AUDJPY จังหวะเข้าซื้อแบบเบรคเอาท์ และกลยุทธ์การแบ่ง Orderเทรนด์ระยะกลางมีแรงยกตัวจากบริเวณ 80 ขึ้นไป หากเบรค 85 ขึ้นไปและยืนได้จะยืนยันการขึ้นระยะ D1 รอบใหม่ไปสู่แนวต้าน 90
โอกาสในการเล่น เทรด Long เบรคเอาท์ 85 ไปสู่ 90 (ระยะสั้น)
หรือใช้เลเวอเรจต่ำไปสู่ 100 โดยแบ่งการซื้อเป็น 3 ORDER โดยทั้ง 3 ORDER ใช้มาร์จิ้นรวมกัน < 2% ของพอร์ตการลงทุนเพื่อควบคุมความเสี่ยงกรณีผิดทาง
สามารถใช้การเพิ่มเลเวอเรจเมื่อผิดทางในนัดที่ 3 เพื่อดึงค่าเฉลี่ยลงให้ได้เปรียบมากขึ้น และเริ่ม SL ในบริเวณใต้แนวรับสำคัญ 70 ลงไป
AUDJPY
AUDJPY วางกลยุทธ์รับแบบ Rangesในภาพรวมเรามองว่าราคามีรูปแบบแรงที่ไม่ได้เปรียบในด้านใดด้านหนึ่ง และราคาอยู่บริเวณกลางระหว่าง ATH - ATL นั่นทำให้เราเลือกกลยุทธ์ผสมโดยเล่น swing ระยะสั้น ผนวกกับวางกระสุนระยะยาวที่แนวรับ
Major resistance - supply zone 87 - 90
Major support - 76-80
โดยรอสัญญาณกลับตัวเช่น price action บริเวณโซนแนวรับเพื่อ buy 2 นัด
สำหรับเทรดระยะสั้น - สวิง
ใช้แนวรับ + ระยะเผื่อเล็กน้อง (หาก long) เป็น SL
ใช้แนวต้าน + ระยะเผื่อเล็กน้อง (หาก short) เป็น SL
สำหรับเทรดระยะยาว
ใช้ ATH / ATL บวกระยะเผื่อเป็น SL โดยใช้เลเวอเรจปรับให้ต่ำลงและเหมาะสมกับมาร์จิ้น
#AUDJPY ถึงแม้จะมีความผันผวนอยู่แต่อย่างไรก็ตามในระยะสั้นยังอยู่#AUDJPY ถึงแม้จะมีความผันผวนอยู่แต่อย่างไรก็ตามในระยะสั้นยังอยู่ในทิศทางขาลงเนื่องจากมีความผันผวนจากตลาดหุ้น Nikkei จึงควรติดตามในโมดูลที่สำคัญโดยถ้าทะลุ 82.017 ลงมาได้ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.49% ถือ 81.660 แต่ถ้ากลับขึ้นไปทะลุ 82.257 ควรตัดทำกำไรขาดทุนที่ 0.97% หรือ 82.865
AUDJPY พิจารณาซัพพลายโซน H4 สำหรับการ Shortคู่เงินที่น่าสนใจสำหรับวันนี้ คือคู่เงิน AUDJPY กรอบการเคลื่อนที่ใน Timeframe H4 ทิศทางของราคาเป็นเทรนลง มีการเคลื่อนที่ของราคา ที่มีนัยยะสำคัญคือมีการเบรคดีมานด์โซน D1 #สีฟ้า เมือวันที่ 17/11/2560 ปัจจุบันราคาเคลื่อนที่เข้าสู่พื้นที่ซัพพลายโซน H4 และแนวต้าน D1 และใกล้ระดับเส้นแนวต้านเทรนไลน์
พิจารณา Price Action ที่เกิดบริเวณซัพพลายโซนสำหรับการเทรด Sell ในช่วงราคา 85.800 - 85.850 เป้าหมายการทำกำไรคือดีมานด์โซนสีเหลือง 84.500 จุดตัดขาดทุน 86.000