PMI ภาคธุรกิจนิวซีแลนด์จับตาดัชนีพีเอ็มไอภาคธุรกิจของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคธุรกิจของนิวซีแลนด์ประจำเดือนกรกฎาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาอาหารเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนในระยะสั้นในช่วงนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยทางด้านของการประกาศดัชนีภาคธุรกิจของนิวซีแลนด์ประจำเดือนกรกฎาคมไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ครั้งก่อนอยู่ที่ 49.7 และดัชนีราคาอาหารประจำเดือนกรกฎาคมไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์เช่นเดียวกันครั้งก่อนอยู่ที่ 1.2%
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยทางด้านนิวซีแลนด์อาจจะมีความผันผวนในการประกาศในครั้งนี้โดยเฉพาะ NZDUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.64568 แนวต้านที่สองก็คือ 0.64717 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.64946
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.64186 แนวรับที่สองก็คือ 0.63858 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.63502
NZD นิวซีแลนด์ดอลล่าร์
จับตาอัตราการว่างงานของนิวซีแลนด์จับตาอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์ในวันนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 05:45 น. จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญกว่านิวซีแลนด์คือการประกาศอัตราการจ้างงานและอัตราการว่างานประจำไตรมาสที่สองซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนเพียงระยะสั้นต้องจับตาดูว่าในการประกันในครั้งนี้จะเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้โดยวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าการประกาศอัตราการว่างานประจำใจมาสที่สองของนิวซีแลนด์จะประกาศออกมา 3.1% ครั้งก่อน 3.2% รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่สองเทียบไตรมาสต่อไตรมาสนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.1%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.62558 แนวรับที่สองก็คือ 0.62310 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.61967
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.62960 แนวต้านที่สองก็คือ 0.63140 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.63303
จับตาการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ RBNZ อีกครั้งจับตาการประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 09:00 น. จะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์รวมทั้งแถลงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นที่จะต้องติดตามว่าจะมีการแถลงอย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ออกมาว่าการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์นั้นจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 2.00% เป็น 2.50% ประกอบกับอาจจะมีถ้อยแถลงถึงเรื่องมุมมองของการลดการอัดฉีดอาจจะทำให้
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะคู่เงิน NZDJPY จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงกรอบแนวรับแรกก็คือ 83.645 แนวรับที่สองก็คือ 83.473 แนวรับสุดท้ายก็คือ 83.293
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 84.005 แนวต้านที่สองก็คือ 84.580
ดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์นิวซีแลนด์จับตาดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จับตาการประกาศการประกาศดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์ประจำเดือนพฤษภาคมทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 05:45 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยการประกาศนี้นักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่า การประกาศดัชนียอดขายปลีกบัตรอิเล็กทรอนิกส์เทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนพฤษภาคมครั้งก่อนประกาศออกมา 7.0% รวมทั้งเทียบปีต่อปีครั้งก่อนประกาศออกมา 2.1%
การวิเคราะห์ของราคา
โดยที่สกุลเงินนิวซีแลนด์อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ NZDJPY มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 85.594 แนวรับที่สองก็คือ 85.339 แนวรับสุดท้ายก็คือ 84.956
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 86.298 แนวต้านที่สองก็คือ 86.624 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 86.804
การตัดสินใจปรับอัตราดอกเบี้ยของ RBNZจับตาการปรับอัตราดอกเบี้ยของ RBNZ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
เป็นการประกาศที่สำคัญอีกครั้งสำหรับการขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์หรือเรียกว่า RBNZ ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะถ้อยแถลงของประธานธนาคารกลางนิวซีแลนด์ที่จะมีการประกาศในวันนี้เวลา 09:00 น. ตามเวลาประเทศไทย
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 1.50% เป็น 2.00% ต้องจับตาดูว่าหลังจากที่มีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยและมีการแถลงต่อนโยบายทางการเงินสกุลเงินนิวซีแลนด์จะผ่านพ้นอย่างไร
การวิเคราะห์ของราคา
โดยทางด้านของ NZD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ NZDJPY จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 82.052 แนวต้านที่สองก็คือ 82.299 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 82.701
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 81.725 นายรับที่สองก็คือ 81.392 แนวรับสุดท้ายก็คือ 81.266
การประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตนิวซีแลนด์จับตาการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ดัชนีราคาผู้ผลิตของนิวซีแลนด์ที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 05:45 น. อาจจะส่งผลกระทบให้กับสกุลเงินนิวซีแลนด์ไม่มากก็น้อยโดยที่จะมีการประกาศออกมาประจำไตรมาสที่หนึ่ง
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตสำหรับปัจจัยการผลิตประจำใจมาสที่หนึ่งเทียบไตรมาสต่อไตรมาสนั้นนักวิเคราะห์ยังไม่มีการคาดการณ์แต่ครั้งก่อนอยู่ที่ 1.1% และดัชนีราคาผู้ผลิตสำหรับผลิตผลครั้งก่อนประกาศออกมา 1.4%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน NZDUSD ในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.62831 แนวรับที่สองก็คือ 0.62606 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.62385
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.63127 แนวต้านที่สองก็คือ 0.63340 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.63468
การแถลงข่าวของผู้ว่าการธนาคาร RBNZจับตาถ้อยแถลงรายงานความมั่นคง RBNZ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 06:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีถ้อยแถลงของผู้ว่าการธนาคารกลางนิวซีแลนด์หรือเรียกว่า RBNZ พี่จะมีถ้อยแถลงในช่วงเวลาดังกล่าวรวมทั้งจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนและการสอบถามจากสื่อมวลชนถึงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางนิวซีแลนด์แน่นอนความสนใจนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์หลายสำนักเดี๋ยวคงมีการคาดการณ์ออกมาว่าอาจจะมีการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกอบกับอาจจำเป็นที่จะต้องใช้นโยบายทางการเงินแบบกระชับอีกครั้งจึงอาจจำเป็นที่จะต้องมีการจับตาดูในการแถลงในครั้งนี้
การวิเคราะห์ของราคา
โดยในการแถลงในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDJPY อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 83.409 แนวรับที่สองก็คือ 82.714 แนวรับที่สองก็คือ 82.288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 84.036 แนวต้านที่สองก็คือ 84.426 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 84.770
อัตราการว่างานของนิวซีแลนด์ติดตามการประกาศอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่หนึ่งของนิวซีแลนด์และดัชนีอัตราค่าจ้างแรงงานประจำไตรมาสหนึ่งของนิวซีแลนด์ในช่วงเวลาการประกาศในเวลา 05:45 น. ตามเวลาประเทศไทยจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนซึ่งการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่หนึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% เท่ากันกับครั้งก่อนและการประกาศอัตราการว่างานประจำไตรมาส ที่หนึ่งนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศออกมา 3.2% เท่ากันกับครั้งก่อนจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การวิเคราะห์ของราคา
โดยการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ NZDUSD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.64678 แนวต้านที่สองก็คือ 0.64937 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.65378
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.64139 แนวรับที่สองก็คือ 0.64036 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.63849
อัตราเงินเฟ้อนิวซีแลนด์การประกาศอัตราเงินเฟ้อของนิวซีแลนด์ที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของนิวซีแลนด์ ประจำไตรมาสที่หนึ่งทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้จะมีการประกาศออกมาในช่วงเวลา 05:45 น. นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศ ดัชนีอัตราเงินเฟ้อประจำไตรมาสที่หนึ่ง เทียบไตรมาสสวยมากประกาศออกมา 2.0% ครั้งก่อน 1.4% และปีต่อปี 7.1% ครั้งก่อน 5.9%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ NZDUSD มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญไรก็คือ 0.68092 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68272 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68473
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.67816 แนวรับที่สองก็คือ 0.67617 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67448
การตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของ RBNZสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 09:00 น. จะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกอบกับจะมีถ้อยแถลงของนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ซึ่งแน่นอนว่าต่างจับตามองโดยเฉพาะสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างเป็นพิเศษใน ครั้งนี้
คุณสามารถซื้อขาย " NZDUSD " ใน MT5 และ FBSTrader !
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ในครั้งนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยจาก 1.00% เป็น 1.25% รวมทั้งถ้อยแถลงที่อาจจำเป็นที่จะต้องติดตามโดยเฉพาะมุมมองของการใช้นโยบายทางการเงินแบบเข้มงวดมากขึ้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
คู่เงินที่น่าสนใจโดยเฉพาะคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินนิวซีแลนด์ก็คือ NZDUSD ดูเหมือนว่าจำเป็นจะต้องจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ng
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.68463 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68631 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68879
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68132 แนวรับที่สองก็คือ 0.67884 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67764
ยืนยัน GBPNZD กลับตัวเป็นขาลงแล้วหลังจากที่ขึ้นไป 2.05 และไม่ผ่าน จนมีแนวรับล่าสุดที่ 2.022 จากนั้นได้ขึ้นไปที่ 2.048 แล้วทำ Higher Low เรื่อยๆ จนวันนี้ได้ทะลุแนวรับ 2.022 ไปแล้ว
ทั้งนี้ยังต้องเฝ้าดูปัจจัยอื่นๆ เช่น ข่าว NZD, GBP และข่าวนอกตาราง โดยแนวต้านต่อไปคือ 2.006 ถ้าทดสอบหรือทะลุสำเร็จ 2.022 จะเปลี่ยนเป็นแนวรับ
วิเคราะห์เดิมเมื่อต้นเดือน ก.พ.
- SL 2.053 (สูงสุดเดิม)
- จุดเริ่มแนะนำ 2.035-2.048 (รอราคาทะลุลงไปหรือดีดกลับ)
- TP1 2.00650
- TP2 1.97125
- TP3 1.953
GBPNZD ขึ้นระยะสั้นเนื่องจาก GBPNZD ได้ลงอย่างรุนแรงใน 2 วันเพราะ NZD แข็งค่าตั้งแต่ต้นเดือน ก.พ. ทำให้เกิด Oversold ที่ H4, D1 และยังไม่มีการทำ Lower High ตั้งแต่ 2.03
SL : 2 (0%) ถ้าหลุดลงไปคือลงต่อ
จุดเข้า : 2.0023 (23%) โดบประมาณ
TP : ไม่ควรต่ำกว่า 50% ของ Fibonacci ตามภาพ
แนวต้าน : 2.076, 2.01 และ 2.015
แนวรับ : 2, 1.997, 1.993
การประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์การประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์รวมทั้งปริมาณนำเข้าส่งออก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 04:45 น. จะมีการประกาศดุลการค้าของนิวซีแลนด์รวมทั้งปริมาณนำเข้าส่งออกประจำเดือนธันวาคมซึ่งจะเป็นการประกาศทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามการประกาศเลยครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะการประกาศดุลการค้าเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนธันวาคมซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -700M ครั้งก่อนก็คือ -864M อาจจะทำให้ปัจจัยในการคาดการณ์ในครั้งนี้ส่งผลทำให้นิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นประกอบกับจะมีการประกาศปริมาณนำเข้าส่งออกประจำเดือนธันวาคมเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
ในการประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านของคู่เงิน NZDJPY ซึ่งอาจจะจำเป็นที่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 76.423 แนวต้านที่สองก็คือ 76.670 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 76.936
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 76.108 แนวรับที่สองก็คือ 75.757 แนวรับสุดท้ายก็คือ 75.526
นิวซีแลนด์พบผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอนในชุมชนรายแรกของประเทศนิวซีแลนด์พบผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอนในชุมชนรายแรกของประเทศ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
กระทรวงสาธารณสุขนิวซีแลนด์รายงานว่า นิวซีแลนด์พบผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอนรายแรกในชุมชน
กระทรวงสาธารณสุขระบุว่า ผู้ติดเชื้อรายดังกล่าวเดินทางจากสหราชอาณาจักรมาถึงนิวซีแลนด์เมื่อวันที่ 16 ธ.ค. และได้รับการฉีดวัคซีนชนิด mRNA ครบโดสแล้ว โดยในระหว่างการกักตัว 7 วันแรก เขามีผลตรวจเชื้อเป็นลบทั้งหมด และเพิ่งมีผลตรวจออกมาเป็นบวกในวันที่ 9 หลังเดินทางมาถึง
การคาดหวังในครั้งนี้?
แถลงการณ์เสริมว่า ผู้ติดเชื้อรายดังกล่าวอยู่ในเมืองโอ๊คแลนด์ในระหว่างวันที่ 26-27 ธ.ค. แต่มั่นใจว่าบุคคลดังกล่าวมีอัตราการแพร่เชื้อต่ำ
ทั้งนี้ นิวซีแลนด์ยังไม่เคยพบผู้ติดเชื้อโอมิครอนในชุมชนมาก่อน แต่พบผู้ติดเชื้อ 17 รายในสถานที่กักตัวที่รัฐจัดให้
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนระยะสั้นดังนั้นคู่เงิน NZDUSD อาจจะมีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญได้ก็คือ 0.68088 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68237 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68325
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.67894 แนวรับที่สองก็คือ 0.67769 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67624
NZD/USD : พักตัพักตัวระยะสั้นสกุลเงินนิวซีแลนด์อาจจะมีการพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่ยังคงมีการพักตัวเพราะค่าเงินหยวนและสกุลเงินออสเตรเลียมีการพักตัวดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.68273 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68565 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68728
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68029 แนวรับที่สองก็คือ 0.67926 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67738
NZDUSD ประจำวันที่ 2/12/64NZDUSD ประจำวันที่ 2/12/64
H4
- RSI : Sideway
- Sto : Overbought
- เทรน ขาลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
M30
- RSI : Hidden divergence ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
M15
- RSI : ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Sto : Super Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
NZDUSD 29-11-64NZDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : D-
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
NZD/JPY : ปัจจัยทางเทคนิคอาจย่อตัวลงต่อเนื่องสกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 78.745 แนวรับที่สองก็คือ 78.427 แนวรับสุดท้ายก็คือ 78.068
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 79.297 แนวต้านที่สองก็คือ 79.423 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 79.558
ผู้นำเยอรมันกดดัน LockDown เยอรมันนีผู้นำเยอรมันนีกดดันล็อคดาวน์ในเยอรมันนีหลังผู้ที่เสียชีวิตทะลุ 100,000
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
วิกฤตการณ์โควิด-19 ของเยอรมนียังคงเขย่าประเทศอย่างต่อเนื่องด้วยข่าวร้ายเมื่อวันพฤหัสบดีว่ายอดผู้เสียชีวิตตอนนี้ทะลุ 100,000 รายแล้ว
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลผสมชุดใหม่ของประเทศกำลังต่อต้านการปิดเมืองในขณะนี้
เยอรมนีรายงานผู้ป่วยโควิดรายใหม่จำนวนมากในวันพฤหัสบดี โดยมีผู้ติดเชื้อรายใหม่มากกว่า 75,000 รายในช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา (และเพิ่มขึ้นจาก 66,884 รายในวันพุธ) ในขณะที่ยอดผู้เสียชีวิตพุ่งถึง 100,119 ราย หลังจากมีผู้เสียชีวิตจากไวรัสเพิ่ม 351 รายในช่วงก่อนหน้า วัน.
เจ้าหน้าที่ของรัฐจับตาดูกรณีที่เพิ่มขึ้นด้วยความตื่นตระหนกมาหลายสัปดาห์แล้ว และรายงานของนายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคิลที่ลาออก ได้กดดันให้ล็อกดาวน์เป็นเวลา 2 สัปดาห์ระหว่างการประชุมเมื่อวันอังคารกับรัฐบาลพันธมิตรที่กำลังจะเข้ามาของประเทศ
ตามรายงานของหนังสือพิมพ์บิลด์ พันธมิตรรัฐบาลใหม่ของพรรคโซเชียลเดโมแครตและกรีนส์ที่เอนซ้ายและพรรคเดโมแครตเสรีที่ทำธุรกิจโปร ได้ต่อต้านแนวคิดนี้ โดยเลือกที่จะรอและดูว่าข้อจำกัดด้านโควิดที่เข้มงวดยิ่งขึ้นที่ประกาศเมื่อสัปดาห์ที่แล้วจะช่วยได้หรือไม่ การติดเชื้อ
ขณะที่ Merkel เสนอให้ล็อกดาวน์ เริ่มในวันพฤหัสบดีนี้ ซึ่งจะเห็นร้านค้า บาร์ และร้านอาหารปิดตัวลง แนวคิดนี้ถูกปฏิเสธโดยรัฐบาลที่เข้ามาใหม่ ซึ่งกล่าวว่า จะถูกตีความโดยสาธารณชนว่าเป็น "กลอุบายทางการเมืองที่ไม่ดี" โดย รัฐบาลเก่าและใหม่ Bild รายงานเมื่อวันพุธ
การคาดหวังในครั้งนี้?
CNBC ติดต่อกับรัฐบาลกลางเพื่อขอความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงานของ Bild และได้รับแจ้งว่า “รัฐบาลเยอรมันไม่ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการรายงานข่าวของสื่อ
“อย่างไรก็ตาม รัฐบาลชี้ไปที่คำพูดของ Steffen Seibert หัวหน้าโฆษกของ Merkel เมื่อวันพุธ โดยเขาไม่ได้ปฏิเสธหรือยืนยันว่า Merkel ได้ผลักดันให้ล็อกดาวน์หรือไม่ โดยระบุว่าการสนทนาระหว่าง Merkel และผู้นำพันธมิตรเป็นความลับ แต่เขาบอกว่าเธอ ได้กล่าวถึงแรงโน้มถ่วงของสถานการณ์
“ในการประชุมเมื่อวานนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวกับหัวหน้าพันธมิตรสัญญาณไฟจราจรอย่างชัดเจนว่าสถานการณ์ร้ายแรงมากอย่างที่เธอเห็น ดราม่าชัดๆ เรากำลังเข้าสู่ภาวะฉุกเฉินอย่างที่ไม่เคยมีในประเทศนี้ โรงพยาบาลต่างๆ เต็มอย่างรวดเร็ว เตียงผู้ป่วยวิกฤตฟรีและเจ้าหน้าที่ดูแลผู้ป่วยหนักที่พร้อมให้บริการกำลังขาดแคลนมากขึ้น” ไซเบิร์ตกล่าว
“งานตอนนี้คือทำสิ่งที่จำเป็นเพื่อเบรกและทำลายคลื่นลูกที่สี่นี้ให้เร็วที่สุด ดังที่ฉันได้กล่าวไปแล้ว นายกรัฐมนตรีได้อธิบายอย่างชัดเจนต่อหัวหน้าพันธมิตรในอนาคตว่าสถานการณ์จะร้ายแรง”
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนและอาจจะทำให้คู่เงิน EURNZD มีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.63881 แนวต้านที่สองก็คือ 1.64367 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.65053
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.63171 แนวรับที่สองก็คือ 1.62745 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.62202
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
NZD/JPY : ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงสกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลง
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการแข็งค่าขึ้นของสกุลดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 80.812 แนวรับที่สองก็คือ 80.639 แนวรับสุดท้ายก็คือ 80.305
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 81.209 แนวต้านที่สองก็คือ 81.520 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 81.899
จับตาอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์อัตราการว่างานของอยู่ที่นั่นประจำไตรมาสที่สามอาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานและอัตราการมีส่วนร่วมรวมทั้งอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์ประจำไตรมาสที่สามซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 04:45 น. ของวันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 ดังนั้นปัจจัยนี้อาจจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างมากเพราะมีความเป็นไปได้ที่อาจจะสร้างความผันผวนให้กับค่าเงินนิวซีแลนด์
การคาดหวังในครั้งนี้?
ปัจจัยในการสร้างความผันผวนในครั้งนี้ต้องจับตาดูอย่างมากโดยเฉพาะอัตราการว่างานของอยู่ที่นั่นประจำไตรมาสที่สามโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.9% ครั้งก่อน 4.0% และการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่สามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.4% ครั้งก่อน 1.0% ซึ่งถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะค่าเงิน NZDUSD ที่มีความผันผวนจากการประกาศปัจจัยนี้ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71230 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71397 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71507
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70776 แนวรับที่สองก็คือ 0.70540 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70226