ทองคำถูกจำกัดไว้ต่ำกว่า 2,000 ดอลลาร์ แม้ว่าอัตราผลตอบแทนพันธบัตที่กำลังจะมาถึงคือ US Jobs Report (NFP) ที่จับตามองอย่างใกล้ชิด ตลาดงานในสหรัฐฯ ยังคงแข็งแกร่ง และ Fed อยากเห็นตลาดแรงงานอ่อนตัวลง เนื่องจากธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังคงต่อสู้กับภาวะเงินเฟ้อ คาดว่าจะมีงานใหม่เกือบ 180,000 ตำแหน่งในเดือนตุลาคม และการเบี่ยงเบนไปจากการคาดการณ์หรือการลดลงจาก 336,000 ตำแหน่งในเดือนที่แล้วอาจทำให้อัตราผลตอบแทนพันธบัตรและเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ร่วงลง
ทองคำแซงหน้าข้อมูลงานในปัจจุบันและไม่น่าจะเพิ่มขึ้นก่อนการประกาศเปิดตัว โลหะมีค่าพยายามทะลุแนวต้านที่ 2,009 ดอลลาร์/ออนซ์ สามครั้งแต่ไม่สำเร็จ แนวรับอยู่ที่ 1,973 ดอลลาร์/ออนซ์ ก่อนที่จะขยับขึ้นไปที่ 1,960 ดอลลาร์/ออนซ์
Forex-trading
AUDUSD มีแนวโน้มไซด์เวย์ขนาดใหญ่ โดยมีการซื้อและขายที่บริเวณแนวตเงินดอลลาร์ออสเตรเลียแข็งค่าขึ้นเหนือระดับ 0.63 ดอลลาร์ โดยได้รับแรงหนุนจากความคาดหวังที่เพิ่มขึ้นว่าธนาคารกลางออสเตรเลียจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยในเดือนพฤศจิกายน โดยได้รับแรงสนับสนุนจากข้อมูลเงินเฟ้อที่ร้อนแรงเกินคาด
อัตราเงินเฟ้อในไตรมาสที่สามของออสเตรเลียอยู่ที่ 5.4% ต่ำกว่า 6% ที่เห็นในไตรมาสที่สอง แต่สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดไว้ที่ 5.3%
มิเคเล่ บุลล็อค ผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียกล่าวว่าในสัปดาห์นี้ ธนาคารกลางจะไม่ลังเลที่จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินสด 4.1% หากมีการแก้ไขแนวโน้มอัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นอย่าง “มีนัยสำคัญ”
ในขณะเดียวกัน ค่าเงินออสซี่ยังคงใกล้เคียงกับระดับต่ำสุดในรอบปี เนื่องจากข้อมูลสหรัฐฯ ที่แข็งแกร่งได้ให้หลักฐานเพิ่มเติมเกี่ยวกับความยืดหยุ่นของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ซึ่งสนับสนุนมุมมองที่เคร่งครัดต่อนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ
วิเคราะห์ (ทองคำ) เห็นยังไงวิเคราะห์ไปแบบนั้นOANDA:XAUUSD
ทองคำ : อยู่ในบริเวณ ที่มีโอกาสกลับตัวสูงมาก
ถ้าหากราคาทองคำ ยังไม่ต่ำกว่า 1872 ผมมองว่ามีโอกาสรีบาวน์สูงมาก แต่การรีบาวน์ของทองคำ อยู่ภายใต้ Down trend ใหญ่
ซึ่งจะมีแนวต้านสำคัญที่ TF Day ก็คือ Supply Zone
(จุดที่ Break Down ลงมา) กลับขึ้นไปทดสอบอีกครั้ง
หากทองคำไม่สามารถทะลุกลับขึ้นไปยืนเหนือ 1890~ ได้
ภาพรวมของทองคำ ก็ยังคงมองลงอย่างต่อเนื่อง
และเป้าลงถัดไปจะอยู่ลึกถึง 1825~
วิเคราะห์ทองคำศุกร์ที่ 3 กันยายน 2564ทองคำนิวยอร์คปิดลบ 4.5 ดอลลาร์ก่อนรายงาน NFP จะออกคืนนี้พั
เหตุทองคำยังร่วงลงติดต่อกันเป็นวันที่สอง จากการซื้อขายที่เงียบเหงาปริมาณการลงทุนค่อนข้างจำกัด เนื่องจากนักลงทุนยังคงต้องการรอรายงานตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐในค่ำคืนนี้เวลา 19:30 ตามเวลาประเทศไทย โดยรายงานดังกล่าวอาจจะเป็นสัญญาณการติดตามการตัดสินใจในการปรับลดวงเงินในโครงการจัดซื้อพันธบัตรตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ หรือ QE ของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ตัวเลขคาดการณ์ที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ 750,000 ตำแหน่งในเดือนส.ค. และอัตราการว่างงานจะลดลงสู่ระดับ 5.2% ในส่วนของข้อมูลแรงงานที่จะเปิดเผยไปในเมื่อคืนนั้นกระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยตัวเลขผู้ยื่นขอสวัสดิการว่างงานครั้งแรกลดลงสู่ระดับ 340,000 รายในสัปดาห์ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 17 เดือน หรือตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยตัวเลขดังกล่าวออกมาต่ำกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ระดับ 345,000 ราย ทางฝั่งกระทรวงพาณิชย์สหรัฐก็ออกระบุเช่นกันว่า ตัวเลขขาดดุลการค้าของสหรัฐลดลง 4.3% สู่ระดับ 7.01 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือนก.ค. โดยการนำเข้าลดลง 0.2% สู่ระดับ 2.828 แสนล้านดอลลาร์ ส่วนการส่งออกนั้นจะเพิ่มขึ้นที่ระดับ 1.3% สู่ระดับ 2.128 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ถือเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือนพ.ค.2562 เป็นต้นมา
ข้อมูลเศรษฐกิจอื่นๆ ที่จะเปิดเผยในค่ำคืนนี้ได้แก่ ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคบริการขั้นสุดท้ายเดือนส.ค. จากมาร์กิต และดัชนีภาคบริการเดือนส.ค. จากสถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM)
สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมองเดือน ธ.ค. ลดลง 4.5 ดอลลาร์หรือ -0.25% ปิดระดับที่ราคา 1,811.5 ดอลลาร์ต่อออนซ์
ดัชนีดอลลาร์สหรัฐปิดตลาดที่ 92.214 หรือ -0.284 (-0.31%)
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอายุ 10 ปี ปิดที่ระดับ 1.285 หรือ -0.014 (-1.08%)
ดอลลาร์สหรัฐเมื่อวานนี้อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ โดยสาเหตุจากการชะลอซื้อขายของนักลงทุนก่อนที่ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตรจะรายงานออกมาในค่ำคืนนี้ ซึ่งคาดการณ์ว่าข้อมูลดังกล่าวจะเป็นตัวชี้ไทม์ไลน์ในการปรับลดวงเงิน QE ต่อไปของเฟด
ประเมินทางเทคนิคทองคำวันนี้
คาดทองคำวันนี้ยังเคลื่อนตัวในกรอบก่อน NFP ออกรายงาน โดยมีระยะเคลื่อนไหว 1,829-1,802 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ทั้งนี้นักลงทุนยังสามารถเข้าซื้อขายในกรอบเวลาเล็กๆ เพื่อทำกำไรในช่วงสั้นๆ ได้ แต่ต้องระมัดระวังแรงผันผวนของราคาก่อนรายงานดังกล่าวจะออกมาด้วย สำหรับทองคำในกรอบรายชั่วโมงนั้น หากราคายังยืนเหนือระดับแนวรับบริเวณ 1,808-1,807 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ยังมีโอกาสที่ทองคำจะปรับตัวขึ้นทดสอบแนวต้าน 1,813 ดอลลาร์ต่อออนซ์ แนะให้รอจังหวะเข้าซื้อคำสั่ง “ขาย” ที่บริเวณดังกล่าวหากราคาไม่สามารถผ่านขึ้นไปได้ วันนี้ทองคำยังมีทิศทางปรับตัวต่ำก่อน NFP ออกรายงานมา ซึ่งแนวรับสำคัญที่ต้องเฝ้าติดตามคือ 1,807-1,802 ดอลลาร์ต่อออนซ์ วันนี้ทองคำจะปรับตัวหลุด 1,800 ได้อีกหรือไม่ก็ต้องติดตามรายงานอย่างใกล้ชิด
กลยุทธ์การเทรดทองคำรายชั่วโมงวันนี้
Short Position : รอเข้าเปิดคำสั่ง “ขาย” หากราคาทองคำยังไม่สามารถผ่าน 1,812 ดอลลาร์ต่ออนซ์ขึ้นไปได้ ให้เน้นทำกำไรระยะสั้น เป้าหมายกำไรที่ 1,808-1,807 ดอลลาร์ต่อออนซ์ แต่หากผ่านแนวกำไรดังกล่าวได้ก็ให้ชะลอการปิดทำกำไรบางส่วนออกไปก่อน (ตัดขาดทุนหากราคาทองคำปรับตัวสูงกว่า 1,812 ดอลลาร์ต่อออนซ์)
หมายเหตุ : ทองคำอาจเจอช่วงผันผวนหนักก่อนข่าว NFP ออกมาเนื่องจากวันนี้ข้อมูลดังกล่าวอาจมีผลชี้นำต่อนโยบายการเงินของสหรัฐ จึงสร้างแรงผันผวนได้พอสมควร แนะนำให้บริหารพอร์ตลงทุนให้ดีๆ นะครับสำหรับใครที่มีไม้ค้างไว้ ส่วนมือใหม่ไม่แนะนำให้เข้าเทรดในช่วงเวลาดังกล่าวควรรอให้ผ่านไป 1 ชั่วโมงก่อนแล้วค่อยหาจังหวะเทรดตามน้ำ
แนวรับ แนวต้าน กรอบรายชั่วโมง
-------------------------------------------
Support : 1806 / 1802 / 1796
-------------------------------------------
Resistance : 1812 / 1823 / 1833
-------------------------------------------
การถือครองทองคำกองทุน SPDR
---------------------------------------------------------------
สถานะทองคำรายวัน : ลดลง -1.46 ตัน
ราคาซื้อขายล่าสุด : 1,809.35 ดอลลาร์ต่อออนซ์
ถือครองทองคำสุทธิ : 998.52 ตัน
สถานะการเปลี่ยนแปลงครั้งที่ : 2
รวมการเปลี่ยนแปลงทั้งสิ้น : -3.20 ตัน
---------------------------------------------------------------
*การลงทุนมีความเสี่ยงโปรดใช้วิจารณญาณให้รอบคอบก่อนการลงทุนทุกครั้ง
**ข้อมูลจากการวิเคราะห์ไม่ได้เป็นเครื่องมือชี้นำระดมทุน เพียงเป็นเครื่องมือประกอบความรู้ในการลงทุนในแต่ละวันเท่านั้น จึงไม่มีส่วนต่อความรับผิดชอบใดๆ อันเกิดขึ้นในภายหลัง
***การวิเคราะห์เป็นเพียงสมมุติฐานค่าสถิติจากอดีต จึงไม่ได้เป็นเครื่องมือการันตี 100% ต่อการสร้างผลกำไรในอนาคต
****การวิเคราะห์เป็นเพียงความรู้แนวทางการลงทุนมิได้เป็นเครื่องเจตนาการชี้นำ นักลงทุนควรนำข้อมูลดังกล่าวไปพิจารณาให้รอบคอบก่อนทุกครั้ง และผลอันใดที่จะเกิดขึ้นไม่ได้เป็นผลผูกพันต่อความรับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น