จับตาการประกาศ NFPการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรซึ่งสำคัญอย่างมาก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:30 น. จะมีการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนรวมทั้งเฉลี่ยต่อสัปดาห์ซึ่งอาจจะเป็นปัจจัยที่จะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์หลายสำนักได้มีการคาดการณ์ในหลายรูปแบบโดยเฉพาะอัตราการว่างานประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศประมาณ 4.5% ครั้งก่อน 4.6% โดยในฝั่งของอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 550K ครั้งก่อน 531K จับตาดูว่าจะส่งผลกระทบถึงดอลล่าร์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้อาจจะส่งผลกระทบให้กับสกุลเงินดอลล่าร์อย่างชัดเจนโดยที่ค่าเงินที่สำคัญก็คือ EURUSD พี่จะมีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.12861 แนวรับที่สองก็คือ 1.12588 ในรับสุดท้ายก็คือ 1.12169
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.13419 แนวต้านที่สองก็คือ 1.13769 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.14205
Eur\usd
เงินเฟ้อกลุ่มยูโรโซนสำคัญอย่างมากจับตาการประกาศเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซนประจำเดือนพฤศจิกายน
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
17:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของกลุ่มยูโรโซนไม่ว่าจะเป็นทั้งในการประกาศอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนละปีละปีซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนอย่างไรก็ตามอัตราเงินเฟ้ออาจจะเป็นปัจจัยอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้ธนาคารกลางยุโรปอาจจำเป็นที่จะต้องใช้นโยบายทางการเงินดังนั้นควรจับตาในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของการประกาศจะมีสองการประกาศที่สำคัญที่นักลงทุนต่างจับตามองก็คือในส่วนของการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคหรืออัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนโดยไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์รแต่ครั้งก่อนอยู่ที่ 0.8% ซึ่งอีกหนึ่งปัจจัยที่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากก็คือดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีหรืออัตราเงินเฟ้อเทียบปีต่อปีโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.5% ครั้งก่อน 4.1% ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการผันผวนอย่างไรของค่าเงินยูโร
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURJPY อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 128.415 แนวต้านที่สองก็คือ 128.732 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 128.987
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 128.008 แนวรับที่สองก็คือ 127.729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 127.494
จับตาการว่างานของเยอรมนีค่าเงินยูโรอาจจะมีความผันผวนจากการประกาศอัตราการว่างานของเยอรมนี
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการว่างานของเยอรมนีประจำเดือนพฤศจิกายนรวมทั้งอัตราการว่างานของเยอรมนีประจำเดือนพฤศจิกายนซึ่งอาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นของค่าเงินยูโรดังนั้นจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการประกาศการเปลี่ยนแปลงในการว่างงานในเยอรมนีประจำเดือนพฤศจิกายนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -25
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.12912 แนวต้านที่สองก็คือ 1.13229 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.13433
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.12596 แนวรับที่สองก็คือ 1.12471 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.12165
EURUSD 26-11-64EURUSD ประจำวันที่ 26-11-64
H4
- RSI : Sideway
- MACD : Divergence ขาขึ้น***
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> Neutral ระวังได
H1
- RSI : Overbought
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M30
- RSI : Overbought
- MACD : Divergence ขาขึ้น
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาลง
ภาพรวม >> ลง
M15
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ลง
M5
- RSI : Overbought ทำให้มีโอกาสกลับตัวลง
- MACD : Divergence ขาลง
- Stochastic : -
- Trend : ขาขึ้น
ภาพรวม >> ขึ้นแล้วกลับตัวลง
สรุป : ขึ้น แล้วกลับตัวลงที่ Supply Zone
จับตาการประกาศสำคัญของสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อและผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 20:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนตุลาคมทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนระยะสั้นและระยะกลางต้องจับตาดูสองการประกาศนี้โดยเฉพาะการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรืออัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาเทียบเดือนต่อเดือนต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิด
การคาดหวังในครั้งนี้?
การประกาศอัตราเงินเฟ้อในครั้งนี้นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะอัตราเงินเฟ้อเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ได้ว่าการประกาศอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนตุลาคมเทียบเดือนต่อเดือนจะประกาศออกมา 0.6% ครั้งก่อน 0.4% และดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานหรือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานประจำเดือนตุลาคมจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.2%
รวมทั้งจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงาน ครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกประกาศออกมา 265K ครั้งก่อน 269K จับตาดูว่าจะเป็น ตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15676 แนวรับที่สองก็คือ 1.15538 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15269
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15986 แนวต้านที่สองก็คือ 1.16138 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.16256
จับตา ECB กับนโยบายทางการเงินธนาคารกลางยุโรปจะมีการประกาศนโยบายทางการเงินซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 18:45 น. จะเป็นการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปประกอบกับจะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากกับอาจารย์นี้โดยเฉพาะการลดขนาด QE ของธนาคารกลางยุโรปในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในส่วนของนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมโดยเฉพาะอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสถาบันการเงินที่ฝากไว้กับธนาคารกลางจะประกาศออกมา-0.5% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมข้ามคืนของธนาคารกลางยุโรปจะประกาศออกมา 0.25% เท่ากันกับครั้งก่อนและจับตาดูว่าจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินเป็นเอกสารตัวที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะมีการประกาศลดขนาด QE ในเร็ววันนี้ดังนั้นอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนอย่างมาก
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้ สกุลเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ซึ่งถ้ามีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.16213 แนวต้านที่สองก็คือ 1.16485 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.16631
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15962 แนวรับที่สองก็คือ 1.15863 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15749
ความสำคัญของอัตราเงินเฟ้อสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐกับปัจจัยที่สำคัญ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกันยายนทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนประกอบกับจะมีการประกาศรายได้ที่แท้จริงของเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนเช่นเดียวกันดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะเป็นทั้งแรงหนุนและแรงกดดันทำให้ราคาทองคำรวมทั้งสกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนอย่างมาก
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในส่วนของการคาดการณ์ในครั้งนี้นักวิเคราะห์ต่างคาดการณ์ว่าดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเก็บปีต่อปีประจำเดือนกันยายนจะประกาศประมาณ 4.0% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.3% ครั้งก่อน 0.1% และจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับดัชนีราคาผู้บริโภคเก็บเงินต่อเดือนประจำเดือนกันยายนประกาศออกมา 0.3% เท่ากันกับครั้งก่อนเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีความผันผวนโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD ที่อาจส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15485 แนวรับที่สองก็คือ 1.15357 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15671 แนวต้านที่สองก็คือ 1.15761 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.15819
ยอดขายบ้านมือสองสหรัฐจับตาการประกาศยอดขายบ้านมือสองสหรัฐ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 21:00 น. จะมีการประกาศยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนสิงหาคมรวมทั้งจำนวนยอดขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากในการประกาศในครั้งนี้ซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนในระยะสั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่ายอดขายบ้านมือสองประจำเดือนสิงหาคมจะประกาศออกมา 5.89M ครั้งก่อนก็คือ 5.99M ประกอบกับการขายบ้านมือสองเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนั้นครั้งก่อนประกาศออกมา 2.0% ต้องจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยที่สำคัญในคู่เงินที่จะต้องจับตาดูก็คือ EURUSD โดยมีการผันผวนระยะสั้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการพักตัวโดยเฉพาะคู่เงินสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลในระยะสั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศตัวเลขอย่างไรและควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นกรอบแนวต้านสองแนวต้านแรกก็คือ 1.17439 เป็นแนวต้านที่หนึ่งและแนวต้านที่สองก็คือ 1.17530 กรอบแนวต้านที่สามก็คือ 1.17728 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17882
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17214 แนวรับที่สองก็คือ 1.17035 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16914
จับตาเงินเฟ้อสหรัฐการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาเป็นสิ่งที่ น่าจับตามองอย่างมาก
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาโดยที่จะมีการประกาศที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมเช่นเดียวกันซึ่งนักวิเคราะห์ต่างจับตามองรวมทั้งนักลงทุนต่างเฝ้าจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
การประกาศในครั้งนี้จะมีอยู่สองการประกาศที่สำคัญโดยการประกาศแรกก็คือดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานประจำเดือนสิงหาคมเทียบเดือนต่อเดือนนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.3% เท่ากันกับครั้งก่อนประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานเทียบปีต่อปีประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.2% ครั้งก่อน 4.3% โดยที่มีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนสิงหาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.4% ครั้งก่อน 0.5% รวมทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคเทียบปีต่อปีอาจจะมีการประกาศออกมา 5.3% ครั้งก่อน 5.4% สำหรับนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้
การวิเคราะห์ของราคา
สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงเป็นปัจจัยที่เฝ้าจับตาดูการประกาศในครั้งนี้ประกอบกับคู่เงินที่น่าสนใจก็คือ EURUSD คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยหลังจากที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในระยะสั้นแต่ในระยะยาวอาจจะยังคงมีการปรับตัวร่วงลงโดยอาจจะมีการคาดการณ์ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต้องจับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลอย่างไรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18120 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18341 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18484
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17989 แนวรับที่สองก็คือ 1.17812 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17716
ดอลล่าห์ยังคงแข็งค่าระยะสั้นดอลล่าห์ยังคงอาจจะมีการแข็งค่าระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
หลายปัจจัยในระยะสั้นช่วงนี้ส่งผลทำให้ USD มีการแข็งค่าขึ้นทั้งความกังวลถึงไวรัสเดลต้าหรือแม้กระทั่งในส่วนของปัจจัยทางการดึงเงินกลับของ FED หรือเรียกว่า Revers Repo ที่ยังคงมีการดึงเงินกลับอย่างต่อเนื่องและมีการส่งสัญญาณทำ Tapering ของ FED ทำให้ความเป็นไปได้ในระยะสั้นนั้นยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ความคาดหวังของนักลงทุนยังคงมีความคาดหวังว่าอาจจะมีการแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นช่วงนี้
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยแข็งค่าขึ้นของ USD ส่งผลทำให้ EURUSD ยังคงมีการร่วงลงในระยะสั้นดังนั้นถ้ามีการร่วงลงต่อเนื่องควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการร่วงลงระยะสั้นกรอบแนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.18359 แนวรับที่สองก็คือ 1.18138 แนวรับที่สามก็คือ 1.17991
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18500 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18604 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18832
ยอดขายบ้านกับ USDสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนียอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลา 21:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศของเดือนกรกฎาคมทั้งยอดขายบ้านใหม่และจำนวนการขายบ้านใหม่ของสหรัฐอเมริกาซึ่งตั้งลงทุนต่างจับตามองว่าจะมีการประกาศยอดขายบ้านใหม่สูงขึ้นหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
ซึ่งนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศยอดขายบ้านใหม่ในครั้งนี้จะประกาศออกมา 3.0% ครั้งก่อน -6.6% ประกอบกับจะมีการประกาศจำนวนยอดขายบ้านใหม่ประจำเดือนกรกฎาคมประกาศออกมา 700K ครั้งก่อน 676K ซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลง
การวิเคราะห์ของราคา
โดยเฉพาะสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะมีการจับตาการประกาศยอดขายบ้านใหม่ซึ่งถ้ามีการประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงิน EURUSD มีการปรับตัวร่วงลงแต่อย่างไรก็ดีต้องจับตาดูว่าจะมีการปรับตัวร่วงลงมากน้อยแค่ไหนควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17299 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17130 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16918
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17432 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17659 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17772
ยอดขายปลีกสหรัฐอาจจะส่งผลกับ USDสิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในวันที่ 17 สิงหาคม 2021 จะมีการรายงานดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกรกฎาคมทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองในการประกาศในครั้งนี้โดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 1.3% ประกอบกับดัชนียอดขายปลีกเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -0.2% ครั้งก่อน 0.6%
การคาดหวังในครั้งนี้?
นักลงทุนต่างคาดหวังในระยะสั้นโดยเฉพาะการเคลื่อนไหวของดอลล่าร์ซึ่งการประกาศในครั้งนี้จะส่งผลให้กับดอลล่าร์โดยตรงโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาน้อยกว่าการคาดการณ์และครั้งก่อน อาจจะส่งผลถึงสกุลเงินดอลล่าร์ที่อาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงซึ่งในรอบวันยังคงมีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยของ สกุลเงินดอลล่าร์โดยมีการขยับตัวขึ้น +0.08% อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้ยังคงเฝ้าจับตามองเพราะจะส่งผลถึงดอลล่าร์โดยตรง
การวิเคราะห์ของราคา
ทางด้านคู่เงินที่มีการเคลื่อนไหวโดยตรงกับสกุลเงินดอลล่าร์ก็คือ EURUSD ในรอบวันมีการปรับตัวลง -0.13% จากการแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์อย่างไรก็ดีในการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้ความผันผวนของคู่เงินนี้เกิดขึ้นซึ่งควรที่จะติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17875 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18015 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18267
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17643 แนวรับที่สองก็คือ 1.17478 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17314
ประกาศเงินเฟ้อสหรัฐในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศอัตราเงินเฟ้อสหรัฐอเมริกา
เป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอีกครั้งโดยที่ในวันที่ 11 สิงหาคม 2021 ในช่วงเวลา 19:30 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของสหรัฐอเมริกาประจำเดือนกรกฎาคมนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยเฉพาะการประกาศในครั้งนี้เนื่องจากว่าจะส่งผลถึงการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ
ในการกำหนดนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาที่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าถ้ามีการประกาศออกมาสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้และครั้งก่อนหรือการประกาศในครั้งนี้ surprise ตลาด อาจจะส่งผลทำให้ราคาดอลล่าร์และราคาทองคำมีการปรับตัวผันผวนโดยเฉพาะดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทองคำอาจจะมีการปรับตัวลงโดยเฉพาะคู่เงิน EURUSD อาจจะไปในทิศทางตรงกันข้ามกับดอลล่าร์
โดยสกุลเงินดอลล่าร์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งนักลงทุนคาดการณ์เอาไว้ว่าการประกาศเงินเฟ้อในครั้งนี้อาจจะสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่ต้องจับตาดูว่าจะสูงกว่าครั้งก่อนหรือไม่ ในรอบวันมีการปรับตัวขึ้น +0.01% และอาจจะมีการพักตัวรอการประกาศตัวเลขที่สำคัญ
EURUSD มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องตามทิศทางของดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นโดยในรอบวันมีการปรับตัวลง -0.01% เช่นเดียวกันดังนั้นการประกาศในครั้งนี้จับตามองว่าจะมีการประกาศอย่างไรซึ่งถ้ามีการประกาศและจะสร้างความผันผวนให้กับคู่เงินนี้นั้นควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงกรอบแนวรับแรกก็คือ 1.17060 แนวรับที่สองก็คือ 1.16666 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.16431
แต่ถ้ามีการดีดตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.17369 แนวต้านที่สองก็คือ 1.17607 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.17824
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD อย่างไรก็ดีการประกาศเงินเฟ้อยังคงเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากแต่ปัจจัยเสี่ยงมากกว่านั้นก็คือการประกาศออกมา surprise ตลาดไม่ว่าจะเป็นทั้ง surprise ทั้งด้านบวกและด้านลบซึ่งอาจจะส่งผลทำให้มีความผันผวนและแรงเหวี่ยงในการประกาศในครั้งนี้จับตาดูอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURUSD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ประชุม FED ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 อัตราเงินเฟ้อธนาคารกลางสหรัฐจะสรุปการประชุมนโยบายล่าสุดในวันพุธที่ชั่งน้ำหนักความเสี่ยงของการฟื้นตัวของ COVID-19 ในสหรัฐอเมริกาและการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับภัยคุกคามเงินเฟ้อที่กำลังพัฒนาซึ่งเป็นจุดสนใจหลัก
คาดว่าเจ้าหน้าที่ของ Fed จะอภิปรายกันต่อไปว่าเมื่อใดควรหย่านมเศรษฐกิจจากมาตรการที่ใช้มานานกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมาเพื่อต่อสู้กับอาฟเตอร์ช็อกทางเศรษฐกิจของโรคระบาดใหญ่ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อหารือว่าเมื่อใดที่จะลดพันธบัตรกระทรวงการคลังจำนวน 120,000 ล้านดอลลาร์และการจำนอง หลักทรัพย์ที่ธนาคารกลางสหรัฐกำลังซื้อในแต่ละเดือนเพื่อระงับอัตราดอกเบี้ยระยะยาว
แต่การสนทนานั้นเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อหกสัปดาห์ก่อนเมื่อกรณีของ COVID-19 ในสหรัฐอเมริกาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของการฉีดวัคซีน มีความซับซ้อนโดยการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของไวรัสเดลต้าที่ติดเชื้อมากขึ้น การต่ออายุของเงื่อนไขวิกฤตในบาง โรงพยาบาลและคืนสถานะหน้ากากในบางเมือง
สกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการผันผวนถ้ามีการยังคงการใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าของสกุลเงินดอลล่าร์แต่ถ้ามีการส่งสัญญาณในการเริ่มลดการอัดฉีดเม็ดเงินของธนาคารกลางสหรัฐอาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นของสกุลเงินดอลล่าร์
คู่เงินแรกที่สำคัญก็คือ EURUSD ที่ดูเหมือนว่าจะจับตาดูดอลล่าร์อย่างต่อเนื่องเพราะเริ่มมีการปรับตัวร่วงลงในช่วงสั้นจากการแข็งค่าขึ้นของดอลลาร์แต่ยังคงต้องจับตาดูเพราะยังคงมีความผันผวนในกรอบดังนั้นถ้าเกิดมีการแถลงในครั้งนี้ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18145 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18280 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18356
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.17987 แนวรับที่สองก็คือ 1.17852 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17763
ECB คงดอกเบี้ยตามคาดธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยตามการคาดการณ์
ธนาคารกลางยุโรปมีมติการคงอัตราดอกเบี้ยและวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรในการประชุมครั้งล่าสุดในวันนี้ตามที่มีการคาดการณ์ไว้
ในการประชุมธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรืออัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ที่ระดับ 0% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในประวัติการและมีการคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ฝากไว้กับธนาคารกลางยุโรปที่ระดับ -0.50% ในขณะที่คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ระดับ 0.25%
นอกจากนี้ธนาคารกลางยุโรปยังมีมติคงวงเงินในการเข้าซื้อพันธบัตรตามโครงการ PEPP ที่ระดับ 1.85 ล้านยูโร ซึ่ง ECB จะซื้อพันธบัตรตามโครงการดังกล่าวจนถึงเดือนมีนาคม 2 565 โดยจะซื้อพันธบัตรในวงเงินเดือนละสองหมื่นล้านยูโร
อย่างไรก็ดีธนาคารกลางยุโรปได้มีเป้าหมายเงินเฟ้อในระยะกลางอยู่ในระดับ 2% จากเดิมที่กำหนดให้อยู่ใกล้แต่ไม่เกิน 2%
ขณะเดียวกันธนาคารกลางยุโรปยังไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจนกว่าอัตราเงินเฟ้อจะแตะระดับเป้าหมาย 2% ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณว่าธนาคารกลางยุโรปจะไม่มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปอีกสองปีเนื่องจากธนาคารกลางยุโรปคาดการณ์ก่อนหน้านี้ว่าเงินเฟ้อจะอยู่ในยูโรโซนซึ่งจะยังไม่แตะระดับ 2% อย่างน้อยในอีกสองปีข้างหน้า
จากปัจจัยนี้ทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นโดย ได้ 4 ชั่วโมงที่ผ่านมามีการปรับตัวร่วงลง -0.46% สำหรับ EURUSD โดยปัจจัยดังกล่าวส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าดังนั้นคู่ EURUSD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.17598 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.17392 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17241
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.17812 เป็นแนวต้านที่ 117179008 แนวต้านที่สองและแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18149
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในสัปดาห์หน้าที่จะต้องติดตามสำหรับคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์ถัดไปจะมีการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้ดอลล่าร์มีความผันผวนทำให้ EURUSD มีความผันผวนในระยะสั้นดังนั้นจับตาดูในสัปดาห์ถัดไป
ECB แถลงนโยบายทางการเงินธนาคารกลางยุโรปจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินในวันพฤหัสนี้เวลา 18:30 น.
ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2021 จะมีการแถลงนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรป ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยนักลงทุนตลาดเงินต่างจับตาดูว่าแถลงการณ์ในครั้งนี้จะส่งผลและมีการส่งสัญญาณเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินมากน้อยแค่ไหนและจะส่งผลให้กับสกุลเงินยูโรมากขนาดไหนซึ่งน่าจับตามองยากมาก
โดยคู่สกุลเงิน EURUSD มีการพักตัวในหลายชั่วโมงที่ผ่านมาหลังจากที่ดอลล่าร์มีการพักตัวเช่นเดียวกันทำให้นักลงทุนต่างจับตามองการประกาศตัวเลขที่สำคัญทั้งของดอลล่าร์และของสกุลเงินยูโรจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18393 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18526 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.18714
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18128 แนวรับที่สองก็คือ 1.17960 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17773
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองอย่างมากสำหรับสัปดาห์นี้ : ในสัปดาห์นี้จะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐในเวลา 01:00 น. ตามเวลาประเทศไทยในวันพุธที่จะถึงนี้ประกอบกับในส่วนของการรายงานการประชุมของธนาคารกลางยุโรปและการประกาศจำนวน ผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานครั้งแรกต่อเนื่องและสี่สัปดาห์ซึ่งต้องจับตามองอย่างมากในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EURUSD รอ NFPสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีความผันผวนในการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตร
ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานประกอบกับจะมีการประกาศรายได้เฉลี่ยต่อชั่วโมงเทียบปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญนี้และอาจจะมีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยคู่เงิน EURUSD ในช่วงนี้มีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบถึงแม้ว่าในระยะกลางยังคงมีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นการประกาศตัวเลขนี้อาจจะส่งผลสร้างความผันผวนอย่างรุนแรงให้กับคู่เงินนี้อย่างแน่นอนดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นทะลุ 1.18578 ขึ้นไปได้กรอบแนวต้านที่สองก็คือ 1.18807 และแนวต้านสุดท้ายในระยะสั้นก็คือ 1.18922
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.18390 แนวรับที่สองก็คือ 1.18283 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18023
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURUSD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : อย่างไรก็ดีในสัปดาห์นี้จะมีการประกาศตัวเลขสำคัญของสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริการวมทั้งอัตราการว่างานที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์แต่ในส่วนของสกุลเงินยูโรในช่วงเวลา 19:30 น. ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2021 ทางด้านประธานธนาคารกลางยุโรปจะมีการเข้าร่วมเสวนาในหัวข้อเรื่องเราจะได้เรียนรู้อะไรในปี 2020 ในประเทศฝรั่งเศสต้องจับตาดูว่าจะมีการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินหรือไม่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรอีกครั้งหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ECB คาดการณ์ว่ายังคงจะรักษาการซื้อพันธบัตรECB คาดว่าจะมีการรักษาอัตราการซื้อพันธบัตรที่สูงขึ้นตลอดในช่วงฤดูร้อน
นักเศรษฐศาสตร์และนักลงทุนคาดการณ์ว่าธนาคารกลางยุโรปจะขยายการซื้อพันธบัตรฉุกเฉินหรือเรียกว่า PEPP ในการประชุมครั้งต่อไปแม้ว่าเศรษฐกิจยังคงฟื้นตัวขึ้น
HSBC Holdings Plc, UBS Group AG และ ABN Amro Bank NV เป็นหนึ่งในผู้ที่คาดการณ์ว่า ECB จะยืดเวลาการกระตุ้นเศรษฐกิจในปัจจุบันออกไปในวันที่ 10 มิถุนายนนี้ โดยนักเศรษฐศาสตร์ที่สำรวจก่อนการประชุมครั้งก่อนกล่าวว่าอาจจะถูกปรับลดวงเงินการเข้าซื้อ
ในขณะที่ Bloomberg Economics คาดการณ์ว่าจะมีการซื้ออยู่ที่ประมาณ 85 พันล้านยูโร ต่อเดือนในไตรมาสที่สามแทนที่จะลดลงสู่ในระดับเดียวกันจากไตรมาสแรก
การคาดการณ์เกิดขึ้นหลังจากที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงมีการจับต่อแนวคิดที่พวกเขาว่า ECB พร้อมที่จะมีการชะลอการซื้อ ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์ของ JPMorgan Chase & Co. ได้มีการรายงานออกมาว่า "สิ่งนี้จะทำให้โอกาสในการเข้าซื้อเพิ่มเร็วขึ้นอย่างต่อเนื่องในไตรมาสที่สามแม้ว่าการตัดสินใจอาจจะยังคง ใกล้เคียงในเดือนมิถุนายนและต้องมีการประนีประนอมบ้างก็ตาม"
โดยปัจจัยนี้อาจจะเป็นแรงสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินยูโรซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นจากการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB และอาจจะส่งผลทำให้ EURUSD มีความผันผวนอีกครั้งโดยที่อาจจะมีการปรับตัวลงจากการประกาศในการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางยุโรปที่จะถึงนี้
ซึ่งในหลายวันที่ผ่านมา EURUSD มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงในหลายวันที่ผ่านมาจนทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวขึ้นสู่ในระดับ ใกล้เคียงเดือนมกราคมปี 2021 ซึ่งถ้ามีการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวลงอย่างต่อเนื่องกรอบแนวรับสำคัญ ที่น่าสนใจแนวรับแรกก็คือ 1.20697 แนวรับที่สองก็คือ 1.19987 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18958
แต่ถ้าเกิด surprise ตลาดในการเข้าซื้อพันธบัตรของ ECB ไม่ว่าจะเป็นการชะลอการเข้าซื้อหรือเป็นการลดวงเงิน การเข้าซื้อพันธบัตรอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22468 แนวต้านที่สองก็คือ 1.23296 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23822
ปัจจัยเสี่ยงที่จะต้องติดตามของคู่เงินนี้ก็คือ : สกุลเงินดอลล่าร์โดยที่สกุลเงินดอลล่าร์มันจะมีการประกาศที่สำคัญในหลายการประกาศก่อนที่จะไปถึงในวันที่ 10 มิถุนายน 2021 ไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศ PCE หรือแม้กระทั่งการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลางจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
EUR/USD : ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการแข็งค่าขึ้นหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอยู่ต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเล็กน้อยทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.19 เก้าสี่สองลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.19777 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19569
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.20164 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20326 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20420
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่จำเป็นจะต้องติดตามทั้งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของกลุ่มยูโรโซนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : ย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.20065 แนวรับที่สองก็คือ 1.19825 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19441
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.20382 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20 ห้าห้าแปดแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20745
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินดอลล่าร์ว่าจะมีความผันผวนในทิศทางไหนโดยธรรมชาติแล้วในตอนนี้ดูเหมือนว่าจะอาจจะมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : ยังคงมีโอกาสขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นสกุลเงินดอลล่าร์อาจจะมีการปรับตัวลง
สกุลเงินยูโรเทียบกับดอลล่าร์ในตอนนี้คงมีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่ดอลล่าร์เริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยการประกาศอัตราเงินเฟ้อ ประกอบกับสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.19912 แนวต้านที่สองก็คือ 1.20152 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.20409
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.19539 แนวรับที่สองก็คือ 1.19385 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.19252
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินยูโรที่ยังคงมีความผันผวนและยังคงมีการพักตัวระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินดอลล่าร์ยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : จะสามารถย่อตัวได้หรือไม่สกุลเงินดอลล่าร์จะฟื้นตัวได้หรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับดอลล่าร์ในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวย่อตัวลงในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์เริ่มมีการฟื้นตัวในระยะสั้นจึงส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรเริ่มมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นแต่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงทะลุ 1.18679 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.18386 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.18030
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.19046 แนวต้านที่สองก็คือ 1.19280 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19435
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ผมต้องติดตามถึงปัจจัยหนุนจากดอลล่าร์ที่ยังคงต้องติดตามในการประกาศตัวเลขที่สำคัญรวมทั้งปัจจัยที่ทั้งหนุนและกดดันของดอลล่าร์เพราะจะส่งผลให้กับคู่เงินนี้ในระยะสั้นและระยะกลางที่คนติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/USD : ร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ในตอนนี้ดูเหมือนว่ายังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ได้รับแรงกดดันมาจากตลาดที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกก็คือ 1.18360 แนวรับที่สองก็คือ 1.18158 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.17992
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.18719 แนวต้านที่สองก็คือ 1.18875 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.19043
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึง สกุลเงินดอลล่าร์ที่ดูเหมือนว่าอาจจะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องติดตามว่าสัปดาห์นี้จะมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด