาดหุ้นนิวยอร์ก
ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆจากแรงซื้อที่มีเข้ามาในช่วงเปิดตลาด ก่อนที่จะเผชิญแรงขายตามมา ดัชนีตลาดปิดที่ 1,372.27 จุด ลดลง 1.86 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.1 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,380 จุด ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิครั้งแรกในรอบ 13 วัน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (6/7) ตลาดปรับตัวขึ้นอย่างร้อนแรง โดยได้รับแรงหนุนจากหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเหนือแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,335 – 1,348 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องว่างขาลงที่ 1,382 – 1,396 จุด และมีจุดต่ำที่ 1,312 จุด เป็นแนวรับ ดัชนีตลาดจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวขึ้นเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,380 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น ii) เมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,380 จุด และมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้น แต่ระยะยาวยังมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,385 – 1,400 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,360 – 1,348 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ระยะสั้นดัชนีตลาดเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระวังแรงขายระยะสั้น
ตลาดหุ้นไทยกลับมาร้อนแรง ตลาดได้รับแรงหนุนจากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มตลาด ดัชนีตลาดปิดที่ 1,374.13 จุด เพิ่มขึ้น 24.69 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.4 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นบวก สถาบันในประเทศเป็นกลุ่มนำซื้อสุทธิ ขณะที่ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 12
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (2/7) ปิดตลาดในแดนบวก ตลาดได้รับแรงหนุนจากตัวเลขการจ้างงานเดือนมิถุนายนดีเกินคาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นปิดสูง หลังดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,333 – 1,346 จุด หลังดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,306 จุด แต่จะมีทิศทางปรับตัวลงหากดัชนีตลาดปิดลงต่ำกว่า 1,306 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของช่องว่างขาลงที่ 1,382 – 1,396 จุด ดัชนีตลาดจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวขึ้นเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,380 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
กรณีที่ดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,380 จุด อาจเป็นสัญญาณคลื่น ii) จบลงที่ 1,306 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้น แต่ระยะยาวยังมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,386 – 1,400 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,362 – 1,349 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ระยะสั้นระวังแรงขายทำกำไร
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ขาดปัจจัยบวก
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาดในช่วงบ่าย หนุนให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,349.44 จุด เพิ่มขึ้น 10.41 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.3 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้น แต่จะเป็นการปรับขึ้นเพื่อปรับฐาน ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 11
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (1/7) ตลาดปิดแบบไร้ทิศทางมีทั้งบวกและลบ ตลาดขานรับข่าววัคซีนโควิด-19 ที่มีสัญญาณบวกในการทดสอบ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆขึ้นทดสอบแนวต้านของเส้น MMA2 ที่ 1,332 – 1,344 จุด ดัชนีตลาดจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวขึ้นเมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,380 จุด และดัชนีจะมีทิศทางปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลงต่ำกว่า 1,312 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์แนวรับตามหลัก Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ 38.2% , 50% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้น แต่ระยะยาวยังมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,360 – 1,370 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,337 – 1,325 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน นักลงทุนควรกลับเข้าทยอยซื้อเมื่อสัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณบวกเป็นรูป W-shape
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
เศรษฐกิจตกต่ำ แต่ดัชนีตลาดหุ้นเพิ่มขึ้น
แรงซื้อเพื่อทำราคาปิดประจำไตรมาส หนุนดัชนีตลาดปรับเพิ่มขึ้น แต่ขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดลดช่วงบวกลงมาปิดที่ 1,339.03 จุด เพิ่มขึ้น 9.27 จุด มูลค่าการซื้อขาย 5.85 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นกลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล แต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลง ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 10
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (30/6) ปิดตลาดในแดนบวก นับเป็นการปิดประจำไตรมาสสองที่ดีที่สุดในรอบกว่า 2 ทศวรรษ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆขึ้นทดสอบแนวต้านของเส้น MMA2 ที่ 1,331 – 1,344 จุด และมีกรอบบนของช่องแนวโน้มขาลงทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,328 จุด และมีจุดต่ำเก่าทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,312 จุด และ 1,306 จุด ตามลำดับ และมีแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (969/1454 จุด) อยู่ที่ 1,269 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์แนวรับตามหลัก Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ 38.2% , 50% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic กลับมาเป็นบวกในเขตขายมากเกิน ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นแต่จะเป็นการปรับตัวขึ้นเพื่อลง ดัชนีตลาดมีแนวรับอยู่ที่ 1,286 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,351 – 1,364 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,328 – 1,313 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน นักลงทุนควรกลับเข้าทยอยซื้อเมื่อสัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณบวกเป็นรูป W-shape
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ตลาดปรับเพิ่มขึ้นสวนทางข่าวลบ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวขึ้นมาปิดในแดนลบเล็กน้อย แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ช่วยให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวลดลงในช่วงเช้ากลับขึ้นมาปิดที่ 1,329.76 จุด ลดลง 0.58 จุด มูลค่าการซื้อขาย 4.88 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,286 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 9
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (29/6) ดัชนีดาวโจนส์พุ่งขึ้น 580 จุด ตลาดได้รับแรงหนุนจากหุ้น Boeing และ Apple ที่ดีดตัวเพิ่มขึ้น นักลงคาดหวังว่าตลาดจะได้รับผลบวกจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2 ที่ 1,331 จุด โดยมีกรอบบนของช่องแนวโน้มขาลงเป็นแนวต้านร่วมอยู่ที่ 1,335 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลชี้ว่าดัชนีมีทิศทางแกว่งตัวลงไปตามช่องแนวโน้มขาลง ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (969/1454 จุด) อยู่ที่ 1,269 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์แนวรับตามหลัก Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ 38.2% , 50% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,286 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,340 – 1,352 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,317 – 1,306 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน นักลงทุนควรกลับเข้าทยอยซื้อเมื่อสัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณบวกเป็นรูป W-shape
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,286 จุด
บรรยากาศการซื้อขายเริ่มซบเซา ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆและปิดลงที่ 1,330.34 จุด เพิ่มขึ้น 4.46 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,286 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 8
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (26/6) ดาวโจนส์ดิ่งลง 730 จุด การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ที่พุ่งขึ้น ทำให้เกิดความกังวลต่อเศรษฐกิจสหรัฐจะได้รับผลกระทบมากกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเข้าหาแนวต้านของเส้น MMA2 ที่ 1,331 จุด โดยมีกรอบบนของช่องแนวโน้มขาลงเป็นแนวต้านร่วมอยู่ที่ 1,350 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลชี้ว่าดัชนีมีทิศทางแกว่งตัวลงไปตามช่องแนวโน้มขาลง ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (969/1454 จุด) อยู่ที่ 1,269 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์แนวรับตามหลัก Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ 38.2% , 50% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และกำลังปรับลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,269 จุด และมีเป้าหมายถัดไปอยู่ที่ 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,286 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,338 – 1,348 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,310 – 1,300 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน นักลงทุนควรกลับเข้าทยอยซื้อเมื่อสัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณบวกเป็นรูป W-shape
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ปรับฐาน
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดปรับตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 1,325 จุด แรงซื้อที่มีเข้ามาในช่วงบ่าบ ช่วยลดช่วงลบ ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,325.88 จุด ลดลง 7.55 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.08 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,286 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (25/6) ดาวโจนส์ปรับตัวเพิ่มขึ้น 299 จุด ตลาดได้รับแรงหนุนจากหุ้นสถาบันการเงิน หลังรัฐบาลกลางผ่อนคลายให้ธนาคารขนาดใหญ่ของสหรัฐสามารถลงทุนในกองทุนร่วมลงทุน (Venture capital) ได้
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงหลุดแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,331 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงแบบมีช่องว่าง (Low Price Gapping Play) ซึ่งเป็นสัญญาณลงต่อเนื่อง (Continuation pattern) ดัชนีตลาดสร้างจุดสูงยกลงต่ำ (Lower High) ทำให้ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาลงและมีแนวรับอยู่ที่ 1,286 จุด ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (969/1454 จุด) อยู่ที่ 1,269 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) โดยการวิเคราะห์แนวรับเป้าหมายด้วย Fibonacci Retracement โดยใช้จุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด จะได้เป้าหมายที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,286 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,338 – 1,348 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,310 – 1,300 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน นักลงทุนควรกลับเข้าทยอยซื้อเมื่อสัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณบวกเป็นรูป W-shape
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,320 จุด
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยทรุดตัวลงปิดที่ 1,333.43 จุด ลดลง 23.00 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.08 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,320 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 6
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (24/6) ดัชนีดาวโจนส์ทรุดตัวลง 710 จุด หลังตัวเลขผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในสหรัฐเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หวั่นการติดเชื้อระลอกใหม่จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสหรัฐมากกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวต้าน ดัชนีตลาดหลุดแนวรับของจุดต่ำเก่าที่ 1,338 จุด และกำลังทดสอบแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,331 จุด ดัชนีตลาดสร้างจุดสูงยกลงต่ำ (Lower High) ทำให้ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาลง ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement (969/1454 จุด) อยู่ที่ 1,269 จุด สัญญาณ DMI เริ่มแสดงทิศทางปรับตัวลง ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) โดยการวิเคราะห์แนวรับเป้าหมายด้วย Fibonacci Retracement โดยใช้จุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด จะได้เป้าหมายที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ สัญญาณ Modified Stochastic เริ่มปรับตัวเข้าเขตขายมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,320 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,348 – 1,362 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,320 – 1,308 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน นักลงทุนควรกลับเข้าทยอยซื้อเมื่อสัญญาณ Modified Stochastic เกิดสัญญาณบวกเป็นรูป W-shape
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทดสอบแนวรับ 1,338 จุด
หลังจากแบงก์ชาติสั่งแบงก์พานิชย์ระงับการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลและห้ามซื้อหุ้นคืน ทำให้หุ้นแบงก์ถูกมองไปในทางลบ แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มแบงก์ ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,352.18 จุด ปรับลดลง 18.64 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.57 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 4
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (22/6) ปิดตลาดในแดนบวก ตลาดได้รับแรงหนุนจากหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี นำโดยหุ้น Apple สวนทางกับยอดผู้ป่วยโควิด-19 ที่มากขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงทดสอบแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,348 – 1,330 จุด โดยมีจุดต่ำเก่าที่ 1,338 จุดเป็นแนวรับร่วม และมีจุดสูงเก่าที่ 1,386 จุดเป็นแนวต้าน กรณีที่ดัชนีตลาดไม่สามารถยืนปิดเหนือ 1,338 จุด ดัชนีตลาดจะปรับลดลงเข้าหาแนวรับ 38.2% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ขณะที่สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) โดยการวิเคราะห์แนวรับเป้าหมายด้วย Fibonacci Retracement โดยใช้จุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด จะได้เป้าหมายที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,367 – 1,380 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,338 – 1,323 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระวังความเสี่ยงจากหุ้นกลุ่มแบงก์
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ เนื่องจากตลาดขาดปัจจัยหนุนและการซื้อขายขาดทิศทาง ดัชนีตลาดปิดที่ 1,370.82 จุด ลดลง 2.16 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.3 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด ต่างชาติขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 3
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (19/6) ปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง นักลงทุนหวั่นการระบาดของโควิด-19 ในสหรัฐรอบสอง หลังยอดติดเชื้อเพิ่มขึ้น ราคาน้ำมันและราคาทองคำปรับเพิ่มขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างต่อเนื่องเป็นวันที่ 4 ดัชนีตลาดยืนเหนือแนวรับของเส้น MMA2 ซึ่งทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,348 – 1,329 จุด และมีกรอบล่างของช่องแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,417 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ขณะที่สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวลงต่อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,338 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) โดยการวิเคราะห์แนวรับเป้าหมายด้วย Fibonacci Retracement โดยใช้จุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด จะได้เป้าหมายที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,380 – 1,393 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,358 – 1,342 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ยังมีปัจจัยเสี่ยง
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆ นักลงทุนชะลอการซื้อขายเพื่อรอดูทิศทางตลาด ดัชนีตลาดปิดที่ 1,372.98 จุด ลดลง 3.20 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.0 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด ต่างชาติขายสุทธิ 4,462 ล้านบาท
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (18/6) ปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง นักลงทุนกังวลถึงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานที่เพิ่มขึ้น แต่มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจยังเป็นปัจจัยบวก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 ดัชนีตลาดยืนเหนือแนวรับของเส้น MMA2 ซึ่งทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,346 – 1,328 จุด และมีกรอบล่างของช่องแนวโน้มขาขึ้นเป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,411 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ขณะที่สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวลงต่อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,338 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับ Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ ดังนี้ แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ Fibonacci ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,338 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,386 – 1,400 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,359 – 1,345 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวเข้าหาแนวรับ 1,326 จุด
แรงซื้อขายที่เข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวผันผวนในกรอบแคบๆ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,376.18 จุด เพิ่มขึ้น 9.05 จุด มูลค่าการซื้อขาย 7.15 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,326 จุด ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (17/6) ปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง ดาวโจนส์และเอสแอนด์พี 500 ปรับตัวลดลง ขณะที่แนสแดคปรับตัวเพิ่มขึ้น นักลงทุนกังวลถึงภาวะเศรษฐกิจและการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 รอบสอง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเหนือแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,344 – 1,326 จุด และมีกรอบล่างของช่องแนวโน้มขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 1,404 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดอยู่ในช่วงปรับฐาน ขณะที่สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวลงต่อเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,338 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับ Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ ดังนี้ แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ Fibonacci ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,326 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,388 – 1,400 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,364 – 1,350 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นผันผวน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มธนาคารและพลังงาน ดันดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,367.13 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 25.14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 6.84 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีความเสี่ยงที่จะปรับตัวลดลง แต่การกลับมาปิดบวกของตลาดหุ้นนิวยอร์กจะส่งผลบวกในเชิงจิตวิทยา ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิเล็กน้อย
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (16/6) ปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ขานรับยอดค้าปลีกที่ดีเกินคาดและสภาพคล่อง จะช่วยให้เศรษฐกิจสหรัฐฟื้นตัวเร็วกว่าที่คาด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวเข้าหาแนวต้านของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,397 จุด หลังดัชนีตลาดพักตัวลงทดสอบแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,341 – 1,324 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ขณะที่สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงสลับกับการพักตัว
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับ Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ ดังนี้ แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ Fibonacci ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,324 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,382 – 1,396 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,353 – 1,338 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวเข้าหาแนวรับที่ 1,322 จุด
แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มพลังงานและธนาคาร ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยทรุดตัวลงปิดที่ 1,341.99 จุด ลดลง 40.57 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.32 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,322 จุด นักลงทุนรายบุคคลเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (15/6) ปิดตลาดในแดนบวก หลังธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ขยายวงเงินกู้ฉุกเฉินให้กับโครงการ "Main Street Lending Program" เพื่อสนับสนุนธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Bearish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวต้าน หลังดัชนีตลาดหลุดแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,384 จุด เป็นสัญญาณยืนยันการเปลี่ยนทิศทางปรับตัวลง ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,322 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดที่ปรับตัวลงสลับกับการพักตัว
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับ Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ ดังนี้ แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น i) ที่ 1,454 จุด และมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ Fibonacci ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,323 จุด และมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ 1,269 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,357 – 1,373 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,326 – 1,315 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
จับตาผลกระทบจากโควิดรอบสอง
แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มพลังงาน แบงก์และโรงไฟฟ้า ฉุดดัชนีตลาดปรับตัวลงต่ำจุดต่ำที่ 1,353 จุด แรงซื้อที่มีเข้ามาช่วงบ่ายลดช่วงลบ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,382.36 จุด ลดลง 14.21 จุด มูลค่า 8.58 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,341 – 1,322 จุด ต่างชาติกลับมาขายสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (12/6) กลับมาปิดในแดนบวก หลังจากนักลงทุนกลับเข้าซื้อหุ้น ขานรับการกลับมาเปิดดำเนินธุรกิจและดัชนีความเชื่อที่เพิ่มขึ้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดทรุดตัวลงไปทำจุดต่ำที่ 1,353 จุด หลุดแนวรับของเส้นแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,387 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวต้าน แรงซื้อที่มีเข้ามาทำให้ดัชนีตลาดเปิดต่ำปิดสูง สัญญาณทางเทคนิคัลที่เป็นลบ จะทำให้ดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่ 1,341 – 1,322 จุด
เมื่อนำจุดต่ำที่ 969 จุด กับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์หาแนวรับ Fibonacci Retracement จะได้แนวรับ ดังนี้ แนวรับ 38.2%, 50.0% และ 61.8% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด ทำให้ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่น i) และมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับ Fibonacci ที่ 1,269 จุด, 1,212 จุด และ 1,154 จุด ตามลำดับ ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii) โดยดัชนีต้องปรับลงไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นของคลื่น i) ที่ 969 (ตามหลักการนับคลื่น)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ แรงขายระยะสั้นจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,340 – 1,322 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,396 – 1,410 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,370 – 1,353 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับฐาน เนื่องจากสัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
หลุด 1,384 จุด เสี่ยง
แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มธนาคาร พลังงานและโรงไฟฟ้า ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,396.77 จุด ลดลง 22.00 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.29 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ดัชนีตลาดจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวลง หากดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด ต่างชาติกลับมาขายสุทธิ นักลงทุนรายบุคคลเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (11/6) ดัชนีดาวโจนส์ทรุดตัวลง 1,861 จุด นักลงทุนกังวลว่าเศรษฐกิจสหรัฐถดถอย ตัวเลขการว่างงานเพิ่ม หากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ระบาดรอบสอง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวลงเข้าหาแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,384 จุด หลังเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Evening Star ดัชนีตลาดจะยืนยันการเปลี่ยนทิศทางปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด และมีเส้น MMA2 เป็นแนวรับถัดไปอยู่ที่ 1,338 จุด
กรณีที่ดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดต่ำกว่า 1,384 จุด จะนำจุดต่ำที่ 969 จุดกับจุดสูงที่ 1,454 จุด มาวิเคราะห์แนวรับของ Fibonacci Retracement ต่อไป
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,454 จุด ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น i) ที่ 1,454 จุด เมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงหลุดแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,384 จุด จากนั้นจะวิเคราะห์แนวรับ Fibonacci Retracement โดยใช้จุดต่ำที่ 969 จุดกับจุดสูงที่ 1,454 จุด ซึ่งเป็นเป้าหมายของคลื่น ii)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ แรงขายระยะสั้นจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,410 – 1,423 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,384 – 1,374 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวลง
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มเป็นลบ
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มแบงก์ หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยกลับมายืนบวก ขณะที่แรงขายในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดลดช่วงบวกลงมาปิดที่ 1,418.77 จุด เพิ่มขึ้น 10.40 จุด มูลค่าการซื้อขายลดลงเหลือ 7.74 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 บาท ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่ 2
ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดแบบไร้ทิศทาง ดาวโจนส์และ S&P 500 ปรับลดลง ขณะที่ Nasdaq ปิดบวกเหนือ 10,000 จุด สัญญาณเศรษฐกิจที่ถดถอย ทำให้เฟดมีนโยบายคงอัตราดอกเบี้ยใกล้ศูนย์ต่อไปอีกระยะ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆเหนือแนวรับ 1,410 จุด หลังแท่งเทียนเกิดเป็น Evening Star ในเขตซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้เกิดแรงออกมา ฉุดดัชนีตลาดพักตัวเข้าหาแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,370 จุด และมีแนวรับของเส้น MMA2 อยู่ที่ 1,310 จุด
ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวลดลงเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่าแนวรับที่ 1,370 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดจบคลื่น II,E ที่ 969 จุด (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของคลื่น i)) ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) โดยดัชนีตลาดยืนปิดเหนือแนว 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,410 จุด และมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 61.8% Fibonacci Retracement ที่ 1,515 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งจะวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement เมื่อดัชนีตลาดมีสัญญาณการจบคลื่น i) โดยคลื่น ii) ที่ปรับตัวลงจะต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นคลื่น i) ที่ 969 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ แรงขายระยะสั้นจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,430 – 1,443 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,407 – 1,394 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Evening Star
แรงขายทำกำไรที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลงปิดที่ 1,408.37 จุด ลดลง 30.29 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.15 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน แรงขายทำกำไรระยะสั้น ฉุดให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 จุด ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ ขณะที่สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (9/6) ปิดแบบไร้ทิศทาง ดาวโจนส์และ S&P 500 ปรับลดลง ขณะที่หุ้นเทคโนโลยีหนุน Nasdaq ปิดบวก นักลงทุนติดตามการประชุมของเฟด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามช่องแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,454 จุด แรงขายที่มีออกมาทำให้ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ แท่งเทียนเกิดเป็น Evening Star ในเขตซื้อมากเกิน สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของช่องแนวโน้มขาขึ้นที่ 1,370 จุด และมีแนวรับของเส้น MMA2 อยู่ที่ 1,310 จุด
ดัชนีตลาดจะยืนยันการปรับตัวลดลงเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่าแนวรับที่ 1,370 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดจบคลื่น II,E ที่ 969 จุด (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของคลื่น i)) ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) โดยดัชนีตลาดยืนปิดเหนือแนว 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,410 จุด และมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 61.8% Fibonacci Retracement ที่ 1,515 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งจะวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement เมื่อดัชนีตลาดมีสัญญาณการจบคลื่น i) โดยคลื่น ii) ที่ปรับตัวลงจะต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นคลื่น i) ที่ 969 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นลบ แรงขายระยะสั้นจะทำให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,420 – 1,433 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,394 – 1,378 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,370 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวขึ้นในเขตซื้อมากเกิน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มพลังงาน หนุนให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยเดินหน้า แต่แรงขายที่มีออกมาในหุ้นแบงก์ สื่อสารและโรงไฟฟ้า ฉุดให้ดัชนีตลาดลดช่วงบวก ดัชนีตลาดปิดที่ 1,438.66 จุด เพิ่มขึ้น 2.96 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.05 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขาย โดยดัชนีตลาดเคลื่อนอยู่ในช่องแนวโน้มขาขึ้น ต่างชาติกลับมาขายสุทธิครั้งแรกในรอบ 7 วัน
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (8/6) กลับร้อนแรงจากตัวเลขการจ้างงานที่แข็งแกร่ง สร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนว่าเศรษฐกิจได้ผ่านพ้นจุดต่ำสุดแล้ว
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับสัญญาณ DMI และเส้น MMA2 ที่ปลายเริ่มเปิดกว้าง ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,454 จุด และปรับตัวลงปิดต่ำ ตามหลังแท่งเทียน Three Advancing White Soldiers ซึ่งเป็นสัญญาณถึงการปรับตัวขึ้นต่อ (Continuation pattern)
อย่างไรก็ดี ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขาย และดัชนีตลาดมีโอกาสปรับตัวลงก่อนที่จะปรับตัวขึ้นต่อ เนื่องจากดัชนีตลาดสร้างจุดต่ำยกสูงและเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดจบคลื่น II,E ที่ 969 จุด (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของคลื่น i)) ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น i) โดยดัชนีตลาดยืนปิดเหนือแนว 50.0% Fibonacci Retracement ที่ 1,410 จุด และมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้าน 61.8% Fibonacci Retracement ที่ 1,515 จุด ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น ii) ซึ่งจะวิเคราะห์แนวรับด้วย Fibonacci Retracement เมื่อดัชนีตลาดมีสัญญาณการจบคลื่น i) โดยคลื่น ii) ที่ปรับตัวลงจะต้องไม่ต่ำกว่าจุดเริ่มต้นคลื่น i) ที่ 969 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI ปรับตัวอยู่ในเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเผชิญแรงขายและมีโอกาสปรับตัวลดลง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,454 – 1,465 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,423 – 1,412 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือ หลีกเลี่ยงการไล่ราคา จับตาผลกระทบหลังมีข่าวว่าแบงก์ชาติจะออกมาตรการเข้าแทรกแซงค่าเงินบาท
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity