Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
พักตัวเพื่อขึ้น
บรรยากาศการลงทุนเป็นไปแบบไร้ทิศทาง แรงขายระยะสั้นส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดที่ 1,575.13 จุด เพิ่มขึ้น 2.08 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.02 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีเผชิญแรงขาย ทำให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวแต่จะเป็นการพักตัวเพื่อขึ้นต่อ เนื่องจากดัชนีตลาดเป็นขาขึ้น
ตลาดหุ้นวอลล์สตรีทประจำวันพฤหัสบดี (11/3) ตลาดปรับตัวเพิ่มขึ้นหลังประธานาธิบดีโจ ไบเดน ลงนามในร่างกฎหมายกระตุ้นเศรษฐกิจวงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯชะลอตัว ลดแรงกดดันว่าเงินเฟ้อจะกลับมาคุกคามเงินเฟ้อ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดสร้างจุดต่ำยกสูงและเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับสัญญาณ DMI ที่แสดงถึงทิศทางขาขึ้น การเรียงตัวของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นและปลายเปิดกว้างขึ้น เป็นสัญญาณตลาดขาขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวเพื่อขึ้นต่อ
จากการทำ Fibonacci Projection ชี้ว่าดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ เมื่อนำจุดเริ่มต้นของคลื่น (i) ที่ 1,388 จุด จุดจบของคลื่น (i) ที่ 1,561 จุด และจุดจบของคลื่น (ii) ที่ 1,476 จุด มาวิเคราะห์เป้าหมายของคลื่น (iii) ด้วยหลักการ Fibonacci Projection จะได้เป้าหมาย 61.8% = 1,584 จุด, 100.0% = 1,650 จุด และ 161.8% = 1,757 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้น ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,584 – 1,597 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,563 – 1,553 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 70 เปอร์เซ็นต์
ค้นหาในไอเดียสำหรับ "oscillator"
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวขึ้นเป้าหมาย 1,584 จุด
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นค้าปลีก พลังงาน หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,573.05 จุด เพิ่มขึ้น 22.46 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.08 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านที่ 1,584 จุด ต่างชาติและสถาบันในประเทศเป็นฝ่ายซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (10/3) ดัชนีโจนส์ดีดตัวเพิ่มขึ้น 460 จุด ขานรับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯปรับตัวลดลง บวกกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบใหม่ที่ออกมาจะหนุนให้เศรษฐกิจสหรัฐฯฟื้นตัว
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,561 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick สัญญาณ DMI แสดงถึงทิศทางการปรับตัวขึ้น และเส้น MMA2 เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น ดัชนีตลาดสร้างจุดต่ำยกสูง ทำให้ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นเริ่มเข้าเขตซื้อมากเกิน จะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวเพื่อขึ้นต่อ
จากการทำ Fibonacci Projection ชี้ว่าดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีปิดเหนือ 953 จุด ทำให้ดัชนีมีแนวโน้มคลื่น (ii) และกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้น ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดเผชิญแรงขายออกมาเป็นระยะ
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,584 – 1,597 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,561 – 1,550 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 70 เปอร์เซ็นต์
EURUSD การวิเคราะห์ประจำวัน 9/3/2021 by TraderTanEURUSD เริ่มยกตัวขึ้นแล้วในวันนี้ขณะวิเคราะห์ หลังจากปรับตัวลงมาตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคมต่อเนื่องจนถึงวันที่ 8 มีนาคม แม้ทางฝั่ง USD จะมีข่าวดีในตลาดแรงงานก็ยังไม่สามารถทำให้ราคาปรับตัวกลับขึ้นไปได้ ราคาปรับตัวลงมาจน Oscillator RSI ลดลงมาที่บริเวณ 30 แล้วก็หยุดอยู่ที่บริเวณนั้นจนจบวัน การที่ค่า RSI ลดลงมาที่ 30 หรือต่ำกว่านั้นเป็นสัญญาณของสภาวะที่กำลังขายมีมากเกินไปจนตลาดเสียสมดุล ซึ่งอาจใช้เป็นจุดเข้า Long (Buy) ได้
การปรับตัวของราคาในช่วงเช้าถึงสายของวันนี้มีความพยายามจะกดตัวลงต่อแต่ไม่สำเร็จจนเริ่มเห็นไส้เทียนที่ด้านล่างของแท่งเทียน ซึ่งก็เป็นสัญญาณว่าอาจมีการปรับตัวขึ้นเช่นกัน แนวต้านที่จะใช้เพื่อยืนยันการปรับตัวขึ้นนี้ได้คือแนวต้าน 1.18836 หากราคาสามารถผ่านจุดนี้ไปได้ภายในสัปดาห์นี้ก็มีโอกาสที่จะปรับตัวขึ้นต่อได้ถึงแนวต้านต่อไปที่ 1.19249
14.00 น. วันนี้จะมีการประกาศดุลการค้าของเยอรมนี (German Trade Balance) ซึ่งจะวัดค่าความแตกต่างในมูลค่าสินค้าที่ได้ส่งออกและนำเข้าในช่วงเดือนนั้น โดยตัวเลขที่มีค่าบวกจะชี้แสดงว่าสินค้าที่ได้ส่งออกนั้นมีจำนวนมากกว่าสินค้าที่นำเข้า
ค่าที่สูงกว่าที่คาดไว้ถือว่าเป็นลักษณะเชิงบวกสำหรับสกุลเงิน EUR ขณะที่ค่าที่ต่ำกว่าที่คาดไว้ถือว่าเป็นลักษณะเชิงลบสำหรับสกุลเงิน EUR
ครั้งนี้มีนักวิเคราะห์ส่วนใหญ่มีความเห็นไปในทางเดียวกันว่าดุลการค้าของเยอรมนีจะเพิ่มขึ้นจากครั้งก่อนที่ 16.1B ไปที่ 16.4B จนถึง 17.9B
ไม่ว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไรเราก็จะได้เห็นการปรับตัวของราคาในช่วงสั้นๆจากผลกระทบของข่าวนี้แน่นอน
แนวรับแนวต้านที่สำคัญ
แนวต้าน 1.20153
แนวต้าน 1.19249
แนวต้าน 1.18836
แนวรับ 1.17706
แนวรับ 1.17109
ทางเลือกในการลงทุน
-ถ้าราคาปิดตัวสูงกว่าแนวต้าน 1.18836 สามารถเข้า Long (Buy) ได้โดยตั้งเป้าหมายกำไรที่แนวต้าน 1.19249
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวขึ้น
ดัชนีตลาดหุ้นไทยอ่อนตัวลงตามแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,561 จุด ดัชนีตลาดปิดที่ 1,543.79 จุด ลดลง 0.35 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.08 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดยังมีโอกาสปรับตัวขึ้น ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิเล็กน้อย
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (8/3) ดาวโจนส์ตัวเพิ่มขึ้นจากแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มพลังงาน แบงก์และค้าปลีก ขณะที่หุ้นกลุ่มเทคโนโลยีเผชิญแรงขายทำกำไรระยะสั้น เนื่องจากราคาหุ้นปรับขึ้นมามาก
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ หลังดัชนีตลาดีดตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,561 จุด กรณีที่ดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือแนวต้านนี้ได้ ดัชนีตลาดจะสร้างจุดต่ำยกสูง และจะเป็นสัญญาณยืนยันการเปลี่ยนทิศทางปรับตัวขึ้น สัญญาณ DMI เริ่มแสดงถึงทิศทางการปรับตัวขึ้น
จากการทำ Fibonacci Projection ชี้ว่าดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีปิดเหนือ 953 จุด ทำให้ดัชนีมีแนวโน้มคลื่น (ii) และกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,553 – 1,561 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,534 – 1,524 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 70 เปอร์เซ็นต์
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทิศทางปรับตัวขึ้น
แรงซื้อที่กลับเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,544.11 จุด เพิ่มขึ้น 10.00 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.04 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,561 จุด ต่างชาติซื้อสุทธิต่อเนื่องเป็นวันที่สอง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (5/3) ดาวโจนส์ปรับตัวลดลงจากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ดัชนีหลักกับมาปิดในแดนบวกหลังตัวเลขการจ้างงานแข็งแกร่งกว่าที่คิด
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปิดบวกเหนือแนวรับของเส้นแนวโน้มขาลง โดยมีเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับร่วม เส้น MMA2 มีปลายเปิดกว้างขึ้น สะท้อนถึงทิศทางการปรับตัวขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,561 จุด
จากการทำ Fibonacci Projection ชี้ว่าดัชนีตลาดมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น ดัชนีปิดเหนือ 953 จุด ทำให้ดัชนีมีแนวโน้มคลื่น (ii) และกำลังปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,584 จุด, 1,650 จุด และ 1,757 จุด ตามลำดับ
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,553 – 1,561 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,534 – 1,524 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มพอร์ตการลงทุนเป็น 70 เปอร์เซ็นต์
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ตลาดหุ้นนิวยอร์กกดดันหุ้นไทย
แรงเทขายทำกำไรระยะสั้น กดดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวลดลงในกรอบแคบๆ ดัชนีปิดที่ 1,534.11 จุด ลดลง 9.29 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.08 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ บรรยากาศการลงทุนจะถูกกดดันจากการดิ่งลงของตลาดหุ้นนิวยอร์ก
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (4/3) ประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) เตือนว่า สหรัฐฯอาจต้องเผชิญเงินเฟ้อหลังเปิดเศรษฐกิจ บวกกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯปรับเพิ่มขึ้น กดดันให้เกิดการเทขายหุ้นตามมา
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน แรงขายทำกำไรระยะสั้นฉุดดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ เหนือแนวรับของเส้นแนวโน้มขาลงที่ 1,520 จุด โดยมีกึ่งกลางลำตัวของ Long Bullish Candlestick เป็นแนวรับ และมีเส้น MMA2 เป็นแนวรับถัดไป สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก และดัชนีตลาดแสดงถึงทิศทางการปรับตัวขึ้น
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นบวก หลังดัชนีตลาดพักตัวจากคลื่น (i) ลงเป็นคลื่น (ii) แบบ (a)-(b)-(c) ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,673 จุด และคลื่น 3) มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด (161.8% Fibonacci Projection)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,543 – 1,552 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,524 – 1,514 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะเข้าซื้อหุ้นพื้นฐานเพิ่ม 10 เปอร์เซ็นต์ พอร์ตการลงทุนจะเพิ่มเป็น 70 เปอร์เซ็นต์
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ค้าปลีก พลังงาน แบงก์หนุนตลาด
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,543.40 จุด เพิ่มขึ้น 40.04 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.18 แสนล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก สถาบันในประเทศยังเป็นกลุ่มนำซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (3/3) ดัชนีหลักๆปรับตัวลดลงจากแรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯปรับเพิ่มขึ้น และตัวเลขการจ้างงานภาคเอกชนต่ำกว่าคาด กดดันตลาดให้เผชิญแรงขาย
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวทะลุผ่านแนวต้านของเส้นแนวโน้มขาขึ้น ปิดที่ 1,543 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Long Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวเป็นแนวรับ มูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้น สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,561 จุด โดยมีเส้น MMA2 ทำหน้าที่เป็นแนวรับ
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นบวก หลังดัชนีตลาดพักตัวจากคลื่น (i) ลงเป็นคลื่น (ii) แบบ (a)-(b)-(c) ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น (iii) ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่ 1,673 จุด และคลื่น 3) มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,973 จุด (161.8% Fibonacci Projection)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,561 – 1,578 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,520 – 1,510 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
หาจังหวะเข้าซื้อหุ้นพื้นฐานเพิ่ม 10 เปอร์เซ็นต์ พอร์ตการลงทุนจะเพิ่มเป็น 70 เปอร์เซ็นต์
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวออกด้านข้าง
ตลาดขาดปัจจัยชี้นำ ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง ดัชนีตลาดปิดที่ 1,503.36 จุด เพิ่มขึ้น 2.44 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.8 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นบวก สถาบันในประเทศกลับมาเป็นฝ่ายซื้อสุทธิ
ตลาดหุ้นนิวยอร์กปรับตัวลดลง แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นแอ๊ปเปิ้ลและเทสลา ฉุดตลาดหุ้นนิวยอร์กพักตัวลง ตลาดฝากความหวังว่าวุฒิสภาสหรัฐฯจะผ่านมาตรการเยียวยาผลกระทบจากโควิดรอบใหม่
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างไปตามช่องแนวโน้มขาลง สัญญา DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีแกว่งตัวออกด้านข้างแบบไร้ทิศทาง ดัชนีจะเปลี่ยนทิศทางปรับตัวขึ้นเมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,520 จุด และดัชนีตลาดจะมีทิศทางปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,487 จุด ระยะสั้นดัชนีตลาดมีแนวโน้มแกว่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 1,476 – 1,531 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางแกว่งตัวออกด้านข้างแบบ (a)-(b)-(c) ลงเป็นคลื่น (2) ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น (2) เมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,531 จุด ก่อนปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,673 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ดัชนีตลาดระยะสั้นแกว่งตัวออกด้านข้างแบบไร้ทิศทาง
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,512 – 1,520 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,493 – 1,485 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
รอจังหวะเข้าซื้อหุ้นเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,455 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ขาดปัจจัยหนุน
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆและปิดที่ 1,500.92 จุด เพิ่มขึ้น 4.14 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.4 หมื่นล้านบาท สัญญาณทางเทคนิคัลขาดทิศทางที่ชัดเจน ต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ ดัชนีตลาดมีทิศทางแกว่งตัวออกด้านข้างในทิศทางลง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (1/3) ทะยานขึ้นปิดในแดนบวก หลังสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯผ่านมาตรการช่วยเหลือโควิดวงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สรอ. และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรปรับตัวลดลง ราคาทองคำปรับตัวลงแตะ 1,722 ดอลลาร์สรอ./อนนซ์
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งแคบๆและเคลื่อนตัวออกด้านข้างในทิศทางลง โดยมีเส้น MMA2 ทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,496 – 1,474 จุด สัญญาณ DMI ขาดทิศทางที่ชัดเจน ทำให้ดัชนีตลาดยังคงแกร่งตัวออกด้านข้างภายในกรอบ 1,455 – 1,531 จุด ดัชนีตลาดจะยืนยันทิศทางปรับตัวขึ้นเมื่อดัชนีตลาดยืนปิดเหนือ 1,531 จุด และจะมีทิศทางปรับตัวลงเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงปิดต่ำกว่า 1,455 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดมีทิศทางแกว่งตัวออกด้านข้างแบบ (a)-(b)-(c) ลงเป็นคลื่น (2) ดัชนีตลาดจะยืนยันการจบคลื่น (2) เมื่อดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,531 จุด ก่อนปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse wave) คลื่น 3 ที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1,673 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,508 – 1,519 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,491 – 1,482 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
รอจังหวะเข้าซื้อหุ้นเมื่อดัชนีตลาดปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,455 จุด
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Doji Pattern
แรงซื้อขายที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวผันผวนในกรอบแคบๆ ดัชนีตลาดปิดที่ 1,547.31 จุด 1.07 แสนล้านบาท นักลงทุนรายบุคคลเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (13/1) แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีหนุนดัชนีเอสแอนด์พี 500 และแนสแดคปรับตัวขึ้นเล็กน้อย ขณะที่ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลงเล็กน้อย นักลงทุนยังกังวลกับปัญหาการเมืองในประเทศที่ส่อเค้ารุนแรง
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (Gap) ขึ้นทำจุดสูงที่ 1,561 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Shooting Star ตามหลัง Star ในเขตซื้อมากเกิน และสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณถึงการปรับตัวลง ระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น (Bull Market) และจะทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,462 – 1,418 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,550 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ RSI และ MACD เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ Modified Stochastic เป็นลบในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัว โดยระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,556 – 1,565 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,538 – 1,528 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 60 เปอร์เซ็นต์
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระวังเปิดสูงปิดต่ำ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวแคบๆจากแรงซื้อแรงขายที่มีออกมา แรงขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาด กดดัชนีตลาดปิดที่ 1,539.85 จุด เพิ่มขึ้น 3.36 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9 หมื่นล้านบาท สถาบันภายในประเทศเป็นกลุ่มนำขายสุทธิ ภาวะซื้อมากเกินและสัญญาณ Bearish Divergence เตือนให้ระวังถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลง ระยะยาวดัชนีเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (12/1) ตลาดปรับตัวขึ้นเล็กน้อย ตลาดหวังว่าวัคซีนโควิดจะช่วยหนุนเศรษฐกิจสหรัฐฯจะฟื้นตัว ท่ามกลางปัญหาการเมืองภายในประเทศ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,550 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Spinning Top และ Star ในเขตซื้อมากเกิน และสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณถึงการปรับตัวลง ระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น (Bull Market) และจะทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,456 – 1,413 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,550 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัว โดยระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,550 – 1,560 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,528 – 1,514 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 60 เปอร์เซ็นต์
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
จับตาผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวผันผวนในกรอบแคบๆ การซื้อขายหุ้นเป็นไปแบบไร้ทิศทาง ดัชนีตลาดปิดที่ 1,536.49 จุด ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 0.05 จุด มูลค่าการซื้อขาย 9.38 หมื่นล้านบาท นักลงทุนรายบุคคลเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวก แต่ภาวะซื้อมากเกินและสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (11/1) ตลาดปรับตัวลดลงหลังอัตราผลตอบพันธบัตรสหรัฐฯปรับขึ้น แนวโน้มดอกเบี้ยที่สูงขึ้น จะทำให้เม็ดเงินลงทุนไหลออกจากตลาดทุนและตลาดทองคำ ด้วยความหวังว่าวัคซีนโควิดจะหนุนให้เศรษฐกิจกลับมาฟื้นตา
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆและปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,550 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Spinning Top ในเขตซื้อมากเกิน และสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณถึงการปรับตัวลง ระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น (Bull Market) และจะทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,481 – 1,408 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,550 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัว โดยระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,548 – 1,560 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,521 – 1,512 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 60 เปอร์เซ็นต์
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ซื้อมากเกิน
ค่าเงินบาทที่มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น หนุนเม็ดเงินลงทุนต่างชาติกลับเข้าลงทุนในดัชนีตลาดหุ้นไทย หนุนดัชนีดีดตัวขึ้นปิดที่ 1,536.44 จุด เพิ่มขึ้น 22.66 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.25 แสนล้านบาท ต่างชาติเป็นกลุ่มเดียวที่ซื้อสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นบวกในเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (8/1) ตลาดปรับตัวขึ้นเล็กน้อย ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด และตัวเลขการจ้างงานที่ซบเซา
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นต่อเนื่องเป็นวันที่สอง และปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,538 จุด ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นแบบมีช่องว่าง (Gap) ซึ่งสะท้อนถึงภาวะซื้อมากเกิน ดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น สอดคล้องกับการเรียงตัวของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้น (Bull Market) ภาวะซื้อมากเกินและสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ระยะสั้นจึงควรระวังดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำ เพราะจะเป็นสัญญาณยืนยันถึงการพักตัวลง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,538 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นบวก โดยสัญญาณ Modified Stochastic ปรับตัวเข้าเขตซื้อมากเกิน ภาวะซื้อมากเกินจะทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัว โดยระยะยาวดัชนีตลาดยังเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,548 – 1,560 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,521 – 1,512 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 60 เปอร์เซ็นต์ เนื่องดัชนีตลาดในรอบที่ผ่านมาปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,425 จุด แนวรับที่ให้ไว้ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ทรัมป์บั่นทอนสหรัฐฯ
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ตามแรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์และกลุ่มพลังงาน ดัชนีตลาดปิดที่ 1,513.78 จุด เพิ่มขึ้น 21.42 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.21 แสนล้านบาท นักลงทุนรายบุคคลเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก แต่สัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพฤหัสบดี (7/1) ตลาดปรับตัวขึ้นปิดในแดนบวก ขานรับข่าวสภาคองเกรสประกาศชัยชนะของไบเดน และพรรคเดโมแครตสามารถกำชัยชนะทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ทำให้สามารถออกกฎหมายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ตลาดยังมีความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของม็อบที่สนับสนุนทรัมป์
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆ เหนือแนวต้านทางเทคนิคัลที่ 1,487 จุด ซึ่งจากนี้ไปจะทำหน้าที่เป็นแนวรับ แท่งเทียนเกิดเป็นสตาร์ในเขตซื้อมากเกิน ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,467 จุด โดยระยะยาวดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,514 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางแกว่งตัวขึ้น ท่ามกลางสัญญาณปลายตลาดขาขึ้น
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,524 – 1,538 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,503 – 1,492 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 60 เปอร์เซ็นต์ เนื่องดัชนีตลาดในรอบที่ผ่านมาปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,425 จุด แนวรับที่ให้ไว้ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
Bearish Divergence
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,514 จุด แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาดเพื่อลดความเสี่ยง ฉุดดัชนีตลาดปรับตัวลงปิดที่ 1,492.36 จุด ลดลง 14.29 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.42 แสนล้านบาท ต่างชาติเป็นกลุ่มนำขายสุทธิ แต่ค่าเงินบาทยังมีทิศทางแข็งค่า สัญญาณทางเทคนิคัลเตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงในระยะสั้น ดัชนีตลาดมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,467 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันพุธ (6/1) ตลาดปิดมีทั้งบวกและลบ ดาวโจนส์และเอสแอนด์พี 500 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่แนสแดคปรับตัวลดลง นักลงทุนมองว่าชัยชนะในการเลือกตั้งส.ว.ของพรรคเดโมแครตในรัฐจอร์เจีย จะทำให้ไบเดนสามารถผลักดันกฎหมายกระตุ้นเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,513 จุด และขึ้นมาทำจุดสูงที่ 1,514 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Harami ขาขึ้น ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นเสี่ยงที่จะเผชิญแรงขาย ส่งผลให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,467 จุด โดยระยะยาวดัชนีตลาดเคลื่อนตัวอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น
จากกราฟรายสัปดาห์ สัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,514 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,467 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,503 – 1,517 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,478 – 1,467 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
พอร์ตการลงทุนอยู่ที่ 60 เปอร์เซ็นต์ เนื่องดัชนีตลาดในรอบที่ผ่านมาปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,425 จุด แนวรับที่ให้ไว้ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นเสี่ยง
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,506.65 จุด เพิ่มขึ้น 38.41 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.15 แสนล้านบาท สถาบันภายในประเทศและบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นกลุ่มที่ซื้อสุทธิ สัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงความเสี่ยงในช่วงปลายตลาดขาขึ้นในระยะสั้น
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (5/1) ตลาดปิดในแดนบวก นักลงทุนหวังว่าเศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวด้วยวัคซีนโควิด-19 ความวุ่นวายทางการเมืองในสหรัฐฯอาจเป็นปัจจัยบั่นทอนการลงทุนในระยะสั้น
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดดีดตัวขึ้นต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวรับ สัญญาณทางเทคนิคัลกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,513 จุด โดยดัชนีตลาดเคลื่อนตัวไปตามแนวโน้มขาขึ้น สัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้นในระยะสั้น
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,513 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ กรณีที่ดัชนีตลาดจบคลื่น 2 ดัชนีตลาดจะปรับตัวขึ้นเป็นคลื่น 3 ซึ่งมีเป้าหมาย 100% Fibonacci Projection อยู่ที่ 1,673 จุด
(แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด)
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวเข้าหาแนวต้านของจุดสูงเก่าที่ 1,513 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,527 – 1,548 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,487 – 1,468 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
เพิ่มการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,428 – 1,400 จุด (รอบนี้ดัชนีตลาดปรับตัวลงทำจุดต่ำที่ 1,425 จุด) ดังนั้น พอร์ตการลงทุนไว้ที่ 60 เปอร์เซ็นต์
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ระยะสั้นผันผวน
แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดบวก ระหว่างการซื้อขาย ดัชนีตลาดดิ่งลงทำจุดต่ำที่ 1,425 จุด ดัชนีท้ายตลาดกลับขึ้นมาปิดที่ 1,468.24 จุด เพิ่มขึ้น 18.89 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.87 หมื่นล้านบาท ต่างชาติและสถาบันภายในประเทศเป็นฝ่ายซื้อสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,420 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันจันทร์ (4/1) ตลาดปรับตัวลดลง นักลงทุนกังวลถึงแนวโน้มการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และความไม่แน่นอนทางการเมืองของสหรัฐฯ กดดันบรรยากาศการลงทุน เม็ดเงินลงทุนเริ่มไหลกลับเข้าตลาดทองคำ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดตลาดลงไปทำจุดต่ำที่ 1,425 จุด แรงซื้อที่มีเข้ามาหนุนดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,468.24 จุด แท่งเทียนเกิดเป็น Bullish Candlestick ที่มีกึ่งกลางลำตัวทำหน้าที่เป็นแนวรับ ระหว่างการซื้อขายดัชนีตลาดปรับตัวลงทดสอบแนวรับของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นและทำหน้าที่เป็นแนวรับอยู่ที่ 1,386 – 1,424 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นแกว่งตัวขึ้นทดสอบแนวต้านของช่องว่างขาลงที่ 1,429 – 1,482 จุด สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นบวก ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวลงหรือปรับฐาน โดยดัชนีตลาดมีแนวรับ 38% Fibonacci Retracement อยู่ที่ 1,388 จุด
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ
แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวหรือปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,479 – 1,491 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,453 – 1,440 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
สวัสดีปีฉลู
แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นกลุ่มนำตลาดช่วงท้ายตลาด ดัชนีตลาดหุ้นไทยปิดส่งท้ายปีเก่าที่ 1,449.35 จุด ทั้งปีดัชนีตลาดปรับลดลง 130 จุด หรือลดลง 8.23 เปอร์เซ็นต์ ต่างชาติเริ่มกลับมาซื้อสุทธิในช่วงปลายปี หลังจากเทขายในช่วงต้นปี ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง สะท้อนถึงแนวโน้มการลงทุนของต่างชาติ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 รอบใหม่ ที่คอยบั่นทอนเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก ตลาดคาดหวังว่าวัคซีนโควิด-19 จะช่วยพลิกฟื้นตลาดหุ้นไทยในปี 2564 ท่ามกลางความไม่แน่นอนการเมืองในประเทศ
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ที่ 1,429 – 1,482 จุด แท่งเทียนเปิดสูงปิดต่ำ สัญญาณทางเทคนิคัลเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับอยู่ที่ 1,382 – 1,421 จุด โดยมีแนวรับ 38% Fibonacci Retracement เป็นแนวรับร่วมอยู่ที่ 1,388 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวลงหรือปรับฐาน
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดแกว่งตัวผันผวนหลังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,512 จุด ดัชนีตลาดมีแนวโน้มปรับตัวขึ้นเป็นคลื่นส่ง (Impulse eave) คลื่น 1 และกำลังพักตัวลงเป็นคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2 ที่มีแนวรับเป้าหมายอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ
แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,420 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,461 – 1,475 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,438 – 1,424 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
ลาก่อนปีชวด
ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวผันผวนในกรอบแคบๆ จากแรงซื้อและแรงขายที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด ดัชนีตลาดปิดที่ 1,461.95 จุด เพิ่มขึ้น 9.28 จุด มูลค่าการซื้อขายลดลงเหลือ 7.7 หมื่นล้านบาท ต่างชาติและสถาบันภายในประเทศกลับมาซื้อสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัว
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันอังคาร (29/12) ตลาดปรับตัวลดลงเล็กน้อย เนื่องจากสภาคองเกรสสหรัฐฯยังมีความเห็นต่างในมาตรการเยียวยาโควิด-19
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดแกว่งตัวแคบๆหลังดัชนีตลาดทรุดตัวลงแรง แท่งเทียนเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Bearish Engulfing สัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI เตือนให้ระวังถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับอยู่ที่ 1,382 – 1,420 จุด โดยมีแนวรับ 38% Fibonacci Retracement เป็นแนวรับร่วมอยู่ที่ 1,388 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดยืนยันการจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2) ที่ 1,187 จุด หลังดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,270 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง คลื่น 1 ที่ 1,503 จุด และจะมีทิศทางพักตัวลงเป็นคลื่นปรับคลื่น 2 ที่มีแนวรับอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ
แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,420 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,471 – 1,482 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,451 – 1,440 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
รถไฟเหาะ
แรงเทขายที่มีออกมาในหุ้นขนาดใหญ่ในช่วงบ่าย เกิดแรงตื่นขายตามมา ฉุดดัชนีตลาดหุ้นไทยดิ่งลงปิดที่ 1,452.67 จุด ลดลง 33.64 จุด มูลค่าการซื้อขาย 1.03 แสนล้านบาท ต่างชาติและสถาบันภายในประเทศเป็นฝ่ายขายสุทธิ กราฟแท่งเทียนแสดงถึงการปรับตัวลง ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,420 จุด
ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดตลาดในแดนบวก ดัชนีปรับตัวขึ้นทำจุดปิดสูงตลาดกาล ตลาดขานรับข่าวทรัมป์ลงนามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบใหม่
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดเปิดสูงปิดต่ำหลังดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นทำจุดสูงที่ 1,512 จุด แท่งเทียนเกิดสัญญาณกลับตัวรูป Bearish Engulfing ตามหลัง Dark Two Crows ร่วมกับการเกิดสัญญาณ Bearish Divergence ของ RSI ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนถึงช่วงปลายตลาดขาขึ้น ดัชนีตลาดมีทิศทางปรับตัวลดลงเข้าหาแนวรับของเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นเป็นแนวรับอยู่ที่ 1,378 – 1,416 จุด โดยมีแนวรับ 38% Fibonacci Retracement เป็นแนวรับร่วมอยู่ที่ 1,388 จุด ดัชนีตลาดระยะสั้นอยู่ในช่วงพักตัวและเคลื่อนตัวออกด้านข้าง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดยืนยันการจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2) ที่ 1,187 จุด หลังดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,270 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง คลื่น 1 ที่ 1,503 จุด และจะมีทิศทางพักตัวลงเป็นคลื่นปรับคลื่น 2 ที่มีแนวรับอยู่ที่ 1,388 จุด, 1,350 จุด และ 1,311 จุดตามลำดับ
แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,512 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,388 จุด, 100% FR = 1,350 จุด และ 161.8% FR = 1,311 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic เป็นบวก ขณะที่สัญญาณ RSI และ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นมีโอกาสพักตัวลงเข้าหาแนวรับที่ 1,420 จุด
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,468 – 1,486 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,435 – 1,420 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity
Por : Technical Analysisตลาดหลักทรัพย์ไทย
แกว่งตัวออกด้านข้าง
สถาบันภายในประเทศกลับมาเป็นกลุ่มนำซื้อสุทธิ แรงซื้อที่มีเข้ามาในหุ้นกลุ่มนำตลาด หนุนดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัวขึ้นปิดที่ 1,486.31 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 34.79 จุด มูลค่าการซื้อขาย 8.8 หมื่นล้านบาท นักลงทุนรายบุคคลเป็นกลุ่มเดียวที่ขายสุทธิ สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นบวก ดัชนีตลาดระยะสั้นมีแนวโน้มแกว่งตัวออกด้านข้าง
ตลาดหุ้นนิวยอร์กประจำวันศุกร์ (25/12) ปิดทำการในวันคริสต์มาส
ปัจจัยทางเทคนิค
จากกราฟรายวัน ดัชนีตลาดปรับตัวขึ้นปิดช่องว่างขาลง (Filling the gap) ที่ 1,429 – 1,482 จุด ต่อเนื่องเป็นวันที่ 2 หลังดัชนีตลาดปรับตัวลดลงทดสอบแนวรับ 38% Fibonacci Retracement ที่ 1,383 จุด โดยมีเส้น MMA2 ที่เรียงตัวแบบตลาดขาขึ้นทำหน้าที่เป็นแนวรับร่วมอยู่ที่ 1,375 – 1,413 จุด ดัชนีตลาดปรับตัวลงและปรับตัวขึ้นแบบมีช่องว่างและมีการปรับตัวปิดช่องว่างโดยสมบูรณ์ เป็นลักษณะของ Common Gap ดัชนีตลาดจึงมีลักษณะแกว่งตัวลงออกด้านข้างต่อไปอีกระยะหนึ่ง สัญญาณทางเทคนิคัลเริ่มกลับมาเป็นบวก แต่สัญญาณการเกิด Bearish Divergence ของ RSI เตือนว่าดัชนีตลาดระยะสั้นยังมีความเสี่ยง
จากกราฟรายสัปดาห์ ดัชนีตลาดยืนยันการจบคลื่นปรับ (Corrective wave) คลื่น 2) ที่ 1,187 จุด หลังดัชนีตลาดสามารถยืนปิดเหนือ 1,270 จุด ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดัชนีตลาดมีแนวโน้มจบคลื่นส่ง คลื่น 1 ที่ 1,503 จุด และจะมีทิศทางพักตัวลงเป็นคลื่นปรับคลื่น 2 ที่มีแนวรับอยู่ที่ 1,383 จุด, 1,346 จุด และ 1,308 จุดตามลำดับ
แนวรับที่ได้เกิดจากนำจุดต่ำที่ 1,187 จุด กับจุดสูงที่ 1,503 จุด มาวิเคราะห์ด้วยหลักการ Fibonacci Retracement
หมายเหตุ 61.8% FR = 1,383 จุด, 100% FR = 1,346 จุด และ 161.8% FR = 1,308 จุด
สัญญาณ Oscillator จากกราฟรายวัน สัญญาณ Modified Stochastic และ RSI กลับมาเป็นบวก ขณะที่สัญญาณ MACD เป็นลบ ทำให้ดัชนีตลาดระยะสั้นปรับตัวขึ้นทางเทคนิคัล ก่อนที่จะพักตัวลงหรือปรับฐาน
ทิศทางตลาดหลักทรัพย์ระยะสั้น มีกรอบแนวต้านอยู่ที่ 1,492 – 1,503 จุด และมีกรอบแนวรับอยู่ที่ 1,475 – 1,463 จุด
กลยุทธ์การลงทุน
ถือพอร์ตการลงทุนไว้ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มการลงทุนอีก 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อดัชนีตลาดปรับลดลงเข้าหาแนวรับที่ 1,428 – 1,400 จุด
#ป.ดัชนี, #บัญชรหุ้น, #วิเคราะห์หุ้น, #Forex, #Commodity