NZD/USD : พักตัพักตัวระยะสั้นสกุลเงินนิวซีแลนด์อาจจะมีการพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่ยังคงมีการพักตัวเพราะค่าเงินหยวนและสกุลเงินออสเตรเลียมีการพักตัวดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.68273 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68565 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68728
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68029 แนวรับที่สองก็คือ 0.67926 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67738
NZD (ดอลลาร์นิวซีแลนด์)
NZDUSD ประจำวันที่ 2/12/64NZDUSD ประจำวันที่ 2/12/64
H4
- RSI : Sideway
- Sto : Overbought
- เทรน ขาลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
M30
- RSI : Hidden divergence ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาขึ้น
M15
- RSI : ขาขึ้น
- MACD : Divergence ขาลง
- Sto : Oversold
- เทรน ขาลง
M5
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Sto : Super Oversold
- เทรน ขาลง
สรุป : ลงและกลับตัวขึ้นที่ zone
NZDUSD 29-11-64NZDUSD 29-11-64
H4
- RSI : ขาลง
- MACD : -
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
H1
- RSI : Sideway
- MACD : D-
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : sideway
- MACD : -
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นไปกลับตัวด้านบน
M5
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Suoer sto ขาขึ้น
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
NZD/JPY : ปัจจัยทางเทคนิคอาจย่อตัวลงต่อเนื่องสกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 78.745 แนวรับที่สองก็คือ 78.427 แนวรับสุดท้ายก็คือ 78.068
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 79.297 แนวต้านที่สองก็คือ 79.423 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 79.558
ผู้นำเยอรมันกดดัน LockDown เยอรมันนีผู้นำเยอรมันนีกดดันล็อคดาวน์ในเยอรมันนีหลังผู้ที่เสียชีวิตทะลุ 100,000
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
วิกฤตการณ์โควิด-19 ของเยอรมนียังคงเขย่าประเทศอย่างต่อเนื่องด้วยข่าวร้ายเมื่อวันพฤหัสบดีว่ายอดผู้เสียชีวิตตอนนี้ทะลุ 100,000 รายแล้ว
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลผสมชุดใหม่ของประเทศกำลังต่อต้านการปิดเมืองในขณะนี้
เยอรมนีรายงานผู้ป่วยโควิดรายใหม่จำนวนมากในวันพฤหัสบดี โดยมีผู้ติดเชื้อรายใหม่มากกว่า 75,000 รายในช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา (และเพิ่มขึ้นจาก 66,884 รายในวันพุธ) ในขณะที่ยอดผู้เสียชีวิตพุ่งถึง 100,119 ราย หลังจากมีผู้เสียชีวิตจากไวรัสเพิ่ม 351 รายในช่วงก่อนหน้า วัน.
เจ้าหน้าที่ของรัฐจับตาดูกรณีที่เพิ่มขึ้นด้วยความตื่นตระหนกมาหลายสัปดาห์แล้ว และรายงานของนายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคิลที่ลาออก ได้กดดันให้ล็อกดาวน์เป็นเวลา 2 สัปดาห์ระหว่างการประชุมเมื่อวันอังคารกับรัฐบาลพันธมิตรที่กำลังจะเข้ามาของประเทศ
ตามรายงานของหนังสือพิมพ์บิลด์ พันธมิตรรัฐบาลใหม่ของพรรคโซเชียลเดโมแครตและกรีนส์ที่เอนซ้ายและพรรคเดโมแครตเสรีที่ทำธุรกิจโปร ได้ต่อต้านแนวคิดนี้ โดยเลือกที่จะรอและดูว่าข้อจำกัดด้านโควิดที่เข้มงวดยิ่งขึ้นที่ประกาศเมื่อสัปดาห์ที่แล้วจะช่วยได้หรือไม่ การติดเชื้อ
ขณะที่ Merkel เสนอให้ล็อกดาวน์ เริ่มในวันพฤหัสบดีนี้ ซึ่งจะเห็นร้านค้า บาร์ และร้านอาหารปิดตัวลง แนวคิดนี้ถูกปฏิเสธโดยรัฐบาลที่เข้ามาใหม่ ซึ่งกล่าวว่า จะถูกตีความโดยสาธารณชนว่าเป็น "กลอุบายทางการเมืองที่ไม่ดี" โดย รัฐบาลเก่าและใหม่ Bild รายงานเมื่อวันพุธ
การคาดหวังในครั้งนี้?
CNBC ติดต่อกับรัฐบาลกลางเพื่อขอความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงานของ Bild และได้รับแจ้งว่า “รัฐบาลเยอรมันไม่ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการรายงานข่าวของสื่อ
“อย่างไรก็ตาม รัฐบาลชี้ไปที่คำพูดของ Steffen Seibert หัวหน้าโฆษกของ Merkel เมื่อวันพุธ โดยเขาไม่ได้ปฏิเสธหรือยืนยันว่า Merkel ได้ผลักดันให้ล็อกดาวน์หรือไม่ โดยระบุว่าการสนทนาระหว่าง Merkel และผู้นำพันธมิตรเป็นความลับ แต่เขาบอกว่าเธอ ได้กล่าวถึงแรงโน้มถ่วงของสถานการณ์
“ในการประชุมเมื่อวานนี้ นายกรัฐมนตรีกล่าวกับหัวหน้าพันธมิตรสัญญาณไฟจราจรอย่างชัดเจนว่าสถานการณ์ร้ายแรงมากอย่างที่เธอเห็น ดราม่าชัดๆ เรากำลังเข้าสู่ภาวะฉุกเฉินอย่างที่ไม่เคยมีในประเทศนี้ โรงพยาบาลต่างๆ เต็มอย่างรวดเร็ว เตียงผู้ป่วยวิกฤตฟรีและเจ้าหน้าที่ดูแลผู้ป่วยหนักที่พร้อมให้บริการกำลังขาดแคลนมากขึ้น” ไซเบิร์ตกล่าว
“งานตอนนี้คือทำสิ่งที่จำเป็นเพื่อเบรกและทำลายคลื่นลูกที่สี่นี้ให้เร็วที่สุด ดังที่ฉันได้กล่าวไปแล้ว นายกรัฐมนตรีได้อธิบายอย่างชัดเจนต่อหัวหน้าพันธมิตรในอนาคตว่าสถานการณ์จะร้ายแรง”
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนและอาจจะทำให้คู่เงิน EURNZD มีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.63881 แนวต้านที่สองก็คือ 1.64367 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.65053
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.63171 แนวรับที่สองก็คือ 1.62745 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.62202
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
NZD/USD : จะขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยในระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวขึ้น ในระยะสั้นเช่นเดียวกันดังนั้นถ้ามีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71309 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71446 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71672
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71150 แนวรับที่สองก็คือ 0.71011 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70742
NZD/JPY : ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงสกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลง
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการแข็งค่าขึ้นของสกุลดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 80.812 แนวรับที่สองก็คือ 80.639 แนวรับสุดท้ายก็คือ 80.305
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 81.209 แนวต้านที่สองก็คือ 81.520 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 81.899
จับตาอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์อัตราการว่างานของอยู่ที่นั่นประจำไตรมาสที่สามอาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินผันผวน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานและอัตราการมีส่วนร่วมรวมทั้งอัตราการว่างานของนิวซีแลนด์ประจำไตรมาสที่สามซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 04:45 น. ของวันที่ 3 พฤศจิกายน 2021 ดังนั้นปัจจัยนี้อาจจำเป็นจะต้องจับตาดูอย่างมากเพราะมีความเป็นไปได้ที่อาจจะสร้างความผันผวนให้กับค่าเงินนิวซีแลนด์
การคาดหวังในครั้งนี้?
ปัจจัยในการสร้างความผันผวนในครั้งนี้ต้องจับตาดูอย่างมากโดยเฉพาะอัตราการว่างานของอยู่ที่นั่นประจำไตรมาสที่สามโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.9% ครั้งก่อน 4.0% และการเปลี่ยนแปลงในการจ้างงานประจำไตรมาสที่สามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.4% ครั้งก่อน 1.0% ซึ่งถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะค่าเงิน NZDUSD ที่มีความผันผวนจากการประกาศปัจจัยนี้ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.71230 แนวต้านที่สองก็คือ 0.71397 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.71507
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70776 แนวรับที่สองก็คือ 0.70540 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70226
NZD/JPY H1 For 3th week of Oct 2021เป็นการคาดการณ์เฉยๆครับ ท่านไหนมีความคิดที่แตกต่างไปหรือสิ่งที่ผมทำผิดพลาดไปได้โปรดชี้แนะ เนื่องจากเป็นมือใหม่ครับ การแนะนำของท่านจะช่วยพัฒนทักษะของผม ขอบคุณครับ
RBNZ คาดหวังปรับขึ้นดอกเบี้ยสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระดับต่ำสุดเกือบสามเดือนในวันนี้เนื่องจากในส่วนของในประเทศนิวซีแลนด์ระบุ ผู้ที่ติดเชื้อ โควิด-19รายแรกนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ซึ่ง ส่งผลทำให้รัฐบาลประกาศด้วยกันล็อคดาวน์ระยะสั้น
โดยค่าเงินอ่อนค่าลงอย่างรวดเร็วในการเข้าซื้อขายในตลาดเอเชียโดยมีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องซึ่งนายกรัฐมนตรีได้กล่าวว่าเมืองโอ๊คแลนด์ซึ่งเป็นเมืองที่มีการรายงานผู้ติดเชื้อ โควิด-19 จะเข้าสู่การล็อกดาวในเวลาเจ็ดวันขณะที่นิวซีแลนด์โดยรวมจะมีการล็อกดาวทั้งหมดเป็นเวลาสามวัน
อย่างไรก็ตามธนาคารกลางนิวซีแลนด์ก็จะมีการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอยู่ที่และในวันที่ 18 สิงหาคม 2021 ซึ่งอาจจะเป็นประเทศแรกในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วขึ้นอัตราดอกเบี้ยหลังจากที่เกิดการระบาดของไวรัส โควิด-19
ซึ่งในส่วนของธนาคารกลางนิวซีแลนด์อาจจะดำเนินการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในวันนั้นกล่าวแต่คำแนะนำที่มาพร้อมกับการดำเนินการในครั้งนี้อาจจะมีแนวโน้มที่มีการปรับขึ้นอีกเล็กน้อยซึ่งอาจจะมีการยืดหยุ่นความเสี่ยงในการรับมือกับผู้ติดเชื้อ โควิด-19 อีกครั้ง
การคาดหวังในครั้งนี้?
การคาดหวังในครั้งนี้อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นเนื่องจากว่าผู้ที่ติดเชื้อ โควิด-19 ของนิวซีแลนด์มีการติดเชื้อเกิดขึ้นต้องจับตาดูว่าจะมีการติดเชื้อมากขึ้นหรือไม่และในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลกระทบอะไรกับสกุลเงินนิวซีแลนด์มากน้อยแค่ไหน
การวิเคราะห์ของราคา
สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องโดยหลังจากที่มีการรายงานผู้ที่ติดเชื้อ โควิด-19 คู่เงิน NZDUSD มีการปรับตัวร่วงลงถึง 1.4% ประกอบกับสกุลเงินดอลล่าร์มีการแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดต้องจับตาดู ในการประกาศนโยบายทางการเงินและอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้จะส่งผลทำให้มีความผันผวนหรือไม่จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญในระยะสั้น
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.69140 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.68965 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68808
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69493 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69728 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70139
USD อ่อนค่าหลัง FED แถลงสกุลเงินดอลล่าร์อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ ประธาน FED แถลงเมื่อวานที่ผ่านมา
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จากการที่ประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาได้มีการแถลงนโยบายทางการเงินเมื่อคืนวันพุธที่ผ่านมาส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงโดยเนื้อความสำคัญยังคงไม่มีการส่งสัญญาณในการลดการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้
ประกอบกับมีการตอบคำถามจากผู้สื่อข่าวที่มีการถามในการแถลงในครั้งนี้โดยเนื้อความของผู้สื่อข่าวที่มีการถามที่มีใจความสำคัญก็คือจะมีโอกาสในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือไม่ซึ่งประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาได้มีการตอบคำถามนี้อย่างน่าสนใจว่า
" ในการขึ้นอัตราดอกเบี้ยจำเป็นที่จะต้องมีการหยุดการอัดฉีดเม็ดเงินให้เป็นศูนย์ถึงจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยได้ " ดังนั้นนักลงทุนจึงตีความจากการตอบคำถามในครั้งนี้ว่ามีความเป็นไปได้น้อยมากที่อาจจะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยในเร็ววันนี้เพราะยังมีการอัดฉีดเม็ดเงินอย่างต่อเนื่อง
และอีกหนึ่งคำถามที่สำคัญอย่างมากก็คือตราสาร MBS จะมีความสำคัญหรือไม่เนื่องจากในส่วนของ ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยยังคงมีจึงมีคำถามจากผู้สื่อข่าวถามว่าตราสารหนี้ยังคงมีความสำคัญหรือไม่ประธานธนาคารกลางสหรัฐได้มีคำตอบออกมาและเนื้อความว่า "ตราสารนี้ยังคงมีความจำเป็นอยู่เนื่องจากว่าปัญหาของภาคที่อยู่อาศัยยังคงมีอยู่และยังคงต้องปรึกษาและอภิปรายกันครั้งถัดไปสำหรับตราสารนี้ " จากคำตอบนี้ทำให้นักลงทุนยังคงคาดการณ์ว่าอาจจำเป็นจะต้องมีการเข้าซื้อตราสาร MBS จนกว่าราคาที่อยู่อาศัยและปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยจะน้อยลง
การคาดหวังในครั้งนี้?
ดังนั้นจากปัจจัยในการตอบคำถามของประธานธนาคารกลางสหรัฐทำให้นักลงทุนในหลายสำนักเริ่มตั้งข้อสังเกตว่าการอัดฉีดเม็ดเงินในครั้งนี้อาจจะยังคงอาทิตย์เม็ดเงินอย่างต่อเนื่องและในส่วนของการขึ้นอัตราดอกเบี้ยยังคงไม่ขึ้นอัตราดอกเบี้ยในปีถัดไปแน่นอนจึงทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งปัจจัยในรอบวันทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง -0.36% ในรอบวันและดูเหมือนว่าอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องนักลงทุนยังคงมีการคาดการณ์ว่าสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะลงไปถึงแนวรับสำคัญที่ 91.51 ดังนั้นถ้ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องจะสะท้อนให้เห็นถึงคู่เงินอื่นที่มีการเทียบกับดอลล่าร์ดีดตัวขึ้น
ซึ่งในส่วนของ NZDUSD ได้มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในรอบวันมีการขยับตัวขึ้นถึง +0.73% และอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70186 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70274 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0770402
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.69874 แนวรับที่สองก็คือ 0.69718 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69522
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ NZDUSD : ยังคงต้องเฝ้าจับตามองสกุลเงินนิวซีแลนด์อย่างมากเพราะจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้แต่ในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศดัชนี PCE วันศุกร์นี้เพราะอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนจึงควรติดตามอย่างมาก
RBNZ กับการคาดการณ์ในอนาคตคำแถลงนโยบายทางการเงินของ RBNZ พร้อมการแถลงข่าว
ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2021 จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์รวมทั้งมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางนิวซีแลนด์ประกอบกับในช่วงเวลา 10:00 น. จะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางนิวซีแลนด์ซึ่งจะมีการคาดการณ์ของไว้หลายสำนักว่าในวันดังกล่าวการคาดการณ์ในการแถลงการณ์นั้น จะออกมาในทิศทางไหนอย่างไรเรามาดูการคาดการณ์ในระยะสั้น
Goldman Sachs ได้มีการคาดการณ์ว่าในส่วนของ RBNZ จะมีการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมที่ 0.25% และคาดว่าจะมีการปรับปรุงการคาดการณ์เศรษฐกิจโดยการสำรวจของรอยเตอร์มีนักวิเคราะห์ที่สำรวจทั้งหมด 12 คนว่าธนาคารจะถือ OCR ที่ต่ำที่สุดเป็นประวัติการรวมทั้งรอยเตอร์เพิ่มความเห็นว่าไม่มีธนาคารกลางใดที่จะต้องคุมเข้มนโยบายก่อนเวลาอันควร รวมทั้งอัตราการว่างานยังคงอยู่ในระดับคงที่น่าจะอยู่ที่ 4% ซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องลงต่ำกว่า 4% นั้นแต่ในส่วนของการกดดันด้านค่าจ้างอาจจะมีการเพิ่มมากขึ้น
ในส่วนของ Westpac ไม่คาดว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปจนถึงต้นปี 2024 ถึงแม้ว่าในส่วนของการซื้อพันธบัตรจะเริ่มปรับตัวลดลงและสิ้นสุดลงก่อนหน้านั้น
สิ่งที่ต้องระวังของ Goldman Sachs เกี่ยวกับการคาดการณ์ของ RBNZ ซึ่งเป็นจุดสำคัญของการแถลงการณ์ในครั้งนี้ก็คือ Goldman Sachs ได้มีการคาดการณ์ว่าอาจจะมีการปรับแก้ไขในการคาดการณ์ของอัตราการว่างานให้ต่ำลงเพื่อรักษาคำแนะนำในปัจจุบันโดยที่ Goldman Sachs มีการคาดการณ์ในการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ RBNZ ในไตรมาสที่หนึ่งในปี 2024
ซึ่งถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ของ Goldman Sachs อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องด้วย RBNZ มีมุมมองเศรษฐกิจเชิงบวกในอนาคตถึงแม้ว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในต้นปี 2024 ก็ตาม
ในมุมมองของ NZD/USD ยังคงอาจจำเป็นจะต้องมีทิศทางขาขึ้นจากการแถลงของ RBNZ ซึ่งจากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ของ Goldman Sachs ดังนั้นปัจจัยที่จะส่งผลทำให้มีการขยับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินนิวซีแลนด์ต้องติดตามการแถลงโดยที่กรอบแนวต้านของคู่เงินนี้เป็นกรอบแนวต้านที่สำคัญอย่างมาก
ถ้าสามารถทะลุและขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องกรอบแนวต้านที่หนึ่งก็คือ 0.72665 กรอบแนวต้านที่สองก็คือ 0.72830 กรอบแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.73028
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71970 แนวรับที่สองก็คือ 0.71539 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71282
สิ่งที่ต้องจับตามองและเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากก็คือ : สกุลเงินหยวนที่ยังคงมีความผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับสกุลเงินดอลล่าร์ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวอ่อนค่าลงสกุลเงินหยวนจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกดดัน ทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันแต่ถ้ามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะทำให้หยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันดังนั้นติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/CAD : ยกตัวขึ้นระยะสั้นสกุลเงินแคนาดาอ่อนค่าลงระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการร่วงลงของทิศทางของราคาน้ำมันพร้อมทั้งดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงมีทิศทางแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยจากการแข็งค่าของสกุลเงินหยวนทำให้คู่เงินนี้มีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.84799 แนวต้านที่สองก็คือ 0.87649 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.87829
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.87280 แนวรับที่สองก็คือ 0.87119 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.86930
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่จำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดาติดตามทิศทางราคาน้ำมันอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/JPY : ขยับตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น เล็กน้อยประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 78.812 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 787923 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 79.135
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 78.626 แนวรับที่สองก็คือ 78.484 แนวรับสุดท้ายก็คือ 78.347
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่ยังคงต้องติดตามปัจจัยการประกาศตัวเลขที่สำคัญในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของ สกุลเงินเยนต้องติดตามปัจจัยของตลาดหุ้น Nikkei ระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/CAD : มีการปรับตัวร่วงลงอีกครั้งสกุลเงินแคนาดาแข็งค่าขึ้นอีกครั้ง
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการพักตัวจากการพักตัวของสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการขยับตัวขึ้นของทิศทางราคาน้ำมันและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์จึงทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลง ระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.87824 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.87702 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.87556
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.87990 แนวต้านที่สองก็คือ 0.88153 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.88262
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยหนุนอย่างต่อเนื่องประกอบกับที่ส่วนของสกุลเงินแคนาดาจำเป็นต้องติดตามทิศทางของราคาน้ำมันในระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/USD : จะฟื้นตัวขึ้นได้อีกครั้งหรือไม่สกุลเงินนิวซีแลนด์จะมีการแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์ เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงิน นิวซีแลนด์โดนกดดันจากสกุลเงินเยนให้มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น ทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.72229 แนวต้านที่สองก็คือ 0.72355 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.72511
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.71859 แนวรับที่สองก็คือ 0.71744 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.71538
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากกับสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/JPY : ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้น เนื่องจากในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงเพลงระยะสั้นเท่านั้นและมีการวิ่งอยู่ในกรอบที่ควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกก็คือ 77.464 แนวรับที่สองก็คือ 77.313 แนวรับสุดท้ายก็คือ 77.084
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 77.616 แนวต้านที่สองก็คือ 77.815 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 77.988
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยบางปัจจัยที่ยังคงต้องติดตามทั้งสกุลเงินหยวนและสกุลเงินออสเตรเลีย ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/USD : เริ่มมีการขยับตัวสูงขึ้นสกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นจากการกดดันของดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นแต่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 0.70445 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.70528 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70652
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70285 แนวรับที่สองก็คือ 0.70157 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70040
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ติดตามการประมูลพันธบัตรอายุ 10 ปีและการเปิดตลาดสหรัฐอเมริกาในค่ำคืนนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/CAD : ยังคงยกตัวระยะสั้นสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงมีการแข็งค่าระยะสั้น
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.88720 แนวต้านที่สองก็คือ 0.88953 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.89059
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.88345 แนวรับที่สองก็คือ 0.88203 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.88055
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้อง ติดตามในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามทั้งสกุลเงินออสเตรเลียและในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดาจำเป็นจะต้องติดตามทิศทางราคาน้ำมันและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
NZD/CAD : เริ่มปรับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินแคนาดาเริ่มปรับตัวอ่อนค่าลง
สกุลเงินนิวซีแลนด์เทียบกับสกุลเงินแคนาดาในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินนิวซีแลนด์เริ่มมีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินแคนาดามีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.88455 แนวต้านที่สองก็คือ 0.88721 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.89097
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.88061 แนวรับที่สองก็คือ 0.88748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.87529
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากสกุลเงินออสเตรเลียและสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินแคนาดายังคงจำเป็นจะต้องติดตามทิศทางราคาน้ำมันและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ NZD/CAD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด