JPY อ่อนค่าระยะสั้นตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ฟื้นตัวขึ้นส่งผลทำให้สกุลเงินเยนอ่อนค่า
ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการฟื้นตัวขึ้นไปในทิศทางเดียวกันกับดัชนีดาวโจนส์ฟิวเจอร์ในรอบวันนี้ส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงระยะสั้นรถตอบกลับในวันนี้จะมีการประกาศจำนวนการเปิดงานว่างใหม่ของสหรัฐอเมริกาอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินเยนมีความผันผวนไปในทิศทางเดียวกันกับตลาดหุ้น Nikkei
โดยในส่วนของ AUDJPY มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดหลังจากที่สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 83.319 แนวต้านที่สองก็คือ 83.449 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 83.645
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 83.076 แนวรับที่สองก็คือ 82.841 แนวรับสุดท้ายก็คือ 82.736
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDJPY ที่ต้องจับตาดูอย่างใกล้ชิดสำหรับสัปดาห์นี้ : ในสัปดาห์นี้ต้องจับตาดูในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียที่จะมีการจับตาดูถึง การแถลงของรองผู้ว่าฯ RBA ในวันพฤหัสนี้ประกอบกับในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงต้องจับตาดูในสัปดาห์นี้เช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD (ดอลล่าร์ออสเตรเลีย)
vรองผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินในวันพฤหัสที่จะถึงนี้
ในช่วงเวลา 09:30 น. รองผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียจะมีการแถลงเกี่ยวเนื่องกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากสำหรับนักลงทุนที่เกี่ยวเนื่องกับสกุลเงินออสเตรเลีย ประกอบกับ จะมีรายงานความเชื่อมั่นผู้บริโภคของนิวซีแลนด์ซึ่งจะส่งผลกับสกุลออสเตรเลียด้วยเช่นเดียวกันในวันพฤหัสนี้
โดยสกุลเงิน AUDCHF หลังจากที่มีการปรับตัวร่วงลงจากการอ่อนค่าของสกุลเงินหยวนเมื่อวานที่ผ่านมาในวันนี้มีการพักตัวระยะสั้นโดยที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวพักตัวเช่นเดียวกัน ดังนั้นในรอบวันนี้จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.69186 แนวรับที่สองก็คือ 0.69098 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69009
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69369 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69532 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69617
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDCHF ที่น่าจับตามองอย่างมากใน : ในปัจจัยของสกุลเงินออสเตรเลียต้องจับตาดูรองผู้ว่าการธนาคารกลางออสเตรเลียที่จะมีการส่งสัญญาณเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นแต่ยังคงต้องจับตาดูแต่ทีนี้ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้าง
ในช่วงเวลา 15:30 น. ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประจำเดือนมิถุนายนของอังกฤษซึ่งอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์ในระยะสั้นแน่นอนว่านักลงทุนต่างจับตามองว่าดัชนีนี้จะส่งผลอย่างไร
โดยคู่เงิน GBPAUD มีการพักตัวในช่วงนี้เนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันดังนั้นจับตาดูกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.84085 แนวต้านที่สองก็คือ 1.84308 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84626
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.83723 แนวรับที่สองก็คือ 1.83418 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.83275
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPAUD ที่น่าจับตามองในช่วงนี้ : ในช่วงนี้ยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษทั้งดัชนีพีเอ็มไอภาคการก่อสร้างและการประกาศดัชนีพีเอ็มไอต่างๆประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตามองในส่วนของการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยและนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียซึ่งหน้าจับตามองเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ดัชนียอดขายปลีกยูโรโซนส่งผลให้กับ EURจะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกของกลุ่มยูโรโซนประจำเดือนพฤษภาคมอาจจะส่งผลกับสกุลเงินยูโร
ในช่วงเวลา 16:00 น. ตามเวลาประเทศไทยวันที่ 6 กรกฎาคม 2021 จะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของกลุ่มยูโรโซนประจำเดือนพฤษภาคมทั้งเดือนต่อเดือนและปีต่อปีซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนประกอบกับจะมีการประกาศ ดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจจากเยอรมันประจำเดือนกรกฎาคมและช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
โดยคู่เงิน EURAUD มีการพักตัวทั้งในส่วนของสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันทำให้คู่เงินนี้มีการพักตัวดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.57782 แนวต้านที่สองก็คือ 1.58100 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.58461
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.57495 แนวรับที่สองก็คือ 1.57323 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.57053
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURAUD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงจะมีการประกาศเกี่ยวกับปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียรวมทั้งปัจจัยของการประกาศตัวเลขสำคัญของออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงต้องจับตามองการประกาศตัวเลขสำคัญเช่นเดียวกันในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/JPY : ในเชิงเทคนิคยังคงปรับตัวลงสกุลเงินออสเตรเลียกดดันคู่เงินนี้อย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการแข็งค่าขึ้นของดอลล่าร์ ประกอบกับในช่วงนี้ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 83.069 แนวรับที่สองก็คือ 82.840 แนวรับสุดท้ายก็คือ 82.711
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 83.280 ซึ่งถ้าสามารถทะลุแนวต้านนี้ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 83.626 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 84.002
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยน หรือ AUDJPY : ปัจจัยเสี่ยงในช่วงนี้ยังคงต้องจับตาดูสกุลเงินออสเตรเลียอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนยังคงต้องจับตาดูในส่วนของปัจจัยจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในเชิงระยะสั้นในช่วงนี้ดังนั้นจับตามองอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิคสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่า
จากปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงนั้นคือในส่วนของสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มี การปรับตัวแข็งค่าขึ้นส่งผลทำให้สกุลเงินหยวนกดดันทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังกล่าวประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิส ยังคงมีทิศทางที่พักตัวระยะสั้นในช่วงนี้ดังนั้นในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
โดยคู่เงิน AUDCHF มีการปรับตัวร่วงลงจากปัจจัยพื้นฐานของสกุลออสเตรเลียส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญและแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.69226 แนวรับที่สองก็คือ 0.69178 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69043
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69343 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69459 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69597
โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ AUDCHF ที่น่าจับตามองอย่างมากก็คือ : สกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยของสกุลเงินหยวนดังนั้นติดตามสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงติดตามปัจจัยคู่เงินนี้อย่างใกล้ชิดเพราะอาจจะส่งผลโดยตรงโดยเฉพาะการขึ้นไหวของสกุลเงินฟรังก์สวิส
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ฟื้นตัวขึ้นจากสินเชื่อที่อยู่อาศัยสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสินเชื่อที่อยู่อาศัย
ในวันนี้มีการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษคือการประกาศจำนวนสินเชื่อในการอนุมัติเพื่อที่อยู่อาศัยประกาศออกมา 87.55K ครั้งก่อน 86.90K โดยที่สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยประกาศออกมา 6.58B ครั้งก่อน 3.03B ซึ่งส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจัยหลักที่อาจจะส่งผลในเชิงระยะสั้นประกอบกับในสัปดาห์นี้มีการประกาศตัวเลขสำคัญเช่นเดียวกันของอังกฤษ
ซึ่งในส่วนของ GBPAUD มีการฟื้นตัวขึ้นจากทั้งแรงหนุนมาจากสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นและแรงกดดันจากสกุลเงินออสเตรเลียที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.83903 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.84422 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84680
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.83609 แนวรับที่สองก็คือ 1.83347 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82963
กรอบปัจจัยเสี่ยงที่จำเป็น จะต้องติดตามของคู่เงิน GBPAUD ในช่วงนี้ก็คือ : สกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดู การประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษที่จำเป็นจะต้องจับตามองอย่างมากประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องจับตามองในส่วนของสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
สกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นแรงหนุน EURUADในคู่เงิน EURAUD ยังคงโดนแรงหนุนมาจาก AUD
อย่างที่กล่าวมาข้างต้นสกุลเงินออสเตรเลียยังคงได้รับแรงกดดันจากดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลง โดยได้รับแรงกดดันมาจากสกุลเงินหยวนมีการปรับตัวอ่อนค่าทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าไปด้วยเช่นเดียวกันประกอบกับในวันพรุ่งนี้จะมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญของจีนจึงอาจจะเป็นแรงกดดันอีกครั้งต้องจับตามองการประกาศตัวเลขนี้
โดยที่คู่เงิน EURAUD ยังคงได้รับแรงหนุนจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นโดยแนวต้านแรกจะอยู่ที่ 1.5810 แนวต้านที่สองก็คือ 1.58251 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.58547
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.57714 แนวรับที่สองก็คือ 1.57587 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.57483
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ EURAUD ที่น่าจับตามองในสัปดาห์นี้ : สกุลเงินหยวนยังคอยกดดันสกุลเงินออสเตรเลียและสกุลเงินนิวซีแลนด์จึงทำให้คู่เงินนี้ยังคงต้องจับตามองสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการประกาศตัวเลขสำคัญในช่วงสั้นในสัปดาห์นี้จึงอาจจะส่งผลสร้างความผันผวนในระยะสั้นเท่านั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/JPY : เริ่มปรับตัวลงระยะสั้นโดนกดดันจากสกุลเงินเยนอีกครั้งสำหรับ AUDJPY
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวย่อตัวลงอย่างเห็นได้ชัด
ซึ่งจากปัจจัยนี้ทำให้ AUDJPY มีการปรับตัวร่วงลงดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงทะลุ 84.528 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 84.440 แนวรับสุดท้ายก็คือ 84.361
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 84.712 แนวต้านที่สองก็คือ 84.803 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 84.906
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน AUDJPY : สกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องมีปัจจัยหนุนหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของการประกาศตัวเลขที่สำคัญและอาจจะมีความผันผวนจากการประกาศนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐประกอบกับสกุลเงินเยนยังจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ช่วงระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : โดนกดดันจากสกุลเงินออสเตรเลียสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการอ่อนค่าลงของสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68972 แนวรับที่สองก็คือ 0.68886 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68691
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.69221 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69374 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69508
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียเพราะจะคอยกดดันสกุลเงินนี้อย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟังสวิตในตอนนี้คงมีการพักตัวจึงควรติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามประกาศ CPIการประกาศสำคัญของอังกฤษคือการประกาศ CPI
ในวันพุธจะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศดัชนีราคาผู้บริโภคและดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานพร้อมทั้งดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานที่จะมีการประกาศในช่วงเวลาประมาณ 13:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนรวมทั้งจะมีการประกาศดัชนีภาคผลิตอุตสาหกรรมของจีน
การประกาศเหล่านี้จะส่งผลทำให้ทั้งสกุลเงินปอนด์และสกุลเงินหยวนมีความผันผวนรวมทั้งสกุลเงินออสเตรเลียจึงอาจจะส่งผลทำให้คู่เงิน GBPAUD มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ดังนั้นในคู่เงิน GBPAUD จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.83753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.84358
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82939 แนวรับที่สองก็คือ 1.82558 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82367
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงิน GBPAUD : ต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญของอังกฤษ ประกอบกับสกุลออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์และสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/AUD : เริ่มฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียเริ่มอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียเริ่มมีการปรับตัวและฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรมีการปรับตัวพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้น
โดยปัจจัยหลักยังคงติดตามสกุลเงินหยวนถ้าเกิดมีการปรับตัวอ่อนค่าลงสกุลออสเตรเลียก็ยังมี การปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงต้องมีปัจจัยที่น่าติดตามในระยะสั้น
ดังนั้นคู่เงิน EURAUD ยังจำเป็นจะต้องติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 1.58063 แนวต้านที่สองก็คือ 1.58192 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.58335
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.57609 แนวรับที่สองก็คือ 1.57426 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.57175
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่ EURAUD : โดยปัจจัยเสี่ยงหลักที่สำคัญอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียเพราะจะมีความผันผวนกับสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวดังนั้นสกุลเงินหยวนจำเป็นจะต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EURAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EU พร้อมที่จะเจาะตลาดด้วยมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจสหภาพยุโรปพร้อมที่จะเจาะตลาดด้วยมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า 900 พันล้านดอลล่าห์
ในที่สุดสหภาพยุโรปพร้อมที่จะมีการระดมทุนที่จำเป็นอย่างมากจากตลาดสาธารณะและกระตุ้นเศรษฐกิจของสมาชิก 27 ประเทศหลังจากที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤต โควิด-19
กลุ่มนี้ได้ตัดสินใจอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในเดือนกรกฎาคมเพื่อร่วมกันเพื่อลงทุนเพื่อสนับสนุนฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งเป็นความพยายามทางด้านการคลังมูลค่า 750 พันล้านยูโร ซึ่งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจนี้อยู่เหนือสิ่งที่รัฐบาลแต่ละประเทศปรับใช้ซึ่งปรับใช้ในการเกิดมาจากการระบาดครั้งใหญ่ของ โควิด-19
ขณะนี้ได้ดำเนินการตามขั้นตอนทางกฎหมายทั้งหมดและคณะกรรมาธิการยุโรปสามารถเข้าถึงตลาดทุนเพื่อค้นหากองทุนเหล่านั้นภายในต้นเดือนนี้
คณะกรรมาธิการยุโรปพร้อมที่จะออกสู่ตลาดเพื่อหาเงินในการสร้างสหภาพยุโรปที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในรูปแบบของดิจิตอลที่ยืดหยุ่นมากขึ้น เป็นคำกล่าวของผู้นำสหภาพยุโรปผ่านทางทวิตเตอร์
สถาบันกล่าวว่าเมื่อวันจันทร์สถาบันการเงิน 38 แห่งจะเป็นตัวแทนจำหน่ายหลักรวมถึงง BNP Paribas ของฝรั่งเศส ธนาคาร Deutsche Bank ของเยอรมนี และ UniCredit ของอิตาลี
ซึ่งปัจจัยเหล่านี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินยูโรมีความผันผวนอย่างหนักและอาจจะเป็นการกดดันทั้งสกุลเงินดอลล่าร์ในระยะสั้นดังนั้นสกุลเงินยูโรอาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกัน
โดยคู่เงินที่น่าสนใจของปัจจัยนี้ก็คือสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียหรือ EURAUD ซึ่งคู่เงินนี้ในรอบวันมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในหลายวันที่ผ่านมา
ซึ่งถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.59034 แนวต้านที่สองก็คือ 1.60007 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61584
แต่ปัจจัยที่อาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงและควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญแรกก็คือ 1.55944 เป็นกรอบแนวรับที่หนึ่ง กรอบแนวรับที่สองก็คือ 1.54713 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.52660
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้และสกุลเงินยูโร : สกุลเงินยูโรยังคงเป็นปัจจัยที่จะต้องติดตามว่าสกุลเงินดอลล่าร์จะมีการผันผวนอย่างไร ประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องติดตามปัจจัยของสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิดในช่วงนี้ดังนั้นติดตามการประกาศตัวเลขของสหรัฐอเมริกาคือการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรในวันศุกร์นี้อาจจะส่งผลในเชิงระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/JPY : ยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินออสเตรเลียพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่ตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นเช่นเดียวกันทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวพักตัวระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 84.822 แนวรับที่สองก็คือ 84.668 แนวรับสุดท้ายก็คือ 84.535
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 85.152 แนวต้านที่สองก็คือ 85.273 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 85.398
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้อยู่คงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังคงต้องติดตามถึง การประกาศตัวเลขที่สำคัญของออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนจำเป็น ต้องติดตามตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ย่อตัวต่อเนื่องหรือไม่สกุลเงินฟรังก์สวิสจะแข็งค่าขึ้นได้หรือไม่
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวร่วงลงในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงทะลุ 0.69966 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 0.69890 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.69769
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70213 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70314 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70413
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่จำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขสำคัญทั้งนิวซีแลนด์และสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/AUD : สามารถขยับขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินยูโรได้รับแรงหนุนจากรถอีกครั้งหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินยูโรได้รับแรงหนุนจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.56623 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.56961 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.57165
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.56350 แนวรับที่สองก็คือ 1.55940 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.55489
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินออสเตรเลียที่อาจจะได้รับแรงกดดันหรือได้รับแรงหนุนจากการประกาศรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงต้องติดตามถึงปัจจัยจากสกุลเงินดอลล่าร์อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : เริ่มฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากปัจจัยของธนาคารกลางอังกฤษเริ่มมีการส่งสัญญาณในการความกังวลของเรื่องเงินเฟ้ออาจจะส่งผลทำให้การใช้มาตรการลดการอัดฉีดเม็ดเงินประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบ แนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82295 แนวต้านที่สองก็คือ 1.82560 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.82840
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลง แนวรับแรกก็คือ 1.81647 แนวรับที่สองก็คือ 1.81061 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.80150
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็น จะต้องติดตามถึงการแถลงของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามรายงานการประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางอังกฤษ
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUDJPY H2 แผนวันนี้ 11/5/64 เล่น sell ได้เปรียบ ลุ้นจุดกลับตัวบันทึกการเทรดน้า
เมื่อวันวาน #AJ #Forex #audjpy เปิด85.244 สูงสุด 85.800 ต่ำสุด85.137 ปิด85.156 +0.031 pib
แท่งแดง Pinbar น่าลุ้น
AUDJPY H2 แผนวันนี้ 11/5/64
แนวทางเล่น sell ได้เปรียบ ลุ้นจุดกลับตัว
ไม่ใช่ก็เจ็บตัว
แผนA. ราคาปิดแท่งยืนเหนือ 85.800 สามารถวางแผนเปิด #buy ตามได้แก้ไข ไม้ที่sellลงไป มีโอกาสขึ้นไปทดสอบ 86.500 และ86.950
แผนB. ราคาปิดแท่ง แต่ไม่สามารถยืนเหนือ 85.100 ดักตีหัวลง สามารถวางแผนเปิด #Sell ได้ มีโอกาสลงไปทดสอบเป้า 84,300 และ83,300
Stoploss 85.880 เปิดไม้แก้ตามแผนA
แผนC .ราคาปิดลงหลุด 83.900 เกาะท้ายรถ สามารถวางแผนเปิด #Sell ได้ มีโอกาสลงไปทดสอบเป้า 83.300 ต้องหลุดจริง และให้ระวังแท่งสวน
แผนD .ราคาลงแต่ไม่หลุด 84.650 หรือหลุดแต่มีแรงซื้อยกกลับ สามารถวางแผนเปิด #buy กลับไปได้ มีโอกาสขึ้นไปทดสอบเป้า 85.100, 85.800
จุดประสงค์เพื่อเสนอแนวการวางแผนเทรดเท่านั้น ไม่ได้ชี้นำหรือฟันธงตลาด
กรณีที่ผิดทาง StopLoss ไว้ด้วยนะ
ไม่ว่าตลาดจะเลือกทางไหน ขอให้ทำตามแผนที่วางไว้ และมีวินัย สามารถได้กำไรทุกคนครับ.
ไม่ดื้อ ไม่โลภ ไม่กลัว
เสี่ยงเท่าที่คุณจะสูญเสียมันได้
นิ่งให้พอ รอให้เป็น เย็นให้ได้
เล็กน้อยxสม่ำเสมอ = มหาศาล
AUD/JPY : มีการย่อตัวลงระยะสั้นสกุลเงินเยนกดดันคู่เงินนี้ระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้คงมีการร่วงลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการร่วงลงของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวทำให้คู่เงินนี้มีการร่วงลงระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 84.979 แนวรับที่สองก็คือ 84.769 แนวรับสุดท้ายก็คือ 84.544
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 85.401 แนวต้านที่สองก็คือ 857603 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 85.749
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินเยนที่จำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่อาจจะมีความผันผวนจากการประกาศตัวเลขที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินหยวนในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zo
AUD/CHF : ขยับตัวขาขึ้นระยะสั้นสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจมีการอ่อนค่าลงระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ที่มีการฟื้นตัวขึ้นระยะสั้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 0.70885 แนวต้านที่สองก็คือ 0.70933 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.70979
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.70783 แนวรับที่สองก็คือ 0.70734 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.70627
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามถึงสกุลออสเตรเลียที่จำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยจากสกุลเงินหยวนในระยะสั้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามถึงตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์อีกเช่นกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : ยังคงมีโอกาสฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องสกุลเงินปอนด์มีโอกาสแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวสูงขึ้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.79907 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.80050 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.80232
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.79681 แนวรับที่สองก็คือ 1.79334 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.79001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยจากการเปิดประเทศของอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามสกุลเงินดอลล่าร์และสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/AUD : จะยกตัวขึ้นได้หรือไม่สกุลเงินออสเตรเลียจะมีการอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการร่วงลงในระยะกลางแต่ในระยะสั้นดูเหมือนว่าอาจจะมีการยกตัวขึ้นจึงควรติดตามว่าจะมีการขยับตัวสูงขึ้นอ่ะหรือไม่โดยที่สกุลออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรยังคงมีการพักตัวระยะสั้นจึงทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.54707 แนวต้านที่สองก็คือ 1.54859 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.55048
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.54531 แนวรับที่สองก็คือ 1.54278 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.54079
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินหยวนที่อาจจะเป็นทั้งแรงหนุนและแรงกดดันขอสกุลเงินออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินยูโรจำเป็นจะต้องติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/JPY : มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องสกุลเงินออสเตรเลียอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการกดดันจากสกุลเงินหยวนประกอบกับในส่วนของสกุลเงินเยนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้น จากการปรับตัวร่วงลงของดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ จึงทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงพยานศาลจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 83.909 แนวรับที่สองก็คือ 83.734 แนวรับสุดท้ายก็คือ 83.524
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 84.230 แนวต้านที่สองก็คือ 84.475 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 84.731
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินเยนที่ต้องติดตามดัชนี Nikkei ฟิวเจอร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจะเป็นต้องติดตามสกุลเงินหยวนอย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด