ปอนด์เทียบกับยูโรพุ่งปอนด์พุ่งนิวไฮ 20 เดือนเทียบยูโร เก็ง BoE ขึ้นดอกเบี้ยสัปดาห์หน้า
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ปอนด์พุ่งแตะระดับสูงสุดรอบ 20 เดือนเทียบยูโรในวันนี้ ขณะที่นักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในการประชุมนโยบายการเงินสัปดาห์หน้า
ณ เวลา 18.46 น.ตามเวลาไทย ปอนด์แข็งค่า 0.36% สู่ระดับ 1.382 ดอลลาร์ และปรับตัวขึ้น 0.24% สู่ระดับ 0.841 เทียบยูโร หลังจากพุ่งแตะระดับ 0.842 ก่อนหน้านี้ ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือนก.พ.2563
นักลงทุนคาดการณ์ว่า BoE จะเป็นธนาคารกลางแห่งแรกในกลุ่มธนาคารขนาดใหญ่ที่สุดของโลกที่จะทำการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายนับตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปีที่แล้ว และธนาคารกลางยุโรป (ECB) จะอยู่ในกลุ่มธนาคารกลางขนาดใหญ่ของโลกที่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยช้าที่สุด
การคาดหวังในครั้งนี้?
ตลาดการเงินคาดการณ์ว่า BoE จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในการประชุมนโยบายการเงินในวันที่ 4 พ.ย. และในเดือนธ.ค. รวมทั้งจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อไปในปีหน้า หลังจากที่นายแอนดรูว์ เบลีย์ ผู้ว่าการ BoE ส่งสัญญาณบ่งชี้ว่า BoE มีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อรับมือกับเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้น
นักลงทุนคาดการณ์ว่า BoE จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.15% ในเดือนพ.ย. และ 0.25% ในเดือนธ.ค. รวมทั้งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีก 3 ครั้งในปี 2565 ซึ่งจะทำให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายของ BoE พุ่งแตะระดับ 1.25%
นายเบลีย์ส่งสัญญาณบ่งชี้ว่า BoE มีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปีที่แล้ว เพื่อรับมือกับเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้น
นายเบลีย์กล่าวว่า BoE จำเป็นต้องดำเนินการเพื่อสกัดการพุ่งขึ้นของเงินเฟ้อ แม้เขาเชื่อว่าการดีดตัวขึ้นของเงินเฟ้อในระยะนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้จะส่งผลทำให้คู่เงินปอนด์มีความผันผวนโดยเฉพาะ EURGBP ที่ดูเหมือนว่ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.83999 แนวรับที่สองก็คือ 0.83584 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.83442
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 0.84221 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.84350 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.84639
F-EUR
EUR/CHF : อาจจะมีการย่อระยะสั้นสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะมีการย่อตัวลงระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวช่วงโรงเรียนสั้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดดังนั้นถ้าเกิดปัจจัยที่กดดันสกุลเงินฟรังก์สวิสทั้งในและนอกต่างประเทศอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.07003 แนวรับที่สองก็คือ 1.06893 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.06807
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.07225 แนวต้านที่สองก็คือ 1.07309 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.07415
จับตาการประกาศเงินเฟ้อกลุ่มยูโรโซนดัชนีราคาผู้บริโภคของกลุ่มยูโรโซนจะมีการประกาศที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของกลุ่มยูโรโซนจะมีการประกาศในช่วงเวลา 16:00 น. ตามเวลาประเทศไทยอย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในหลายสำนักแต่ในส่วนของนักลงทุนเฝ้าจับตาดูเพราะอาจจะมีการสะท้อนเห็นถึงการขยับของนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรป
ซึ่งในฝั่งของสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปยังคงมีการเฝ้าจับตาดูในหลายปัจจัยโดยเฉพาะปัจจัยของอัตราเงินเฟ้อดังนั้นในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลในระยะสั้นน่ะระยะทาง
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ดีในการวิเคราะห์ของนักวิเคราะห์หลายสำนักซึ่งจะมีการวิเคราะห์ทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานและดัชนีราคาผู้บริโภคในกลุ่มยูโรโซนโดยที่เราวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบปีต่อปีประจำเดือนกันยายนจะประกาศออกมา 1.9% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับในส่วนของดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 3.4% เท่ากันกับครั้งก่อนแต่สิ่งที่ต้องจับตาดูก็คือการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือน นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.5% และดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 0.5% ครั้งก่อน 0.4%
การวิเคราะห์ของราคา
ซึ่งจากปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้คู่เงิน EURJPY มีความผันผวนระยะสั้นอย่างไรก็ดีต้องติดตามว่าการผันผวนนั้นจะไปถึงในแนวรับแนวต้านที่สำคัญหรือไม่
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 133.233 แนวต้านที่สองก็คือ 133.512 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 133.636
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 132.767 แนวรับที่สองก็คือ 132.489 แนวรับสุดท้ายก็คือ 132.234
EUR/GBP : ปัจจัยทางด้านเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวลงสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินปอนด์อาจจะมีการย่อตัว
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรได้รับแรงกดดันจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 0.84749 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.84607 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.84553
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.85056 แนวต้านที่สองก็คือ 0.85177 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.85247
ความสำคัญของอัตราเงินเฟ้อสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐกับปัจจัยที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกันยายนทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศรายได้ที่แท้จริงของเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนเช่นเดียวกันดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะเป็นทั้งแรงหนุนและแรงกดดันทำให้ราคาทองคำรวมทั้งสกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของการคาดการณ์ในครั้งนี้นักวิเคราะห์ต่างคาดการณ์ว่าดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเก็บปีต่อปีประจำเดือนกันยายนจะประกาศประมาณ 4.0% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.3% ครั้งก่อน 0.1% และจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับดัชนีราคาผู้บริโภคเก็บเงินต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.3% เท่ากันกับครั้งก่อนเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15485 แนวรับที่สองก็คือ 1.15357 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15671 แนวต้านที่สองก็คือ 1.15761 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.15819
AUD อาจมีการอ่อนค่าระยะสั้นสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงอาจมีการฟื้นตัวขึ้นหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากการที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีความเสี่ยงที่มีการขยับตัวสูงขึ้นในปัจจัยเชิงเทคนิค
ดังนั้นในการขยับตัวขึ้นในครั้งนี้จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญโดยเฉพาะปัจจัยของดอลล่าร์ในระยะสั้น
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.61686 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.61939 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.62174
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60991 แนวรับที่สองก็คือ 1.60634 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.60028
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องเฝ้าจับตามองสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญหลายตัวเลขในระยะสั้น
EUR/JPY : ปัจจัยทางด้านเทคนิคปรับตัวลงสกุลเงินยูโรยังคงพักตัวแต่สกุลเงินเยนแข็งค่า
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัว ร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินยูโรมีการพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการที่มีการปรับตัวร่วงลงของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการผันผวนอย่างไรโดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ
อย่างไรก็ดีถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอาจจะติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 127.990 แนวรับที่สองก็คือ 127.764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 127.552
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 128.296 แนวต้านที่สองก็คือ 128.616 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 128.776
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินเยนเพราะอาจจะมีความผันผวนในทั้งวิกฤติของ Evergrande หรือในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะมีความผันผวนไปในทิศทางของการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ยอดขายบ้านมือสองสหรัฐจับตาการประกาศยอดขายบ้านมือสองสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. จะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคมรวมทั้งจำนวนยอดขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากในการประกาศในครั้งนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่ายอดขายบ้านมือสองประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 5.89M ครั้งก่อนก็คือ 5.99M ประกอบกับการขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนั้นครั้งก่อนประกาศออกมา 2.0% ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยที่สำคัญในคู่เงินที่จะต้องจับตาดูก็คือ EURUSD โดยมีการผันผวนระยะสั้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการพักตัวโดยเฉพาะคู่เงินสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลในระยะสั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศตัวเลขอย่างไรและควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสองแนวต้านแรกก็คือ 1.17439 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 1.17530 กรอบแนวต้านที่สามก็คือ 1.17728 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17882
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17214 แนวรับที่สองก็คือ 1.17035 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16914
จับตาเงินเฟ้อสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาเป็นสิ่งที่ น่าจับตามองอย่างมาก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาโดยที่จะมีการประกาศที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมเช่นเดียวกันซึ่งนักวิเคราะห์ต่างจับตามองรวมทั้งนักลงทุนต่างเฝ้าจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
การประกาศในครั้งนี้จะมีอยู่สองการประกาศที่สำคัญโดยการประกาศแรกก็คือดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานประจำเดือนสิงหาคมเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.3% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบปีต่อปีประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.2% ครั้งก่อน 4.3% โดยที่มีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.5% รวมทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีอาจจะมีการประกาศออกมา 5.3% ครั้งก่อน 5.4% สำหรับนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้
การวิเคราะห์ของราคา
สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงเป็นปัจจัยที่เฝ้าจับตาดูการประกาศในครั้งนี้ประกอบกับคู่เงินที่น่าสนใจก็คือ EURUSD คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นแต่ในระยะยาวอาจจะยังคงมีการปรับตัวร่วงลงโดยอาจจะมีการคาดการณ์ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต้องจับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลอย่างไรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18120 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18341 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18484
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17989 แนวรับที่สองก็คือ 1.17812 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17716
ECB ประกาศดอกเบี้ย!!!!ธนาคารกลางยุโรปมีการประกาศอัตราดอกเบี้ย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 18:45 น. จะมีการประกาศอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปประกอบกับจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางยุโรปในช่วงเวลา 19:30 น. โดยเฉพาะจะมีการแถลงในคำแถลงของ นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปในช่วงเวลา 18:45 น.
การคาดหวังในครั้งนี้?
นักลงทุนต่างจับตามองว่าในการแถลงในครั้งนี้อาจจะมีการคาดการณ์คงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมแต่ในส่วนของนโยบายทางการเงินอาจจะต้องจับตาดูถึงปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินโดยเฉพาะการลดการอัดฉีดสภาพคล่องอีกครั้งดังนั้นถ้ามีการลดการอัดฉีดสภาพคล่องอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนในระยะสั้น
การวิเคราะห์ของราคา
จากการลดการอัดฉีดสภาพคล่องถ้าเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้ EURJPY มีการผันผวนในระยะสั้นโดยมีการปรับตัวร่วงลงจากปัจจัยของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 130.222 แนวรับที่สองก็คือ 130.050 แนวรับสุดท้ายก็คือ 129.841
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 130.429 แนวต้านที่สองก็คือ 130.521 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 130.748
ดอลล่าห์ยังคงแข็งค่าระยะสั้นดอลล่าห์ยังคงอาจจะมีการแข็งค่าระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
หลายปัจจัยในระยะสั้นช่วงนี้ส่งผลทำให้ USD มีการแข็งค่าขึ้นทั้งความกังวลถึงไวรัสเดลต้าหรือแม้กระทั่งในส่วนของปัจจัยทางการดึงเงินกลับของ FED หรือเรียกว่า Revers Repo ที่ยังคงมีการดึงเงินกลับอย่างต่อเนื่องและมีการส่งสัญญาณทำ Tapering ของ FED ทำให้ความเป็นไปได้ในระยะสั้นนั้นยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคาดหวังของนักลงทุนยังคงมีความคาดหวังว่าอาจจะมีการแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นช่วงนี้
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยแข็งค่าขึ้นของ USD ส่งผลทำให้ EURUSD ยังคงมีการร่วงลงในระยะสั้นดังนั้นถ้ามีการร่วงลงต่อเนื่องควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการร่วงลงระยะสั้นกรอบแนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.18359 แนวรับที่สองก็คือ 1.18138 แนวรับที่สามก็คือ 1.17991
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18500 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18604 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18832
ยอดขายบ้านกับ USDสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนียอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศของเดือนกรกฎาคมทั้งยอดขายบ้านใหม่และจำนวนการขายบ้านใหม่ของสหรัฐอเมริกาซึ่งตั้งลงทุนต่างจับตามองว่าจะมีการประกาศยอดขายบ้านใหม่สูงขึ้นหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศยอดขายบ้านใหม่ในครั้งนี้จะประกาศออกมา 3.0% ครั้งก่อน -6.6% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนยอดขายบ้านใหม่ประจำเดือนกรกฎาคมประกาศออกมา 700K ครั้งก่อน 676K ซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
การวิเคราะห์ของราคา
โดยเฉพาะสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะมีการจับตาการประกาศยอดขายบ้านใหม่ซึ่งถ้ามีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงิน EURUSD มีการปรับตัวร่วงลงแต่อย่างไรก็ดีต้องจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงมากน้อยแค่ไหนควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17299 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16918
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17432 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17659 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17772
ยอดขายปลีกสหรัฐอาจจะส่งผลกับ USDสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 17 สิงหาคม 2021 จะมีการรายงานดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกรกฎาคมทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองในการประกาศในครั้งนี้โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 1.3% ประกอบกับดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -0.2% ครั้งก่อน 0.6%
การคาดหวังในครั้งนี้?
นักลงทุนต่างคาดหวังในระยะสั้นโดยเฉพาะการเคลื่อนไหวของดอลล่าร์ซึ่งการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลให้กับดอลล่าร์โดยตรงโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์และครั้งก่อน อาจจะส่งผลถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงซึ่งในรอบวันยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยของ สกุลเงินดอลล่าร์โดยมีการขยับตัวขึ้น +0.08% อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้ยังคงเฝ้าจับตามองเพราะจะส่งผลถึงดอลล่าร์โดยตรง
การวิเคราะห์ของราคา
ทางด้านคู่เงินที่มีการเคลื่อนไหวโดยตรงกับสกุลเงินดอลล่าร์ก็คือ EURUSD ในรอบวันมีการปรับตัวลง -0.13% จากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้ความผันผวนของคู่เงินนี้เกิดขึ้นซึ่งควรที่จะติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17875 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18015 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18267
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17643 แนวรับที่สองก็คือ 1.17478 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17314
ประกาศเงินเฟ้อสหรัฐในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อสหรัฐอเมริกา
เป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอีกครั้งโดยที่ในวันที่ 11 สิงหาคม 2021 ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกรกฎาคมนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะการประกาศในครั้งนี้เนื่องจากว่าจะส่งผลถึงการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ
ในการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาที่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าถ้ามีการประกาศออกมาสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้และครั้งก่อนหรือการประกาศในครั้งนี้ surprise ตลาด อาจจะส่งผลทำให้ราคาดอลล่าร์และราคาทองคำมีการปรับตัวผันผวนโดยเฉพาะดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทองคำอาจจะมีการปรับตัวลงโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD อาจจะไปในทิศทางตรงกันข้ามกับดอลล่าร์
โดยสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งนักลงทุนคาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศเงินเฟ้อในครั้งนี้อาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่ต้องจับตาดูว่าจะสูงกว่าครั้งก่อนหรือไม่ ในรอบวันมีการปรับตัวขึ้น +0.01% และอาจจะมีการพักตัวรอการประกาศตัวเลขที่สำคัญ
EURUSD มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องตามทิศทางของดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยในรอบวันมีการปรับตัวลง -0.01% เช่นเดียวกันดังนั้นการประกาศในครั้งนี้จับตามองว่าจะมีการประกาศอย่างไรซึ่งถ้ามีการประกาศและจะสร้างความผันผวนให้กับคู่เงินนี้นั้นควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงกรอบแนวรับแรกก็คือ 1.17060 แนวรับที่สองก็คือ 1.16666 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16431
แต่ถ้ามีการดีดตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17369 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17607 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17824
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD อย่างไรก็ดีการประกาศเงินเฟ้อยังคงเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากแต่ปัจจัยเสี่ยงมากกว่านั้นก็คือการประกาศออกมา surprise ตลาดไม่ว่าจะเป็นทั้ง surprise ทั้งด้านบวกและด้านลบซึ่งอาจจะส่งผลทำให้มีความผันผวนและแรงเหวี่ยงในการประกาศในครั้งนี้จับตาดูอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURUSD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
BOE จะมีการแถลงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางอังกฤษจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยรวมทั้งแถลงนโยบายทางการเงิน
ในช่วงเวลา 18:00 น. จะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษรวมทั้งจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของคณะกรรมการนโยบายทางการเงิน MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. เช่นเดียวกัน ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากว่าจะมีการแถลงอย่างไร
ประกอบกับในช่วงเวลาเดียวกันจะมีรายงานภาวะเงินเฟ้อจากธนาคารกลางอังกฤษโดยเฉพาะนักลงทุนต่างจับตามองว่าจะมีการมองอย่างไรจาก BOE ในการกล่าวถึงเงินเฟ้อของอังกฤษว่าจะมีทิศทางอย่างไรซึ่งถ้ามีเงินเฟ้อมากอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
อย่างไรก็ดีปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างมากก็คือการแถลงนโยบายทางการเงินโดยที่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างจับตามองว่าจะมีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินต่อหรือไม่เอาหรือจะมีการลดการอัดฉีดเม็ดเงินซึ่งถ้ามีการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัว อ่อนค่าลงและถ้ามีการลดการอัดฉีดเป็นเงินอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
อีกหนึ่งคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ EURGBP ซึ่งคู่เงินนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยทิศทางเทรนด์ขาลงนั้นยังคงมีมุมมองชัดเจนดังนั้นถ้ามีการแถลงในครั้งนี้อาจจะทำให้มีความผันผวนจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงทะลุ 1.85175 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.85054 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.84873 และแนวรับอีกหนึ่งแล้วรับที่จะต้องจับตามองก็คือ 0.84727
แต่ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญสองแนวต้านแรกเท่านั้นก็คือ 0.85313 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 0.85465
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของ EURGBP : คู่เงินนี้ยังคงต้องจับตาดูโดยเฉพาะในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาจะมีความผันผวนกับสกุลเงินยูโรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการประกาศปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURGBP ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/JPY : ฟื้นตัวขึ้นในเชิงเทคนิคสกุลเงินเยนอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจาก Nikkei ฟิวเจอร์ดีดตัวขึ้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากปัจจัยตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นประกอบกับสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นในปัจจัยเชิงเทคนิคยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นของคู่เงินนี้
EURJPY ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นแต่อย่างไรก็ดีการขยับตัวสูงขึ้นในครั้งนี้ยังคงมีการเคลื่อนไหวมาจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นดูเหมือนว่าตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เริ่มมีการย่อตัวลงอาจจะทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นบ้างอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 129.976 แนวรับที่สองก็คือ 1297803 แนวรับสุดท้ายก็คือ 129.620
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 130.464 แนวต้านที่สองก็คือ 130.860 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 131.036
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURJPY ที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการผันผวนและเป็นทั้งแรงหนุนและแรงกดดันของสกุลเงินเยนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญของยูโรโซนรวมทั้งการประกาศดัชนี PCE ของสหรัฐอเมริกาที่จะมีการประกาศวันศุกร์นี้จึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ประชุม FED ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 อัตราเงินเฟ้อธนาคารกลางสหรัฐจะสรุปการประชุมนโยบายล่าสุดในวันพุธที่ชั่งน้ำหนักความเสี่ยงของการฟื้นตัวของ COVID-19 ในสหรัฐอเมริกาและการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับภัยคุกคามเงินเฟ้อที่กำลังพัฒนาซึ่งเป็นจุดสนใจหลัก
คาดว่าเจ้าหน้าที่ของ Fed จะอภิปรายกันต่อไปว่าเมื่อใดควรหย่านมเศรษฐกิจจากมาตรการที่ใช้มานานกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมาเพื่อต่อสู้กับอาฟเตอร์ช็อกทางเศรษฐกิจของโรคระบาดใหญ่ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อหารือว่าเมื่อใดที่จะลดพันธบัตรกระทรวงการคลังจำนวน 120,000 ล้านดอลลาร์และการจำนอง หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางสหรัฐกำลังซื้อในแต่ละเดือนเพื่อระงับอัตราดอกเบี้ยระยะยาว
แต่การสนทนานั้นเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อหกสัปดาห์ก่อนเมื่อกรณีของ COVID-19 ในสหรัฐอเมริกาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของการฉีดวัคซีน มีความซับซ้อนโดยการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของไวรัสเดลต้าที่ติดเชื้อมากขึ้น การต่ออายุของเงื่อนไขวิกฤตในบาง โรงพยาบาลและคืนสถานะหน้ากากในบางเมือง
สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการผันผวนถ้ามีการยังคงการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าของสกุลเงินดอลล่าร์แต่ถ้ามีการส่งสัญญาณในการเริ่มลดการอัดฉีดเม็ดเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์
คู่เงินแรกที่สำคัญก็คือ EURUSD ที่ดูเหมือนว่าจะจับตาดูดอลล่าร์อย่างต่อเนื่องเพราะเริ่มมีการปรับตัวร่วงลงในช่วงสั้นจากการแข็งค่าขึ้นของดอลลาร์แต่ยังคงต้องจับตาดูเพราะยังคงมีความผันผวนในกรอบดังนั้นถ้าเกิดมีการแถลงในครั้งนี้ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18145 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18280 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18356
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17987 แนวรับที่สองก็คือ 1.17852 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17763
การประกาศเงินเฟ้อ AUDการประกาศเงินเฟ้อของออสเตรเลียในไตรมาสที่สองทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือน
ในช่วงเวลา 08:30 น. สามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของออสเตรเลียในไตรมาสที่สองทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนโดยนักลงทุนสกุลเงินออสเตรเลียยังคงจับตาดูการประกาศนี้อย่างใกล้ชิดเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในเชิงระยะสั้น
ซึ่งจากการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์การประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเหล่านี้มักจะส่งผลในเชิงระยะสั้นโดยในการคาดการณ์ในครั้งนี้ มีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคประจำไตรมาสที่สองเทียบใ ไตรมาสต่อไตรมาสโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.7% ครั้งก่อน 0.6% ประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีในไตรมาสที่สองซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 3.8% ครั้งก่อน 1.1%
อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้มักจะส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนและหากมีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นรวมทั้งถ้ามีการประกาศมาในมุมมองเชิงลบอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงของ สกุลเงินออสเตรเลีย
ซึ่งในส่วนของ EURAUD มีการขยับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นในการประกาศในครั้งนี้ต้องจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.60987 แนวต้านที่สองก็คือ 1.61239 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61656
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60573 แนวรับที่สองก็คือ 1.60130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.59759
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURAUD ยังคงเป็นปัจจัยที่จะต้องติดตามไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญของออสเตรเลียในหลายการประกาศในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญแต่ในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์มักจะกดดันสกุลเงินยูโรเช่นเดียวกันต้องจับตาดูในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB คงดอกเบี้ยตามคาดธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยตามการคาดการณ์
ธนาคารกลางยุโรปมีมติการคงอัตราดอกเบี้ยและวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรในการประชุมครั้งล่าสุดในวันนี้ตามที่มีการคาดการณ์ไว้
ในการประชุมธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรืออัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ที่ระดับ 0% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการและมีการคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ฝากไว้กับธนาคารกลางยุโรปที่ระดับ -0.50% ในขณะที่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ระดับ 0.25%
นอกจากนี้ธนาคารกลางยุโรปยังมีมติคงวงเงินในการเข้าซื้อพันธบัตรตามโครงการ PEPP ที่ระดับ 1.85 ล้านยูโร ซึ่ง ECB จะซื้อพันธบัตรตามโครงการดังกล่าวจนถึงเดือนมีนาคม 2 565 โดยจะซื้อพันธบัตรในวงเงินเดือนละสองหมื่นล้านยูโร
อย่างไรก็ดีธนาคารกลางยุโรปได้มีเป้าหมายเงินเฟ้อในระยะกลางอยู่ในระดับ 2% จากเดิมที่กำหนดให้อยู่ใกล้แต่ไม่เกิน 2%
ขณะเดียวกันธนาคารกลางยุโรปยังไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะแตะระดับเป้าหมาย 2% ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณว่าธนาคารกลางยุโรปจะไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปอีกสองปีเนื่องจากธนาคารกลางยุโรปคาดการณ์ก่อนหน้านี้ว่าเงินเฟ้อจะอยู่ในยูโรโซนซึ่งจะยังไม่แตะระดับ 2% อย่างน้อยในอีกสองปีข้างหน้า
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นโดย ได้ 4 ชั่วโมงที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลง -0.46% สำหรับ EURUSD โดยปัจจัยดังกล่าวส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าดังนั้นคู่ EURUSD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17598 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17392 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17241
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.17812 เป็นแนวต้านที่ 117179008 แนวต้านที่สองและแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18149
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในสัปดาห์หน้าที่จะต้องติดตามสำหรับคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนทำให้ EURUSD มีความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูในสัปดาห์ถัดไป
EURJPY กับ รายการการประชุม BOJรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2021 จะมีรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นในช่วงเวลา 06:50 น. ตามเวลาประเทศไทยประกอบกับจะมีการประกาศดุลการค้าของญี่ปุ่นรวมทั้งปริมาณนำเข้าส่งออกของญี่ปุ่นประจำเดือนมิถุนายนทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองเพราะจะส่งผลให้กับสกุลเงินเยนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของดุลการค้าของญี่ปุ่นประจำเดือนมิถุนายนมีการคาดหวังออกมาว่าจะมีการประกาศ 460.0B ครั้งก่อน -189.4B ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนมีการคาดการณ์ว่าปริมาณส่งออกประจำเดือนมิถุนายนจะประกาศออกมา 46.2% ครั้งก่อน 49.6% = กับดุลการค้าที่ปรับรายการครั้งก่อนอยู่ที่ 0.04T ซึ่งการคาดหวังในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้น
ในส่วนของคู่เงิน EURJPY ยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อยซึ่งถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่มีการขยับตัวสูงขึ้นนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 129.800 เป็นแนวต้านที่หนึ่งแนวต้านที่สองก็คือ 129.907 และแนวต้านสุดท้ายที่จะต้องจับตามองก็คือ 130.188
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 129.313 แนวรับที่สองก็คือ 128.940 แนวรับสุดท้ายก็คือ 128.612
EUR/JPY : ในเชิงเทคนิคฟื้นตัวขึ้นสกุลเงินยูโรในเชิงเทคนิคแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการอ่อนค่าลงของสกุลเงินดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในเชิงประยะสั้นและปัจจัยทางด้านเทคนิค
โดยคู่เงิน EURJPY ได้มีการฟื้นตัวขึ้นซึ่งมีการฟื้นตัวขึ้นในรอบวัน +0.28% และอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นถ้าดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 130.488 แนวต้านที่สองก็คือ 130.691 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 131.005
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 129.994 แนวรับที่สองก็คือ 129.763 แนวรับสุดท้ายก็คือ 129.650
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURJPY ที่เป็นปัจจัยที่น่าสนใจในสัปดาห์ถัดไป : โดยสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐคือการประกาศอัตราเงินเฟ้ออาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการกดดันหรือเป็นแรงหนุนทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวน และในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เช่นเดียวกันต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด