GBPAUD เริ่มร่วงลงอีกครั้ง 30/08/2023GBPAUD สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการอ่อนค่าของค่าเงินดอลล่าร์อย่างเห็นได้ชัดดังนั้นติดตามปัจจัยหนุนสำคัญในวันนี้
โดยในรอบวันยังคงมีความผันผวนระยะสั้นแต่ในหลายวันที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลงหลังจากที่ค่าเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง และค่าเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างเห็นได้ชัดดังนั้นจับตาดูปัจจัยหนุนสำคัญ
ถ้าไม่สามารถฟื้นตัวขึ้นทะลุกรอบแนวต้านสำคัญที่ 1.95457 คือไปได้ควรเปิดสถานะขายในระยะระหว่าง 1.95457 ลงมาถึง 1.94959 และถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับสุดท้ายที่ยังคงจะต้องตัดทำกำไรก็คือ 1.92720 เป็นตำแหน่งสุดท้ายที่ควรที่จะต้องติดตามอย่างมาก
แต่ถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นตำแหน่งที่ควรตัดขาดทุนก็คือ 1.95457 หรือทำไมสุดท้ายก็คือ 1.96408
ติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศตัวเลขในช่วงเวลา 19:30 น. เพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนจากการผันผวนของค่าเงินดอลล่าร์
Gbp-aud
GBPAUD จะฟื้นตัวได้อีกครั้งหรือไม่ 11/08/2023GBPAUD สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียดูเหมือนว่าจะยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการแข็งค่าขึ้นของค่าเงินดอลล่าร์
โดยในรอบวันมีการฟื้นตัวขึ้นในระยะสั้นเพียง 0.02% จากการที่ค่าเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับทางด้านของค่าเงินปอนด์ยังคงมีความผันผวนซึ่งอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นในช่วงระยะสั้น
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงมาไม่สามารถทะลุ 1.94517 ลงมาได้ควรเปิดสะสมสถานะซื้อในระหว่าง 1.94517 ไปจนถึง 1.94809 ซึ่งถ้าเกิดสามารถทะลุแนวต้านสำคัญดังกล่าวขึ้นไปได้ควรปิดทำกำไรที่ 1.95184 และ 1.95655
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับสุดท้ายที่ควรที่จะต้องตัดขาดทุนก็คือ 1.94238
จับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญของสหราชอาณาจักรรวมทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญของออสเตรเลียในสัปดาห์ถัดไปเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินนี้มีความผันผวนในเชิงระยะสั้นและระยะยาว
GBPAUD มีโอกาสร่วงลงหลังจาก AUD แข็งค่า 15/06/2023GBPAUD อาจจะมีโอกาสปรับตัวร่วงลงหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการอ่อนค่าลงของค่าเงินดอลล่าร์
ในรอบวันมีการปรับตัวร่วงลง -0.26% จากปัจจัยค่าเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยปัจจัยยังคงมีความกังวลในการคงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นไม่สามารถทะลุแนวต้านสำคัญที่ 1.86486 ขึ้นไปได้ตำแหน่งที่ควรสะสมสถานะขายอยู่ในระหว่าง 1.85790 ไปจนถึง 1.86486 แล้วถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุตำแหน่ง 1.85021 ลงมาได้แนวรับสุดท้ายคือตำแหน่ง 1.82681 เป็นตำแหน่งที่ควรทำกำไรตำแหน่งสุดท้าย
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นตำแหน่งที่คนตัดขาดทุนก็คือ 1.87167 เป็นตำแหน่งสุดท้ายที่คุณตัดขาดทุน
ติดตามการประกาศอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาและถ้อยแถลงของประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาที่ต้องจับตาดูว่าจะมีการคงอัตราดอกเบี้ยในครั้งถัดไปหรือไม่เพราะจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์ผันผวน
GBPAUD จะขยับตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียหรือเรียกว่า GBPAUD มีการขยับตัวร่วงลงบ้างเล็กน้อยในช่วงเช้าที่ผ่านมาแต่ก็มีการกระเตื้องขึ้นได้หลังจากที่ค่าเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
โดยที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลางเนื่องจากว่าทางด้านของค่าเงินปอนด์มีการขยับตัวสูงขึ้นจากปัจจัยเกี่ยวเนื่องกับการกำหนดนโยบายทางการเงินของ BOE
ซึ่งทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในรอบวัน ในระดับ 0.07%
ต้องติดตามว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงหรือไม่แต่สถานะเวลาดังกล่าวตำแหน่งที่ควรสะสมสถานะซื้อก็คือ 1.74419
ซึ่งถ้าเกิดขยับขึ้นไปแล้วตำแหน่งควรทำกำไรก็คือ 1.75235
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.73869 และแนวรับสุดท้ายที่ตัดขาดทุนก็คือ 1.73670 เป็นแนวรับที่สำคัญอย่างมาก
GDP สหสหราชอาณาจักรไตรมาสที่ 1การประกาศสำคัญในกลุ่มของการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่ 1
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของสหราชอาณาจักรประจำใจมาสที่หนึ่งในช่วงเวลา 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยรวมทั้งจะมีการประกาศดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมประจำเดือนมีนาคมทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนและการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการจีดีพีรายเดือนแบบ 3M/3M รวมทั้งการประกาศดุลการค้า ของสหราชอาณาจักรซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์ผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักลงทุนต่างเฝ้าจับตาดูดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่ 1 เทียบไตรมาสไตรมาสนักวิเคราะห์ได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 1.0% ครั้งก่อน 1.3% รวมทั้งการประกาศเทียบปีต่อปีนักวิเคราะห์คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 9.0% ครั้งก่อน 6.6% จับตาดูว่าจะมีการสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์หรือใหม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยอาจจะสร้างความผันผวนจากปัจจัยนี้สำหรับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPAUD อาจจะมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.75883 แนวรับที่สองก็คือ 1.75082 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.74198
แต่ถ้ามีการดีดตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.76849 แนวต้านที่สองก็คือ 1.77541 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.78179
อัตราเงินเฟ้ออังกฤษที่สำคัญจับตาดูอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษในการประกาศในครั้งนี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของอังกฤษรวมทั้งการประกาศอื่นๆไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตพื้นฐานรวมทั้ง ดัชนีราคาผู้ผลิตและดัชนีราคาขายปลีกพื้นฐานของอังกฤษที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยนักวิเคราะห์และนักลงทุนต่างจับตามองปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในการประกาศในครั้งนี้นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคหรืออัตราเงินเฟ้อของอังกฤษเทียบปีต่อปีประจำเดือนมีนาคมจะมีการประกาศออกมา 6.7% ครั้งก่อน 0.2% และดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนมีนาคมจะประกาศออกมา 0.7% ครั้งก่อน 0.8% ประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้ผลิตนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.5% ครั้งก่อน 1.4% ซึ่งเทียบเดือนต่อเดือนต้องติดตามว่าจะมีการประกาศมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ GBPAUD อาจมีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.74518 แนวรับที่สองก็คือ 1.74146 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.73845
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.75120 แนวต้านที่สองก็คือ 1.75442 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.75760
นายกรัฐมนตรีเผชิญความไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีอังกฤษกำลังเผชิญกับการลงคะแนนไม่ไว้วางใจ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
นายกรัฐมนตรีบอริส จอห์นสัน แห่งสหราชอาณาจักร กำลังเผชิญกับการต่อสู้ทางการเมืองในอาชีพการงานของเขาด้วยการก่อกบฏที่เพิ่มขึ้นจากภายในพรรคของเขาเอง ภายหลังข้อกล่าวหาหลายครั้งเกี่ยวกับพรรคการเมืองและการรวมตัวของเจ้าหน้าที่รัฐบาล รวมทั้งตัวเขาเอง ในระหว่างการล็อกดาวน์จาก coronavirus
ขณะนี้มีการสอบสวนเพื่อกำหนดลักษณะและวัตถุประสงค์ของการชุมนุม และกฎหมายว่าด้วยโรคโควิดในขณะนั้นถูกทำลายหรือไม่ ข้อค้นพบของการสอบสวนนั้นกำลังรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ เนื่องจากผลดังกล่าวอาจกระตุ้นให้ผู้ร่างกฎหมายของพรรคอนุรักษ์นิยมจำนวนมากขึ้นหันมาใช้จอห์นสัน และเพิ่มความมั่นใจในการลงคะแนนเสียงและความท้าทายในการเป็นผู้นำ.
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความเป็นผู้นำของจอห์นสันอยู่ภายใต้แรงกดดันมหาศาลหลังจากสัปดาห์ของการรายงานสื่อจากหลายฝ่ายและการชุมนุมโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐรวมถึงจอห์นสันในบางครั้ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการชุมนุมครั้งหนึ่งทำให้จอห์นสันติดบ่วงซึ่งจัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2020 ในช่วงเวลาสูงสุดของการปิดเมืองครั้งแรก เมื่อประชาชนทั่วไปได้รับอนุญาตให้พบปะกับบุคคลอื่นเพียงคนเดียวจากภายนอกบ้านของพวกเขาในบรรยากาศกลางแจ้ง
จอห์นสันยอมรับต่อรัฐสภาเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าเขาเข้าร่วมงานปาร์ตี้ – ถูกเรียกเก็บเงินเป็นการชุมนุม "นำเหล้าของคุณเอง" ในสวนของ Downing Street ซึ่งมีรายงานว่ามีผู้เชิญประมาณ 100 คน แต่เขาบอกกับฝ่ายนิติบัญญัติว่าเขาเข้าร่วมงานปาร์ตี้เพียง 25 นาทีเพื่อ "ขอบคุณกลุ่มพนักงาน" สำหรับการทำงานหนักของพวกเขาและเขา "เชื่อโดยปริยายว่านี่เป็นงาน"
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะส่งผลกระทบให้กับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPAUD ที่อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.88181 แนวต้านที่สองก็คือ 1.88564 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.88761
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.87892 แนวรับที่สองก็คือ 1.87649 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.87218
ประกาศ GDP อังกฤษ ไตรมาส 3การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สามรวมทั้งการประกาศอีกหลายการประกาศแต่การประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีของอังกฤษเทียบไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังในครั้งนี้นักลงทุนต่างคาดหวังการประกาศดัชนีจีดีพีในหลายภาคส่วนแต่ที่เซอร์ไพรซ์ก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 6.6% และการประกาศดัชนีจีดีพีเทียบไตรมาสไตรมาสจะประกาศประมาณ 1.3% ซึ่งเท่ากันกับครั้งก่อนทั้งสองการประกาศดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศ surprise ของตลาดหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยคู่เงินที่สำคัญที่จำเป็นจะต้องติดตามก็คือ การประกาศดัชนีจีดีพีนั้นอาจจะส่งผลทำให้ GBP มีความผันผวนและคู่เงินที่ต้องจับตาดูก็คือ GBPAUD ซึ่งถ้าเกิดว่ามีความผันผวนในระยะสั้นนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.85271 แนวรับที่สองก็คือ 1.84974 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.84569
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85672 แนวต้านที่สองก็คือ 1.85925 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86290
ปัจจัยทางด้านเทคนิคกับค่าเงินปอนด์สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีความผันผวนและอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลีย หรือ GBPAUD มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการอ่อนค่าของดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นดังนั้นอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิคแต่ควรติดตามกรอบแนวรับสำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.84634 แนวรับที่สองก็คือ 1.84314 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.83960
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85322 แนวต้านที่สองก็คือ 1.85623 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86253
GBP/AUD : พักตัวระยะสั้นค่าเงินปอนด์กับสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียตอนนี้อยู่คงมีการพักตัวระยะสั้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นแต่เดี๋ยวคงพักตัวประกอบกับที่ส่งของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวหลังจากที่ตลาดเริ่มพักตัวเช่นเดียวกันดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.85030 แนวรับที่สองก็คือ 1.84464 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.84227
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85956 แนวต้านที่สองก็คือ 1.86361 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86667
การประกาศอัตราการว่างานอังกฤษจะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานของอังกฤษประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสของอังกฤษซึ่งเป็นการประกาศของเดือนกันยายน แต่จำประกาศในส่วนของการเปลี่ยนแปลงในจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการจะเป็นการประกาศของเดือนตุลาคมจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในการประกาศในครั้งนี้หลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกันยายน นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.6% ครั้งก่อน 7.2% ประกอบกับการประกาศการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานประจำเดือนตุลาคมครั้งก่อน -51.1K แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งการประกาศอัตราการว่างานประจำเดือนกันยายนของอังกฤษนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.4% ครั้งก่อน 4.5%
การวิเคราะห์ของราคา
การประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้ GBPAUD อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82559 แนวต้านที่สองก็คือ 1.82876 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83040
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82223 แนวรับที่สองก็คือ 1.82052 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81886
GBP/AUD : มีโอกาสปรับตัวที่ลงลงสกุลเงินปอนด์มีโอกาสปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันแต่คู่กันี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงจากสกุลเงินปอนด์มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82070 แนวรับที่สองก็คือ 1.81764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81298
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83231 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83854
GBP/AUD : มีโอกาสปรับตัวที่ลงลงสกุลเงินปอนด์มีโอกาสปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันแต่คู่กันี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงจากสกุลเงินปอนด์มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82070 แนวรับที่สองก็คือ 1.81764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81298
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83231 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83854
GBP/AUD : ปัจจัยทางด้านเทคนิคฟื้นตัวขึ้นสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้ในแนวโน้มระยะสั้นมีการฟื้นตัวขึ้นดังนั้นถ้าเกิดมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.87192 แนวต้านที่สองก็คือ 1.87495 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.87798
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.86538 แนวรับที่สองก็คือ 1.86255 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.85830
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามในระยะที่สำคัญอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลยพรที่อาจจะเป็นจะต้องติดตามไม่ว่าจะเป็นทั้งปัจจัยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์อย่างใกล้ชิด
GBP/AUD : ยังคงยังคงมีการปรับตัวลงสกุลเงินออสเตรเลียแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้อยู่คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัด
อย่างไรก็ดี GBPAUD อาจจะยังคงเป็นการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.87991 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.87748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.87275
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.88384 แนวต้านที่สองก็คือ 1.88866 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.89280
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียเพราะจะกดดันสกุลเงินหลายสกุลเงินรวมทั้งคู่เงินนี้อย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : สัญญาณเชิงเทคนิคสูงขึ้นGBPAUD ยังคงมีการปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในเชิงเทคนิคยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นโดยที่มีทิศทางเทรนด์ขาขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งในปัจจัยพื้นฐานที่มีการส่งเสริมในเชิงเทคนิคนั้นสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการคาดการณ์ของ IMF ที่มีการคาดการณ์ว่าอังกฤษอาจจะมีเศรษฐกิจฟื้นตัวขึ้นหลังจากที่มีการฉีดวัคซีนเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับในส่วนของสกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลทำให้ในเชิงเทคนิคคู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นถ้ามีการฟื้นตัวขึ้นต้องจับตาดูว่าสกุลเงินปอนด์จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นหรือไม่พร้อมกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าจากปัจจัยอะไรโดยควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.89415 แนวต้านที่สองก็คือ 1.90081 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.91085
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.88074 แนวรับที่สองก็คือ 1.87259 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.86600
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPAUD : อย่างไรก็ดีทั้งสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญในหลายการประกาศประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตาดูการประกาศอัตราเงินเฟ้อที่จะมีการประกาศในวันพรุ่งนี้ดังนั้นจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
การประกาศเงินเฟ้อ AUDการประกาศเงินเฟ้อของออสเตรเลียในไตรมาสที่สองทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือน
ในช่วงเวลา 08:30 น. สามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของออสเตรเลียในไตรมาสที่สองทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนโดยนักลงทุนสกุลเงินออสเตรเลียยังคงจับตาดูการประกาศนี้อย่างใกล้ชิดเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในเชิงระยะสั้น
ซึ่งจากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเหล่านี้มักจะส่งผลในเชิงระยะสั้นโดยในการคาดการณ์ในครั้งนี้ มีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สองเทียบใ ไตรมาสต่อไตรมาสโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.7% ครั้งก่อน 0.6% ประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีในไตรมาสที่สองซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.8% ครั้งก่อน 1.1%
อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้มักจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนและหากมีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นรวมทั้งถ้ามีการประกาศมาในมุมมองเชิงลบอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงของ สกุลเงินออสเตรเลีย
ซึ่งในส่วนของ EURAUD มีการขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นในการประกาศในครั้งนี้ต้องจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.60987 แนวต้านที่สองก็คือ 1.61239 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61656
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60573 แนวรับที่สองก็คือ 1.60130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.59759
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURAUD ยังคงเป็นปัจจัยที่จะต้องติดตามไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญของออสเตรเลียในหลายการประกาศในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มักจะกดดันสกุลเงินยูโรเช่นเดียวกันต้องจับตาดูในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ยังคงต้องจับตาดูแต่ทีนี้ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้าง
ในช่วงเวลา 15:30 น. ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประจำเดือนมิถุนายนของอังกฤษซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในระยะสั้นแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองว่าดัชนีนี้จะส่งผลอย่างไร
โดยคู่เงิน GBPAUD มีการพักตัวในช่วงนี้เนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.84085 แนวต้านที่สองก็คือ 1.84308 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84626
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.83723 แนวรับที่สองก็คือ 1.83418 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.83275
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPAUD ที่น่าจับตามองในช่วงนี้ : ในช่วงนี้ยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการก่อสร้างและการประกาศดัชนีพีเอ็มไอต่างๆประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตามองในส่วนของการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยและนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียซึ่งหน้าจับตามองเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ฟื้นตัวขึ้นจากสินเชื่อที่อยู่อาศัยสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสินเชื่อที่อยู่อาศัย
ในวันนี้มีการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษคือการประกาศจำนวนสินเชื่อในการอนุมัติเพื่อที่อยู่อาศัยประกาศออกมา 87.55K ครั้งก่อน 86.90K โดยที่สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยประกาศออกมา 6.58B ครั้งก่อน 3.03B ซึ่งส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจัยหลักที่อาจจะส่งผลในเชิงระยะสั้นประกอบกับในสัปดาห์นี้มีการประกาศตัวเลขสำคัญเช่นเดียวกันของอังกฤษ
ซึ่งในส่วนของ GBPAUD มีการฟื้นตัวขึ้นจากทั้งแรงหนุนมาจากสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและแรงกดดันจากสกุลเงินออสเตรเลียที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.83903 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.84422 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84680
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.83609 แนวรับที่สองก็คือ 1.83347 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82963
กรอบปัจจัยเสี่ยงที่จำเป็น จะต้องติดตามของคู่เงิน GBPAUD ในช่วงนี้ก็คือ : สกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดู การประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษที่จำเป็นจะต้องจับตามองอย่างมากประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตามองในส่วนของสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามประกาศ CPIการประกาศสำคัญของอังกฤษคือการประกาศ CPI
ในวันพุธจะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานพร้อมทั้งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานที่จะมีการประกาศในช่วงเวลาประมาณ 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนรวมทั้งจะมีการประกาศดัชนีภาคผลิตอุตสาหกรรมของจีน
การประกาศเหล่านี้จะส่งผลทำให้ทั้งสกุลเงินปอนด์และสกุลเงินหยวนมีความผันผวนรวมทั้งสกุลเงินออสเตรเลียจึงอาจจะส่งผลทำให้คู่เงิน GBPAUD มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ดังนั้นในคู่เงิน GBPAUD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.83753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84358
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82939 แนวรับที่สองก็คือ 1.82558 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82367
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPAUD : ต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษ ประกอบกับสกุลออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์และสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : เริ่มฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยของธนาคารกลางอังกฤษเริ่มมีการส่งสัญญาณในการความกังวลของเรื่องเงินเฟ้ออาจจะส่งผลทำให้การใช้มาตรการลดการอัดฉีดเม็ดเงินประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบ แนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82295 แนวต้านที่สองก็คือ 1.82560 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.82840
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลง แนวรับแรกก็คือ 1.81647 แนวรับที่สองก็คือ 1.81061 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.80150
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็น จะต้องติดตามถึงการแถลงของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามรายงานการประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : ยังคงมีโอกาสฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์มีโอกาสแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.79907 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.80050 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.80232
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.79681 แนวรับที่สองก็คือ 1.79334 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.79001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยจากการเปิดประเทศของอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์และสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : จะฟื้นตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะโดนกดดันจากสกุลออสเตรเลียหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการผันผวนระยะสั้นและยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นและ ยังคงวิ่งอยู่ในกรอบเช่นเดียวกันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงผันผวนระยะสั้นจากการกดดันจากสกุลดอลล่าร์ดังนั้นอาจจะมีการขยับตัววิ่งอยู่ในกรอบจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.79195 แนวรับที่สองก็คือ 1.78893 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.78728
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.79581 แนวต้านที่สองก็คือ 1.79852 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.80005
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตาม การประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยและนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียก็ยังคงมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยเช่นเดียวกันติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด