GBPCHF โอกาสร่วงลงอย่างมีสูง 14/08/2023GBPCHF ยังคงมีโอกาสร่วงลงสูงในเชิงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องทางด้านของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นดังนั้นปัจจัยหนุนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมี
ในรอบวันมีการปรับตัวร่วงลง -0.09% จากการผันผวนและแข็งค่าของสกุลเงินฟรังก์สวิสดังนั้นถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องอาจจะเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้คู่เงินนี้อาจจะไปถึงแนวรับสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นไม่สามารถทะลุ 1.11366 ขึ้นไปได้ควรเปิดสถานะขายระหว่าง 1.11366 ลงมาถึง 1.11121 เป็นการเปิดสถานะขายที่ควรสนใจอย่างมากและทำด้วยกันทะลุแนวรับสำคัญนี้ก็ไปได้อาจจะไปถึงแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.10824
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นควรตัดขาดทุนที่ตำแหน่งที่ 1.11366 เท่านั้นเป็นตำแหน่งที่สุดท้ายที่ควรที่จะต้องจับตาดูอย่างมาก
ในสัปดาห์นี้ติดตามการประกาศตัวเลขของสหราชอาณาจักรเกี่ยวเนื่องกับตัวเลขสำคัญหลายตัวเลขของตัวเลขเศรษฐกิจซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
GBP-CHF
เงินเฟ้อสหราชอาณาจักรแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปีอัตราเงินเฟ้อของสหราชอาณาจักรพุ่งแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปีที่ 9% เนื่องจากราคาอาหารและพลังงานพุ่งสูงขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
อัตราเงินเฟ้อของสหราชอาณาจักรพุ่งขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปีที่ 9% ในเดือนเมษายน เนื่องจากราคาอาหารและพลังงานพุ่งสูงขึ้น ตัวเลขอย่างเป็นทางการเปิดเผยเมื่อวันพุธ ส่งผลให้วิกฤตค่าครองชีพของประเทศทวีความรุนแรงขึ้น
ราคาผู้บริโภคเพิ่มขึ้น 2.5% เมื่อเทียบเป็นรายเดือน ซึ่งต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้เพียงเล็กน้อยว่าจะเพิ่มขึ้น 2.6% ในการสำรวจความคิดเห็นของนักเศรษฐศาสตร์ของ Reuters ซึ่งคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น 9.1% ต่อปีเช่นกัน
ดัชนีราคาผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น 9% สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มบันทึกในรูปแบบปัจจุบันในปี 1989 แซงหน้าการเพิ่มขึ้น 8.4% ต่อปีในเดือนมีนาคม 1992 และดีกว่า 7% ในเดือนมีนาคมของปีนี้ สำนักงานสถิติแห่งชาติของสหราชอาณาจักรยังกล่าวด้วยว่าการประมาณการดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าอัตราเงินเฟ้อจะสูงขึ้นในช่วง "ประมาณปี 2525"
การคาดหวังในครั้งนี้?
ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน หน่วยงานควบคุมพลังงานของสหราชอาณาจักรได้เพิ่มขีดจำกัดราคาพลังงานในครัวเรือนขึ้น 54% ตามราคาพลังงานขายส่งที่พุ่งสูงขึ้น ซึ่งรวมถึงราคาก๊าซโลกที่พุ่งสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ หน่วยงานกำกับดูแล Ofgem ไม่ได้ตัดสิทธิ์การเพิ่มขีด จำกัด เพิ่มเติมในการทบทวนเป็นระยะในปีนี้
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์ผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ GBPCHF จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.20600 แนวรับที่สองก็คือ 1.21315 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.20853
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22244 แนวต้านที่สองก็คือ 1.22805 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23445
จับตาการกล่าวสุนทรพจน์ของผู้ว่า BOEจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในงานอีเวนท์ออนไลน์ที่จัดโดย TheCityUK
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในงานอีเวนท์ออนไลน์ที่จัดโดย TheCityUK ซึ่งจะเป็นการกล่าวสุนทรพจน์ของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษในช่วงเวลา 16:05 น. ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูถ้อยแถลงในการ กล่าวสุนทรพจน์ในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการกล่าวสุนทรพจน์งานอีเวนท์ออนไลน์ของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษยังคงให้ความสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะนักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างยังคงต้องเฝ้าจับตาดูว่าจะมีการแถลงหรือจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ไปถึงเรื่องนโยบายทางการเงินหรือไม่โดยเฉพาะการที่อาจจะต้องเฝ้าจับตา ดูว่าจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินไปยังการขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งต่อไปหรือไม่หรือในการกำหนดนโยบายทางการเงินอย่างไรซึ่งปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การวิเคราะห์ของราคา
โดยที่ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนอย่างมากจึงควรติดตามว่า GBPCHF มีกรอบแนวรับแนวต้านอย่างไร
ซึ่งถ้าเกิดว่าค่าเงินปอนด์มีความผันผวนและมีการแข็งค่าขึ้นคู่เงินนี้อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25144 และสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.25304 และ 1.25395 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.25504
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.24911 แนวรับที่สองก็คือ 1.24755 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24626
GBP ส่งผลกับค่าเงินปอนด์การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษส่งผลกับค่าเงินปอนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 13:00 น. จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษโดยที่จะมีการประกาศทั้ง ปีต่อปีและเดือนต่อเดือนนักลงทุนยังคงจับตาดูว่าการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษจะส่งผลให้กับสกุลเงินปอนด์หรือไม่อย่างไรก็ดีมีการประกาศดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมด้วยเช่นเดียวกันซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการผันผวนของดัชนีจีดีพีนั้นนักวิเคราะห์ยังคงมีความคาดการณ์ในบางมุมแต่ในส่วนของดัชนีจีดีพีเทียบเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ 0.8% ประกอบกับดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมของปีต่อปีของอังกฤษครั้งก่อน 22.2% ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 0.2% รวมทั้งดุลการค้าของอังกฤษประจำเดือน กรกฎาคมด้วยเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยของสกุลเงินปอนด์จะส่งผลให้กับหลายคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPCHF โดยมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวดังนั้นอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นถ้ามีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวก'
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27244 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27537 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27760
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26910 แนวรับที่สองก็คือ 1.26605 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26518
GBP/CHF : ปัจจัยเชิงเทคนิคขยับตัวสกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ดูเหมือนมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์เริ่มฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อย
GBPCHF จากปัจจัยสองปัจจัยที่เป็นปัจจัยหนุนทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นโดยในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.33% และอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นปัจจัยทางเทคนิคที่อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นนั้นมีความเป็นไปได้มาก
โดยกรอบที่สำคัญที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25803 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26078 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26239
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25511 แนวรับที่สองก็คือ 1.25302 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24968
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากที่จำเป็นจะต้องติดตามก็คือการประชุมที่แจ็คสันโฮโดยนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินฟังสวิตมีความผันผวนจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้ออังกฤษประกาศวันนี้วันที่ 5 สิงหาคม 2021 มีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของอังกฤษ
ในวันที่ 5 สิงหาคม 2021 ในช่วงเวลา 15:30 น. จะมีการประกาศแบบนี้ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างของอังกฤษหรือเรียกว่า Construction PMI ซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนกรกฎาคมโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 64.0 ครั้งก่อน 66.3 ถ้าประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
อย่างไรก็ดีการประกาศนี้จะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ GBPCHF ซึ่งคู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นดังนั้นทางการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะส่งผลทำให้ขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.26169 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26458 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26561
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25941 แนวรับที่สองก็คือ 1.25801 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.25685
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : โดยอย่างไรก็ตามจะมีการประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประกอบกับจะมีการประกาศปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษดังนั้นจับตาดูอย่างใกล้ชิดในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ยังทรงตัวสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงทรงตัว
ในส่วนของสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการพักตัวและถึงแม้ว่าจะมีปัจจัยทั้งสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษที่มีการพูดถึงนโยบายทางการเงินประกอบกับการประกาศตัวเลขของอังกฤษก็ไม่ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในการแข็งค่าหรืออ่อนค่า ซึ่งในส่วนของอังกฤษยังคงต้องจับตามองดูการเปิดประเทศของอังกฤษด้วยเช่นเดียวกันดังนั้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวและยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ
โดยในส่วนของสกุลเงิน GBPCHF ยังคงมีการพักตัวและมีการปรับตัวย่อตัวลงเล็กน้อยหลังจากที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.27510 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.27319 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27191
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28007 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28108 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28305
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูปัจจัยภายนอกและภายในประกอบกับในสัปดาห์นี้การประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษยังคงไม่มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญดังนั้นปัจจัยที่จะต้องติดตามสกุลเงินปอนด์อย่างต่อเนื่องก็คือในส่วนของการแถลงเกี่ยวเนื่องกับ โควิด-19 จึงต้องจับตาดูเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาการประกาศปรับดอก BOEการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในวันพฤหัสที่จะถึงนี้
ในวันที่ 24 มิถุนายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ รวมทั้งจะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินในครั้งนี้โดยที่อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเงินในเชิงระยะสั้นดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและอาจจะมีการแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน GBPCHF อาจจะมีความผันผวนในวันพรุ่งนี้ดังนั้นในช่วงนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจากปัจจัยของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28516 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28802 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.29329
แต่มีการขยับตัวร่วงลงเมื่อไหร่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยที่แนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.28083 แนวรับที่สองก็คือ 1.27788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27562
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยปัจจัยเสี่ยงที่น่าจับตามองก็คือยังคงเป็นการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษหรือ MPC รอดูว่าจะมีการประกาศรายงานการประชุมอย่างไรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามดัชนียอดขายปลีกวันศุกร์นี้การประกาศที่สำคัญของอังกฤษจะมีความสำคัญกับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
สกุลเงินปอนด์ยังคงรอติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของ อังกฤษซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนพฤษภาคมโดยนักลงทุนได้มีการคาดการณ์ออกมา น้อยกว่าครั้งก่อนอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน GBPCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้อาจจะมีความผันผวนที่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27800 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28086
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27436 แนวรับที่สองก็คือ 1.27192 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : ในส่วนของทั้งสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความ ผันผวนและในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีปัจจัยที่จะต้องจับตามองไม่ว่าจะเป็นทั้งตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์หรือแม้กระทั่งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษต้องจับตามองในวันศุกร์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : พักตัวระยะสั้น อีกครั้งสกุลเงินปอนด์พักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27215 แนวรับที่สองก็คือ 1.26891 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26620
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27472 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27664 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27871
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงตัวเลขผู้ที่ติดเชื้อของอังกฤษประกอบกับติดตามปัจจัยในการปิดประเทศอีกครั้งในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : จะมีการย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงโดยในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26908 แนวรับที่สองก็คือ 1.26729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26555
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27140 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27289 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27410
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยภายในรวมทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญและการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : ยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินปอนด์พักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงพักตัวเช่นเดียวกันหลังจากที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ยังคงมีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกในระยะสั้นก็คือ 1.27906 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28098 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28523
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27671 แนวรับที่สองก็คือ 1.27466 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27267
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะมีความผันผวนในการประกาศตัวเลขที่สำคัญในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะจดจำตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : จะสามารถขยับตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะสามารถแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น ในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27388 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27679 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27894
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26837 แนวรับที่สองก็คือ 1.26469 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26286
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ที่ยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นฟิวเจอร์ในระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่
GBP/CHF : ยังคงมีโอกาสอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์มีโอกาสร่วงลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในหลายชั่วโมงที่ผ่านมาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27347 แนวรับที่สองก็คือ 1.26997 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26774
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27892 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28327 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28804
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่จำเป็นจะเลิกตามประเทศหนุนในระยะสั้นและระยะกลางจากปัจจัยภายในประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : อาจมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์มีการแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากปัจจัยจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ที่มีการปรับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.29378 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.29729 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.29886
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.28789 แนวรับที่สองก็คือ 1.28373 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.28093
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะยังมีผลกับทุกคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : ยังมีโอกาสขยับขึ้นต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์ยังคงมีโอกาสขยับตัวขึ้นต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการแข็งค่าขึ้นบ้างเล็กน้อยแต่ในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้าเกิดมีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.24871 แนวต้านที่สองก็คือ 1.25112 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.25829
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.24331 แนวรอบที่สองก็คือ 1.24052 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.23888
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะมีความผันผวนในปัจจัยภายในประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : ขยับขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะแข็งค่าหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อยเท่านั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.23349 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23449 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23552
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.23142 แนวรับที่สองก็คือ 1.23003 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.22801
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์เพราะยังคงมีความผันผวนในปัจจัยภายในประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : พักตัวระยะสั้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่มีการขยับตัวสูงขึ้นในหลายวันที่ผ่านมาซึ่งในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องรอประเทศวันที่สำคัญประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องคอยติดตามในมุมมองของตลาดหุ้นที่อาจยังคงมีการพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22814 แนวต้านที่สองก็คือ 1.22930
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.22647 แนวรับที่สองก็คือ 1.22526 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.22454
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยหนุนรไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของการประกาศอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในวันพฤหัสที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เ
GBP/CHF : ย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินฟรังก์สวิสแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวในระยะสั้นรอปัจจัยหนุนที่สำคัญแต่ในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการกดดันมาจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ที่มีการปรับตัวร่วงลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.21582 แนวรับที่สองก็คือ 1.21432 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.21180
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.21762 แนวต้านที่สองก็คือ 1.21867 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.22015
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินฟรังก์สวิสเพราะจะมีความผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากถึงเรื่องการใช้มาตรการเข้มข้นกับมาตรการ โควิด-19 ในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : มีโอกาสขยับขึ้นหรือไม่สกุลเงินปอนด์จะแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการอ่อนค่าลงในระยะสั้นเช่นเดียวกันจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นถึงระยะกลางจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.21535 แนวต้านที่สองก็คือ 1.21726 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.21850
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.21288 แนวรับที่สองก็คือ 1.21074 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.20775
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะมีความผันผวนในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่องในวันนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : มีการย่อตัวลงเล็กน้อยสกุลเงินปอนด์โดนกดดันเล็กน้อย
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการย่อตัวลงหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการผันผวนเพียงเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.20848 แนวรับที่สองก็คือ 1.20599 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.20450
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.21103 แนวต้านที่สองก็คือ 1.21267 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.21523
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์หนึ่งจะมีความผันผวนไม่ว่าจะเป็นทั้งมาตรการผ่อนคลายถึงเรื่อง โควิด-19 ของสหราชอาณาจักรหรือประกอบกับในส่วนของการเจรจากันระหว่างยุโรปและอังกฤษที่เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นจึงส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนอย่างมากจึงควรติดตามในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นสกุลเงินปอนด์ยังคงรอปัจจัยหนุนที่สำคัญ
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการขยับตัวพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ สกุลเงินปอนด์ถึงแม้ว่าจะมีการปรับตัวย่อตัวลงแต่ในส่วนของตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ยังคงกดดันสกุลเงินฟรังก์สวิสให้มีการผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับสกุลเงินปอนด์จึงทำให้คู่เงินนี้มีการพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.19360 ลงมาได้สองแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19233 เป็นแนวรับที่สองและแนวรับที่สามก็คือ 1.19139
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.19842 แนวต้านที่สองก็คือ 1.19948 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20434
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามในส่วนของปัจจัยหนุนจากการ LockDown ของสหราชอาณาจักรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่อง
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด