AUD (ดอลล่าร์ออสเตรเลีย)
ประกาศ GDP อังกฤษ ไตรมาส 3การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สาม
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สามรวมทั้งการประกาศอีกหลายการประกาศแต่การประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีซึ่งจะมีการประกาศในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยโดยที่จะมีการประกาศดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพีของอังกฤษเทียบไตรมาสต่อไตรมาสและปีต่อปีซึ่งอาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังในครั้งนี้นักลงทุนต่างคาดหวังการประกาศดัชนีจีดีพีในหลายภาคส่วนแต่ที่เซอร์ไพรซ์ก็คือการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 6.6% และการประกาศดัชนีจีดีพีเทียบไตรมาสไตรมาสจะประกาศประมาณ 1.3% ซึ่งเท่ากันกับครั้งก่อนทั้งสองการประกาศดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศ surprise ของตลาดหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยคู่เงินที่สำคัญที่จำเป็นจะต้องติดตามก็คือ การประกาศดัชนีจีดีพีนั้นอาจจะส่งผลทำให้ GBP มีความผันผวนและคู่เงินที่ต้องจับตาดูก็คือ GBPAUD ซึ่งถ้าเกิดว่ามีความผันผวนในระยะสั้นนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.85271 แนวรับที่สองก็คือ 1.84974 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.84569
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85672 แนวต้านที่สองก็คือ 1.85925 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86290
ปัจจัยทางด้านเทคนิคกับค่าเงินปอนด์สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีความผันผวนและอาจจะมีการปรับตัวร่วงลง
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลีย หรือ GBPAUD มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการอ่อนค่าของดอลล่าร์ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความผันผวนระยะสั้นดังนั้นอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในเชิงเทคนิคแต่ควรติดตามกรอบแนวรับสำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.84634 แนวรับที่สองก็คือ 1.84314 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.83960
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85322 แนวต้านที่สองก็คือ 1.85623 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86253
ปรับดอกเบี้ย ECBการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรป
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการประกาศที่สำคัญอีกครั้งของการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปที่จะมีการประกาศในช่วงเวลา 19:45 น. รวมทั้งจะมีถ้อยแถลงเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินประกอบกับจะมีการแถลงต่อหน้าสื่อมวลชนของประธานธนาคารกลางยุโรปโดยที่นักลงทุนต่างจับตาดูว่าในการประกาศในครั้งนี้จะเกี่ยวเนื่องถึงมาตรการผ่อนคลายทางการเงินหรือไม่
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างจับตาดูถึงเรื่องการจับตาถึงการกล่าวถึงนโยบายทางการเงินโดยที่เกี่ยวเนื่องกับมาตรการผ่อนคลายทางการเงินซึ่งแน่นอนว่าในการประกาศปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปนั้นอาจจะมี การคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่เท่าเดิมโดยเฉพาะอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสถาบันการเงินที่ฝากไว้กับธนาคารกลางซึ่งจะมีการคงดอกเบี้ยไว้ที่ -0.50% ดังนั้นจึงจับตาดูมาตรการผ่อนคลายทางการเงินว่าจะมีความเห็นและแนวโน้มอย่างไรอาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวน
การวิเคราะห์ของราคา
โดยปัจจัยนี้มักจะส่งผลทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนโดยเฉพาะ EURAUD ที่มีความผันผวนระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.5709 เศียรแนวรับที่สองก็คือ 1.56728 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.56405
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.57845 แนวต้านที่สองก็คือ 1.58156 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.58534
แผนเทรด AUD/CHFแผนเทรด AUDCHF เเนวโน้มมองลงครั้งนี้เทรดตามเทรน ดีมาก ใน D1 H4 เป็นขาลง ในH1 ราคาได้ปรับตัวขึ้นมาทำเเพทเทิร์น Bearish Flag เเละเกิดBearish Divergence :ตามมาด้วย การเข้าให้ราคาขึ้นไปเทส เเนวต้านหรือ Supply zone อีกรอบ ครั้งนี้มาได้ RR เยอะ เเต่ก็มีโอกาสโดน sl ได้
เหตุผลที่เข้า
1. D1 ขาลง
2. H4 ขาลง
3. เกิดเเพทเทิร์น Bearish Flag
4. Bearish Divergence :
5. เเนวต้าน Supply zone RBD
6.เล่นตามเทรน
Trading Journal#13 GBPAUD รอBuyรอเข้า Buy ที่บริเวณ Price Structure สำคัญแถวๆราคา 1.8546
โดยเป็น Confluence Zone ทีมีทั้งฟิโบหลายแนวบรรจบกันตรงนี้ +Hidden Divergence RSI + DMZ Compression
จริงๆสามารถเข้าได้เลย แต่เพื่อให้ได้ของถูก เราจะรอเข้าที่ราคา 1.8546 เพื่อรันเทรนระยะกลาง เก็บ TP1 ที่ High เดิม
ECB เผชิญกับอัตราเงินเฟ้อECB เผชิญกับการเรียกร้องให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อหลังจากที่พาวเวลล์ของเฟดลดลง 'ชั่วคราว'
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
นายเจอโรม พาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สร้างความประหลาดใจให้กับผู้เล่นในตลาดเมื่อต้นสัปดาห์นี้ เมื่อปรับน้ำเสียงเกี่ยวกับเงินเฟ้อ นักเศรษฐศาสตร์ในยุโรปกล่าวว่าธนาคารกลางยุโรปจำเป็นต้องทำเช่นเดียวกัน
พาวเวลล์บอกกับฝ่ายนิติบัญญัติของสหรัฐฯ ว่า “อาจเป็นเวลาที่ดีที่จะเลิกใช้คำนั้น (ชั่วคราว) และพยายามอธิบายให้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่าเราหมายถึงอะไร” เมื่อพูดถึงอัตราเงินเฟ้อ
ราคาผู้บริโภคที่สูงขึ้นเป็นเรื่องของความกังวลที่เพิ่มขึ้นสำหรับตลาดการเงิน อัตราเงินเฟ้อแตะระดับเหนือเป้าหมายของธนาคารกลางแล้ว และผู้จัดการเงินก็ยังสงสัยว่านโยบายการเงินที่ง่ายดายเป็นแนวทางที่ถูกต้องหรือไม่ นี่ไม่ใช่ข้อยกเว้นในเขตยูโร
การคาดหวังในครั้งนี้?
“ช่วงเปลี่ยนผ่านแนะนำว่าเราไม่จำเป็นต้องกังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่เราไม่รู้ว่าเราควรกังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือไม่” จอร์จ บัคลีย์ หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์สหราชอาณาจักรและยูโรโซนที่โนมูระ กล่าวกับ CNBC เมื่อวันพุธ
เขาแนะนำว่ายังไม่ชัดเจนว่าอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในยูโรโซนจะเป็นเครื่องหมายถาวรต่อเศรษฐกิจหรือไม่
ข้อมูลที่เผยแพร่เมื่อวันอังคารแสดงให้เห็นว่าอัตราเงินเฟ้อแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในกลุ่มสมาชิก 19 รายที่ 4.9% ในเดือนพฤศจิกายน นโยบายของ ECB คือการทำงานไปสู่อัตราเงินเฟ้อที่ 2% ในระยะกลาง
จนถึงตอนนี้ ธนาคารกลางกล่าวว่าคาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะลดลงตลอดปี 2565 ซึ่งบ่งชี้ว่ายังคงจำเป็นต้องมีนโยบายการเงินที่ค่อนข้างผ่อนคลาย แต่มีคำถามเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เกี่ยวกับช่วงเวลาที่อัตราเงินเฟ้อสูงนี้จะใช้เวลานานกว่าที่ ECB คาดไว้หรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรมีความผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะคู่เงิน
ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.45311 แนวต้านที่สองก็คือ 1.45533 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.46081
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.44627 แนวรับที่สองก็คือ 1.44223 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.43761
GDP ของออสเตรเลียการประกาศดัชนีจีดีพีของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
หรือช่วงเวลา 07:30 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของออสเตรเลียประจำใจมาสที่สามทั้งปีต่อปีและเดือนต่อเดือนซึ่งอาจจะทำให้ค่าเงินของสกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในระยะสั้นและระยะกลางดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาอย่างไร
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการจับตาดูการประกาศในครั้งนี้ยังคงมีความผันผวนของค่าเงินสกุลเงินออสเตรเลียแต่นักวิเคราะห์และนักลงทุนต่างจับตามองในหลายปัจจัย โดยเฉพาะการประกาศดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามเทียบไตรมาสต่อไตรมาสโดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา -2.7% ครั้งก่อน 0.7% ประกอบกับ ดัชนีจีดีพีประจำไตรมาสที่สามเทียบปีต่อปีครั้งก่อน 9.6% แต่คาดการณ์อยู่ที่เพียงแค่ 3.0%
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้ค่าเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียหรือ EURAUD มีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.15485 แนวรับที่สองก็คือ 1.15357 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.15288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.15671 แนวต้านที่สองก็คือ 1.15761 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.15819
ดัชนีราคาสินค้าส่งออกนำเข้าของเยอรมนีกับ EURดัชนีราคาสินค้านำเข้าส่งออกของเยอรมันนีเป็นผลกับค่าเงินยูโรระยะสั้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 14:00 น. จะมีการประกาศดัชนีราคาสินค้าส่งออกของเยอรมนีประจำเดือนตุลาคมและสินค้านำเข้าของเยอรมนี ประจำเดือนตุลาคมซึ่งนักวิเคราะห์และนักลงทุนต่างจับตามองปัจจัยนี้ในระยะสั้นเนื่องจากว่าประเทศเยอรมนียังคงเป็นประเทศที่คอยดูแลจัดการสำหรับกลุ่มยูโรโซนในระยะสั้นนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการคาดหวังของการประกาศในครั้งนี้อาจจะส่งผลทำให้ค่าเงินยูโรในระยะสั้น ซึ่งโดยที่ดัชนีราคาสินค้าส่งออกเยอรมันนีประจำเดือนตุลาคม นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 2.0% ครั้งก่อน 1.3% และดัชนีราคาสินค้านำเข้าของเยอรมนีประจำเดือนตุลาคมเทียบปีต่อปีจะประกาศออกมา 19.6% ครั้งก่อน 17.7% อาจจะสะท้อนเห็นถึง ความเติบโตของเศรษฐกิจ
จากปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียหรือเรียกว่า EURAUD อาจจะยังคงเฝ้าจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญและการเคลื่อนไหวของทั้งสองค่าเงินอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.55660 แนวรับที่สองก็คือ 1.55536 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.55288
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.56161 แนวต้านที่สองก็คือ 1.56310 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.5646
ยอดขายปลีกออสเตรเลียกับค่าเงินออสเตรเลียจะมีการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลีย
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
การประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียเทียบเดือนต่อเดือนประจำเดือนตุลาคมจะมีการประกาศในช่วงเวลา 07:30 น. ตามเวลาประเทศไทยอาจจะทำให้ค่าเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในระยะสั้นอย่างไรก็ตามยังคงเป็นการผันผวนระยะสั้นเท่านั้น
การคาดหวังในครั้งนี้?
ในการคาดหวังของนักวิเคราะห์ยังคงมีหลายสำนักและหลายปัจจัยที่ยังคงมีการคาดการณ์ของการประกาศดัชนียอดขายปลีกของออสเตรเลียประจำเดือนตุลาคมซึ่งมีบางสำนักได้มีการคาดการณ์ออกมาว่าจะประกาศออกมา 2.5% ครั้งก่อน 1.3% ซึ่งต้องจับตาดูว่าค่าเงินออสเตรเลียจะมีความผันผวนและแข็งค่าขึ้นหรือไม่
การวิเคราะห์ของราคา
โดยคู่เงินที่สำคัญที่ยังคงมีความผันผวนในการประกาศในครั้งนี้ก็คือ AUDJPY ซึ่งอาจจะมีการพักตัวระยะสั้นต้อง จับตาดูการประกาศในครั้งนี้
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 82.821 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 82.710 แนวรับสุดท้ายก็คือ 82.360
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 83.287 แนวต้านที่สองก็คือ 83.674 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 83.804
GBP/AUD : พักตัวระยะสั้นค่าเงินปอนด์กับสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะพักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียตอนนี้อยู่คงมีการพักตัวระยะสั้นเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้นแต่เดี๋ยวคงพักตัวประกอบกับที่ส่งของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวหลังจากที่ตลาดเริ่มพักตัวเช่นเดียวกันดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.85030 แนวรับที่สองก็คือ 1.84464 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.84227
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.85956 แนวต้านที่สองก็คือ 1.86361 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.86667
การประกาศอัตราการว่างานอังกฤษจะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษ
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 14:00 น. ตามเวลาประเทศไทยจะมีการประกาศอัตราการว่างานของอังกฤษรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานของอังกฤษประกอบกับจะมีการประกาศดัชนีรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสของอังกฤษซึ่งเป็นการประกาศของเดือนกันยายน แต่จำประกาศในส่วนของการเปลี่ยนแปลงในจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการจะเป็นการประกาศของเดือนตุลาคมจับตาดูการประกาศในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ในการประกาศในครั้งนี้หลายการประกาศไม่ว่าจะเป็นทั้งการประกาศรายได้เฉลี่ยพร้อมโบนัสประจำเดือนกันยายน นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 5.6% ครั้งก่อน 7.2% ประกอบกับการประกาศการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการการว่างงานประจำเดือนตุลาคมครั้งก่อน -51.1K แต่ไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ซึ่งการประกาศอัตราการว่างานประจำเดือนกันยายนของอังกฤษนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 4.4% ครั้งก่อน 4.5%
การวิเคราะห์ของราคา
การประกาศในครั้งนี้อาจจะทำให้ GBPAUD อาจจะมีความผันผวนในระยะสั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการประกาศออกมาทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82559 แนวต้านที่สองก็คือ 1.82876 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83040
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82223 แนวรับที่สองก็คือ 1.82052 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81886
GBP/AUD : มีโอกาสปรับตัวที่ลงลงสกุลเงินปอนด์มีโอกาสปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันแต่คู่กันี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงจากสกุลเงินปอนด์มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82070 แนวรับที่สองก็คือ 1.81764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81298
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83231 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83854
GBP/AUD : มีโอกาสปรับตัวที่ลงลงสกุลเงินปอนด์มีโอกาสปรับตัวอ่อนค่าลงหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงเช่นเดียวกันแต่คู่กันี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงจากสกุลเงินปอนด์มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82070 แนวรับที่สองก็คือ 1.81764 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81298
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.82753 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83231 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83854
มุมมองการเทรดคู่เงิน AUDJPY - SHORT TRADE SETUPAUDJPY ในมุมมองภาพใหญ่
Weekly Trend: Bearish
Daily Trend: Bullish
H4 Trend: Bullish
อย่างไรก็ตามเนื่องจาก ใน TF H1 นั้นทำ QM Pattern จึงเป็นโอกาสในการให้เราเข้า Sell เพื่อเล่นสวนเทรนด์สั้นๆได้ และมี Risk to reward ที่คุ้มค่าในการ Sell
นี้เป็นเพียงความคิดส่วนบุคคล อาจจะกำไรและขาดทุน
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
AUD/JPY : อาจจะฟื้นตัวขึ้นต่อเนื่องสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงเป็นแรงหนุนทำให้สกุลเงินหยวนมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังคงมีการปรับตัวสูงขึ้นทำให้สกุลเงินเยนมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้ คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 85.838 แนวต้านที่สองก็คือ 85.971 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 86.221
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 85.481 แนวรับที่สองก็คือ 85.175 แนวรับสุดท้ายก็คือ 84.997
AUD อาจมีการอ่อนค่าระยะสั้นสกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงอาจมีการฟื้นตัวขึ้นหรือไม่
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากการที่ดอลล่าร์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีความเสี่ยงที่มีการขยับตัวสูงขึ้นในปัจจัยเชิงเทคนิค
ดังนั้นในการขยับตัวขึ้นในครั้งนี้จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญโดยเฉพาะปัจจัยของดอลล่าร์ในระยะสั้น
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นทะลุ 1.61686 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 1.61939 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.62174
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60991 แนวรับที่สองก็คือ 1.60634 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.60028
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีสกุลเงินออสเตรเลียยังคงต้องเฝ้าจับตามองสกุลเงินหยวนอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของดอลล่าร์ยังคงต้องจับตาดูการประกาศตัวเลขสำคัญหลายตัวเลขในระยะสั้น
AUD/JPY : ปัจจัยเชิงเทคนิคปรับตัวลงสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวผันผวนระยะสั้น
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินเยนในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลงต่อเนื่องโดยที่สกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการพักตัวระยะสั้นแต่สกุลเงินเยนยังคงมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นดังนั้นถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องอาจจะทำให้ปัจจัยในเชิงเทคนิคอาจจะมีการปรับตัวร่วงลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 80.729 แนวรับที่สองก็คือ 80.601 แนวรับสุดท้ายก็คือ 80.394
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 81.141 แนวต้านที่สองก็คือ 81.369 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 81.619
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากของคู่เงินนี้ก็คือปัจจัยของสกุลเงินเยนยังคงต้องจับตาดูตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่ดูเหมือนว่ายังคงมีการปรับตัวย่อตัวลงระยะสั้นอาจจะทำให้คู่เงินนี้มีความผันผวนดังนั้นจึงควรติดตามปัจจัยนี้อย่างใกล้ชิด
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUDJPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : ปัจจัยทางด้านเทคนิคฟื้นตัวขึ้นสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวสูงขึ้นระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวพักตัวแต่ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการปรับตัวอ่อนค่าลงทำให้คู่เงินนี้ในแนวโน้มระยะสั้นมีการฟื้นตัวขึ้นดังนั้นถ้าเกิดมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแนะนำควรติดตามกรอบแนวรับ แนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.87192 แนวต้านที่สองก็คือ 1.87495 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.87798
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.86538 แนวรับที่สองก็คือ 1.86255 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.85830
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้คงต้องติดตามในระยะที่สำคัญอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทั้งสกุลยพรที่อาจจะเป็นจะต้องติดตามไม่ว่าจะเป็นทั้งปัจจัยในสัปดาห์นี้และสัปดาห์ถัดไปประกอบกับในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจำเป็นจะต้องติดตามปัจจัยของสกุลเงินดอลล่าร์อย่างใกล้ชิด
The Elliott Wave Basic Pattern EURAUD H1 และแผนการเทรดEURAUD H1
มีลักษณะคล้าย รูปแบบปฐมบทของ Elliott Wave หรือ The Basic Pattern
กล่าวง่าย ๆ คือ สวิงขึ้นแล้ว สวิงย่อ เก็งการเกิดคลื่น 1 - 2 --->3 ได้
ในรายละเอียดของ 1-2 จะมี 8 คลื่น คือ (1)-(2)-(3)-(4)-(5) แล้วย่อเป็น (a)-(b)-(c)
ภาพที่เห็นตอนนี้ (a)-(b)-(c) มีโอกาสเป็นคลื่นปรับชนิด Zigzag
โดยมีคลื่นย่อยเป็น
(a) : Impulse Wave ประกอบด้วย 5 คลื่นย่อย
(b) : Expanded Flat ประกอบด้วย 3 คลื่นย่อย
(c) : กำลังก่อตัวอยู่ เดาว่าเป็น Ending Diagonal ประกอบด้วย 5 คลื่นย่อย
.
เรามาดูต่อกันที่ Ending Diagonal สิ่งที่บังคับคือ คลื่น 4 ต้องมีระดับทับซ้อนกับคลื่น 1
และเมื่อลากเส้นแนวโน้มบนล่างจะสอบเข้าหากัน ขณะนี้มองว่ากำลังเริ่มคลื่น 4 ย่อย
ของ Ending Diagonal
.
การวางแผนเทรด Long
เมื่อเงื่อนไขทั้งหมดครบ
1. เกิด The Basic Pattern ข้างต้น Ending Diagonal ลงครบ 5 คลื่น
2. การย่อเกิน 61.8% หรือ 78.6% ที่ระดับราคาราว 1.6000
3. การ Long แบบที่ 1 เล่นการจบ Ending Diagonal เมื่อราคาเบรคคลื่น 4 ย่อยของ Diagonal ขึ้นไปได้
4. การ Long แบบที่ 2 เล่นการจบ Zigzag เมื่อราคาเบรคระดับคลื่น B ย่อยของ Zigzag ขึ้นไปได้
.
แผนทั้งหมดล้มเลิก
1. หากการย่อลงเกิน 90% ไม่เล่นแล้ว แสดงว่ามีโอกาสกลับตัวลงไปเลย ย่อแล้วยวบ
2. คลื่น (c) ไม่เป็น Diagonal
GBP/AUD : ยังคงยังคงมีการปรับตัวลงสกุลเงินออสเตรเลียแข็งค่าขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้อยู่คงมีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นเนื่องจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากการกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงดังนั้นคู่เงินนี้อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัด
อย่างไรก็ดี GBPAUD อาจจะยังคงเป็นการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นดังนั้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.87991 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.87748 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.87275
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.88384 แนวต้านที่สองก็คือ 1.88866 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.89280
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญจำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียเพราะจะกดดันสกุลเงินหลายสกุลเงินรวมทั้งคู่เงินนี้อย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPAUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด