AUD/JPY : ในระยะสั้นยังอยู่ในทิศทางขาลงAUD/JPY : ในระยะสั้นยังอยู่ในทิศทางขาลง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียเริ่มมีปัจจัยหนุนที่เกี่ยวเนื่องกับสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์เรื่องให้การส่งสัญญาณว่าอาจจะยังคงให้บริษัทหัวเว่ย ยังคงอยู่ในลิสต์ที่จะต้องคอยติดตามและจับตามองอาจจะมี ในส่วนของการจำกัดการซื้อขายของบริษัทนี้จึงทำให้ ตลาดหุ้นฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงและสกุลเงินออสเตรเลียมีการร่วงลงเล็กน้อยถึงแม้ว่ามีการกดดันที่มีการดีดตัวขึ้นหลังจากที่มีการปรับลดอัตราเบี้ยและมีมุมมองที่ดีของสกุลเงินออสเตรเลียก็ ยังโดนกดดันมาจากเหตุการณ์นี้ในส่วนของ Nikkei ฟิวเจอร์ที่มากกว่าตันสกุลเงินเยน ก็อาจจะอยู่ในส่วนของที่จะต้องรอคอยปัจจัยหนุนจาก Nikkei ฟิวเจอร์ซึ่งในตอนนี้ อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้น
ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สำคัญเพื่อที่จะสามารถติดตามได้ตอนนี้ก็คือ 75.438 ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องแนวรับที่สองก็คือ 75.333 แนวรับที่สามก็คือ 75.248 แนวรับสุดท้ายก็คือ 75.105
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านแรกก็คือ 75.721 แนวต้านที่สองก็คือ 76.019 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 76.267
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังคงอยู่ในทิศทางของสกุลเงินออสเตรเลียที่จะต้อง รอคอยปัจจัยจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาซึ่งต้องรอดูว่าความชัดเจนของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์จะเป็นอย่างไรในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ก็ต้องรอปัจจัยเดียวกันในช่วงนี้จึงควรติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD (ดอลล่าร์ออสเตรเลีย)
AUD/CHF : จะมีโอกาสขึ้นต่อเนื่องหรือไม่AUD/CHF : จะมีโอกาสขึ้นต่อเนื่องหรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีความผันผวนจากเกี่ยวเนื่องจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนโดยที่ในตอนนี้สหรัฐอเมริกายังคงไม่มีความชัดเจนเกี่ยวเนื่องกับหัวเว่ย ที่ดูยังคลุมเครือว่ายังอาจจะต้องติดแบล็คลิสต์ในการที่จะเกี่ยวเนื่องจากสินค้าซึ่งในช่วงนี้ประเทศจีนยังไม่มีการตอบโต้แต่อย่างใดต้องรอดูว่าจะออกมาในทิศทางไหนอย่างไรในส่วนของสกุลเงินสวิตฟังยังคงเป็นปัจจัยที่มาจากตลาดหุ้นฟิวเจอร์ในตอนนี้ที่ยังคงมีความผันผวนเพราะเหตุการณ์บางเหตุการณ์ในสหรัฐอเมริกาซึ่งแน่นอนว่าจะสามารถดีดตัวขึ้นต่อ หรือไม่ต้องคอยติดตาม
โดยที่ถ้าสามารถดีดตัวขึ้นไปได้แนวต้านแรกก็คือ 0.69185 แนวต้านที่สองก็คือ 0.69294 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.69427
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงมา แนวรับที่สำคัญแรกก็คือ 0.68865 แนวรับที่สองก็คือ 0.68747 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68581
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินสวิตฟังก็ยังคงเป็นปัจจัยมาจากทิศทางของตลาดหุ้นฟิวเจอร์และทิศทางของตลาดหุ้นของสวิสฟรังฟิวเจอร์แน่นอนว่าจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินฟิวเจอร์อย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/AUD : จะดีดตัวขึ้นในระยะสั้นGBP/AUD : จะดีดตัวขึ้นในระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
เนื่องจากความเสี่ยงของสกุลเงินออสเตรเลียที่อาจจะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีการอ่อนค่าลงทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างไรก็ตามในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงเป็นปัจจัยหนุนในระยะสั้นเท่านั้นจึงควรติดตามว่าจะมีการดีดตัวขึ้นได้หรือไม่แต่แนวโน้มสกุลเงินออสเตรเลียอาจจะมีการอ่อนค่าลงทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้น
โดยถ้าเกิดว่าสามารถทะลุ 1.81698 ขึ้นไปได้แนวต้านอีกสองแนวต้านที่สำคัญก็คือ 1.81903 เป็นแนวต้านที่สองแนวต้านที่สามก็คือ 1.82143
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.81128 แนวรับที่สองก็คือ 1.80570 ซึ่งถ้าสามารถทะลุสองแนวรับนี้ลงมาได้จะอยู่ในทิศทางขาลงอีกหนึ่งรอบ
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ในช่วงนี้แนะนำติดตามปัจจัยเสียงไม่ว่าจะเป็นของอังกฤษที่ยังคงจะต้องคอยจับตาดูผู้สมัครรับเลือกตั้งในพรรคอนุรักษ์นิยมที่จะต้องคอยติดตามว่าจะมีทิศทางในการออกจากสหภาพยุโรปอย่างไรเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินปอนด์เป็นอย่างมากประกอบกับสกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยที่จะต้องคอยติดตามในการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียในวันพรุ่งนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
EUR/AUD : มีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อยEUR/AUD : มีการดีดตัวขึ้นเล็กน้อย
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
หลังจากที่มีการอ่อนค่าลงของสกุลเงินออสเตรเลียก็มีการทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเนื่องจากว่าสกุลออสเตรเลียมีความผันผวนและอาจจะมีการปรับลด อัตราดอกเบี้ย ในวันพรุ่งนี้จะมีความผันผวนอย่างมากและในส่วนของสกุลเงินยูโรยังโดนกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่ยังมีความผันผวนและสกุลเงินยูโรยังมีการประกาศที่ไม่ค่อยจะดีนักจึงสร้างความผันผวนให้กับคู่สกุลเงินนี้ยังมา
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.62061 แนวรับที่สองก็คือ 1.61810 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.61505
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญกำลังจะขึ้น 1.62567 แนวต้านที่สองก็คือ 1.62758 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.62955
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ยังอยู่ในการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางออสเตรเลียที่จะต้องคอยติดตามในวันพรุ่งนี้เนื่องจากวันนักวิเคราะห์ตามคาดการณ์ว่าอาจจะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ย ธนาคารกลางออสเตรเลียจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียยังมีความเสี่ยงอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ EUR/AUD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUDCAD : Starting of third wave ?จาก wave ภาพรวมใหญ่ก่อนหน้า ผมขอ Bias ชุดที่กำลังทำอยุ่เป็น Impulse
และชุดยึกยักที่เห็น เป็น w.2 ในรูปแบบ Large X wave เชื่อม 2 Flat
เข้าไม้ 2 โดนหลอกกิน SL ไป 2 ครั้งที่ wave นี้ ..... เจ็บใจครับ 555
แล้วมันก็แอบทะลุแนวต้านไป ตอนหลับ ..... เจ็บใจจจจจจจจ
ปล.ใจจริงคิดว่าเป็น ABC ครับ เพราะ w.1 เข้านับ TF เล็กแล้ว w.3 ผิดกฏ ห้ามสั้นที่สุดครับ
ปล. แลกเปลี่ยนความเห็นกันครับ
EURAUD : The pattern is similar to EURNZDEA ทรงจะคล้ายๆ EN พอสมควรครับ
เหมือนกันครับ ขอ Bias การลงชุดนี้เป็น Impulse 123 ก่อนครับ
แต่ไม่ว่าชุดใหญ่จะเป็น ABC หรือ Impulse ชุดล่าสุดก็ต้องมี 5 ขาอยู่ดี ทั้งสองกรณี
และตั้ง SL ล่าสุดที่หัว w.1 และมีการเข้าไม้ที่ 2 แถวๆ 1.62427
เนื่องจาก re-visit TL ใหญ่ และ WMA
เป้าการลงของ impluse ชุดเล็ก เลย 161.8 มาเยอะแล้ว รอดูจังหวะ
แต่ถ้าเป้า w.3 ของ impulse ชุดใหญ่ ตั้งไว้ที่ 1.605 ครับ
ปล.พูดคุย แบ่งปันกันได้ครับ
AUD/NZD : อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้นAUD/NZD : อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
โดยน้ำหนักของคู่สกุลเงินนี้ยังมีน้ำหนักไปยังสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่มีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องกดดันคู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัดแต่อย่างไรก็ตามในช่วงการประชุมที่จะถึงนี้อาจจะมีความผันผวนของคู่สกุลเงินนี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิดว่าความผันผวนจะออกมาทิศทางไหนแต่มุมมองยังคงเป็นมุมมองที่อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นช่วงนี้
ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงแนะนำว่ารอทะลุ 1.04444 ลงมาได้แนวรับที่สองจะอยู่ที่ 1.04360 แนวรับสุดท้ายจะอยู่ที่ 1.04257
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.04581 แนวทางที่สองก็คือ 1.04659 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.04761
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงในคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสกุลเงินออสเตรเลียรวมทั้งสกุลเงินนิวซีแลนด์ที่ยังคงจะต้องคอยติดตามไม่ว่าจะเป็นทางสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงเป็นปัจจัยมาจากภายในประเทศนิวซีแลนด์ที่จะต้องติดตามตัวเลขสำคัญในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/NZD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/JPY : เริ่มปรับตัวดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัดAUD/JPY : เริ่มปรับตัวดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยหนุนที่มาจากในส่วนของหลายภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นทั้งการคงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางนิวซีแลนด์และยังคงที่จะมีมุมมองในทิศทางที่ดีในช่วงที่มีการประกาศในวันนี้ประกอบกับในส่วนของการเจรจาสงครามทางการค้ายังมีมุมมองในทิศทางที่ดีขึ้นจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินเยน คงเป็นปัจจัยที่อยู่เหนือในส่วนของตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ดังนั้นแนะนำว่าในช่วงนี้สกุลเงินเยนอาจจะมีการอ่อนค่าลงกดดันให้คูสกุลนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
โดยถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านแรกก็คือ 75.35 สีแนวต้านที่สองก็คือ 75.522 และแนวต้านสุดท้ายที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือ 75.580
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 75.125 แนวรับที่สองก็คือ 74.995 แนวรับสุดท้ายก็คือ 74.825
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : แน่นอนว่าปัจจัยเสียงยังคงเป็นการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินออสเตรเลียรวมทั้งตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ที่จะต้องคอยติดตามอย่างมาก ประกอบกับช่วงนี้ตลาดหุ้นยังมีความผันผวนไม่ว่าจะเป็นทางผู้ที่เกี่ยวข้องที่เจรจาทางการค้าดังนั้นแนะนำควรติดตามซึ่งแน่นอนว่าในส่วนของการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาก็เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่จะเป็นการกดดันตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์เช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/JPY ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
AUD/CHF : ยังคงมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องAUD/CHF : ยังคงมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียยังคงมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยมาจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่มีการส่งสัญญาณออกมาว่าอาจจะมีการเจรจาทางการค้าออกมาในทิศทางที่ดีและรัฐมนตรีคลังของสหรัฐอเมริกาก็ออกมาคอนเฟิร์มในส่วนของการเจรจาในครั้งนี้พร้อมไปถึง 90% เรียบร้อยแล้วจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินสวิตฟังมีการอ่อนค่าลงเช่นเดียวกัน0
โดยถ้าเกิดว่าสามารถทะลุ 0.68336 ขึ้นไปได้แนวต้านที่สองก็คือ 0.68446 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68576
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68109 แนวรับที่สองก็คือ 0.67980 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.67832
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ในช่วงนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญยังคงเป็นการส่งสัญญาณการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ที่ยังคงเป็นปัจจัยที่จะต้องติดตามอย่างมากไม่ว่าจะเป็นทั้งการส่งสัญญาณของผู้เกี่ยวข้องทั้งจีนและทางสหรัฐอเมริกาเพราะจะสร้างความผันผวนให้กับทางสวิตฟังและทั้งสกุลเงินออสเตรเลียในช่วงนี้จึงเป็นความเสี่ยงที่จะต้องติดตามอย่างมาก
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ AUD/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตั
GBP/AUD : เริ่มมีการปรับตัวร่วงลงเล็กน้อยGBP/AUD : เริ่มมีการปรับตัวร่วงลงเล็กน้อย
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังคงมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงและประกอบกับในส่วนของสกุลเงินปอนด์ยังคงเป็นปัจจัยที่มีการอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องในระยะสั้นเนื่องจากว่ายังคงไม่มีความชัดเจนใน กระบวนการออกจากสหภาพยุโรปของอังกฤษและในส่วนของเลือกผู้นำที่จะต้องมีวิสัยทัศน์ที่เห็นชัดเจนจึงทำให้สกุลเงินปอนด์มีการอ่อนค่าลงอย่างเห็นได้ชัดจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82753 แนวรับที่สองก็คือ 1.82476 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82390
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นแนวตั้งเพื่อที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือ 1.83058 ซึ่งถ้าสามารถทะลุแนวต้านนี้ไปได้จะไปถึงแนวต้านที่สองก็คือ 1.83400 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83555
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ: ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนไม่ว่าจะเป็นทั้งมุมมองของสกุลเงินปอนด์ที่จะต้องคอยติดตามส่วนของการออกจากสหภาพยุโรปของอังกฤษสำหรับผู้นำคนใหม่ที่จะต้องคอยติดตามว่าผู้นำคนใหม่จะมีทิศทางอย่างไรและในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยที่ต้องคอยติดตามในส่วนของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะต้องติดตามอย่างมาก
GBP/AUD : จะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่GBP/AUD : จะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากทั้งสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงมีการดีดตัวขึ้นในระยะสั้นซึ่งทำให้คู่สกุลเงินนี้มีความผันผวนและดีดตัวขึ้นถึงแม้ว่าก่อนหน้านี้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าและยังคงเป็นการพักตัวก็สามซึ่งทำให้คู่สกุลเงินนี้วิ่งอยู่ในกรอบในทิศทางขาขึ้นหรือเรียกว่าเทรนขาขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลาง โดยติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง แนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 1.83625 แนวทางที่สองก็คือ 1.83808 แนวต้านที่สามก็คือ 1.83944 และถ้าสามารถทะลุแนวต้านที่ 1.84139 ขึ้นไปได้จะอยู่ในทิศทางขาขึ้นอีกหนึ่งรอบ
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแล้วครับและจะคืน 1.83037 แนวรับที่สองก็คือ 1.82893 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82682
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงจะต้องรอติดตามกระบวนการออกจากสหภาพยุโรปของอังกฤษโดยที่จะต้องรอหัวหน้าพรรคอนุรักษ์นิยมคนใหม่และยังคงเป็นอนาคตนายกรัฐมนตรีอังกฤษที่จะต้องคอยติดตามอย่างมากในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสงครามรายการค้าที่จะมีขึ้นในอีกเร็ววันนี้
AUD/NZD : จะกลับตัวได้หรือไม่AUD/NZD : จะกลับตัวได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียกับสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงเป็นปัจจัยที่จะต้องคอยติดตามอย่างมากเนื่องจากสกุลเงินนิวซีแลนด์มักจะติดตามสกุลเงินออสเตรเลียที่จะมีการผันผวนไปในทิศทางเดียวกันแต่อย่างไรก็ตามในส่วนของในการเกิดเหตุการณ์ที่สำคัญในส่วนที่เป็นการเจรจาการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ถึงยังให้น้ำหนักไปสกุลเงินออสเตรเลียเป็นหลัก
โดยที่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 1.05351 แนวต้านที่สองก็คือ 1.05520 แนวจานสุดท้ายก็คือ 1.05587
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแล้วแปลกก็คือ 1.05258 แนวรับที่สองก็คือ 1.05087 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.04997
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : แน่นอนยังคงเป็นปัจจัยมาจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะเกิดขึ้นนี้อีกไม่กี่วันนี้จึงควรติดตามว่าบอกทิศทางที่จะต้องคอยติดตามไม่ว่าจะเป็นทางฝั่งของสหรัฐอเมริกาหรือฝั่งของประเทศจีนที่ออกความเห็นจึงจะทำให้คู่สกุลเงินนี้มีความผันผวนอย่างมาก
AUD/JPY : จะมีการกลับตัวได้หรือไม่AUD/JPY : จะมีการกลับตัวได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
คู่สกุลเงินนี้ ได้รับอานิสงส์มาจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ที่มีการแถลงในทวิตเตอร์เกี่ยวเนื่องกับมุมมองทิศทางในการเจรจาทางการค้ากับประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ซึ่งดูเหมือนจะไปเจอกันในงานประชุม G20 ทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าประกอบกับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ก็ยังมีการรับข่าวนี้โดยมีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างแรงจึงควรติดตามว่าจะดีดตัวขึ้นได้หรือไม่
โดยที่ถ้าเกิดดีตัวขึ้นไปทะลุ 74.652 แนวต้านที่สำคัญแนวต้านที่สองก็คือ 74.764 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 74.939
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกที่จะต้องดูก็คือ. 4.438 ถ้าสามารถทะลุลงมาได้จะต้องติดตามอีกสองแนวรับก็คือ 74.079 และ 73.962 ซึ่งเป็นกรอบแนวรับแนวต้านแล้วรอบนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ยังคงหนีไม่พ้นเกี่ยวเนื่องกับการเจรจาการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงเป็นปัจจัยมาจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์และประธานาธิบดีสีจิ้นผิงจะมีการเจรจากันใน G20 เนื่องจากในสองคู่สกุลเงินนี้มีความผันผวนจากเหตุการณ์นี้เป็นหลักจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
AUD/CHF : เริ่มปรับตัวในทิศทางขาขึ้นAUD/CHF : เริ่มปรับตัวในทิศทางขาขึ้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
เนื่องจากในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียได้อานิสงส์มาจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ได้มีการโทรศัพท์ไปหาประธานาธิบดีสีจิ้นผิงเกี่ยวเนื่องกับการเจรจาทางการค้าและอาจจะมีการพบกันในการประชุม G20 จึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องประกอบกับในส่วนของสกุลเงินสวิตฟังก็มีการอ่อนค่าลงหลังจากที่ตลาดหุ้นฟิวเจอร์มีการดีดตัวขึ้นเช่นเดียวกันจึงทำให้คู่สกุลเงินนี้อาจจะมีการดีดตัวขึ้นในระยะสั้น
ถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นทะลุ 0.68792 ขึ้นไปได้ แนวต้านที่สั้นมากแนวต้านที่สองก็คือ 0.68836 และถ้าเกิดสามารถทะลุขึ้นไปได้แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68983
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงในรอบแรกที่จะต้องสามารถติดตามได้อย่างใกล้ชิดก็คือ 0.68670 และอาจจะต้องติดตามเพราะถ้าสามารถร่วงลงไปได้แนวรับที่สองก็คือ 0.68359 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68103
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์และประธานาธิบดีสีจิ้นผิงที่จะมีการประชุมกันในญี่ปุ่นในช่วงสิ้นเดือนนี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
GBP/AUD : เริ่มมีการปรับตัวร่วงลงเล็กน้อยGBP/AUD : เริ่มมีการปรับตัวร่วงลงเล็กน้อย
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
หลังจากที่คู่สกุลเงินนี้มีความผันผวนอย่างมากเนื่องจากว่าสกุลเงินออสเตรเลียยังทยอยมีการผันผวนและมีการอ่อนค่าลงแต่อย่างไรก็ตามสกุลเงินปอนด์ก็ยังมีการอ่อนค่าลงเช่นเดียวกัน จึงให้น้ำหนักทิศทางของสกุลเงินปอนด์ที่ยังคงมีการอ่อนค่าลงเล็กน้อยทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวร่วงลงในระยะสั้นเท่านั้นซึ่ง จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแล้วรับได้ที่จะต้องติดตามและสามารถกินเหนือได้ในตอนนี้ก็คือ 1.82966 โดยที่ถ้าสามารถทะลุลงมาได้แล้วรับที่สองก็คือ 1.82815 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.82684
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 1.83221 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83524 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83812
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ: ถ้าเกิดว่ามีมุมมองทิศทางของสกุลเงินออสเตรเลียที่เกี่ยวเนื่องกับการเจรจาสำคัญเพื่อการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนมักจะกดดันให้สกุลเงินออสเตรเลียมีความผันผวนในส่วนของสกุลเงินปอนด์หนึ่งคงจะต้องติดตามว่าในส่วนของพรรคอนุรักษ์นิยมมีใครที่จะต้องเป็นหัวหน้าพรรคและอาจจะไปกดดันถึงในส่วนของนายกรัฐมนตรีซึ่งจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลปอนด์เช่นเดียวกัน
AUDCAD : Bias Long while it's ending soon w.5 of W.CACAD นับ wave ใหม่ แต่ยัง bias เป็นขาขึ้น
โดยใกล้จบ w.5 ของขา W.C แล้ว หรืออาจจบแล้วก็เป็นได้
แต่ที่น่ากลัวคือ แนวรับแดงถูกทดสอบหลายครั้งแล้วในอดีต ครั้งนี้อาจรับไม่อยู่
ปล.เหมือนเดิมครับ จังหวะน่าเข้า SL สั้นๆ ถ้าถูกทาง RRR คุ้มครับ
ปล.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ครับ
AUD/NZD : เริ่มอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้นAUD/NZD : เริ่มอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
ในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงเป็นปัจจัยหนุนที่มาจากสกุลเงินออสเตรเลียมีการพักตัวและมีการอ่อนค่าเล็กน้อยประกอบกับในส่วนของสกุลเงินนิวซีแลนด์ยังคงเป็นปัจจัยที่มีการอ่อนค่าจึงทำให้คู่สกุลเงินนี้ยังมีน้ำหนักไปยังสกุลเงินนิวซีแลนด์อย่างมากจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นเหนือตาลสำคัญแรกก็คือ 1.05807 และแนวต้านที่สองก็คือ 1.05912 และแนวทางสุดท้ายก็คือ 1.05974
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแล้วเราก็ได้ก็คือ 1.05654 แนวรับที่สองก็คือ 1.05412 หลักแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.05235
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากในส่วนของทิศทางการจัดการการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนรวมทั้งการประกาศตัวเลขที่สำคัญของประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งจะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินนิวซีแลนด์อย่างเห็นได้ชัด
AUD/JPY : ปัจจัยหนุนยังคงอยู่ในทิศทางขาลงAUD/JPY : ปัจจัยหนุนยังคงอยู่ในทิศทางขาลง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียในช่วงนี้ยังมีมุมมองที่มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจัยหนุนมาจากในส่วนของการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่ยังคงไม่มีความชัดเจน และยังคลุมเครือในส่วนของมุมมองของตลาดหุ้นฟิวเจอร์ในตอนนี้ยังคงวิ่งไปในทิศทางพักตัวจึงทำให้คู่สกุลเงินนี้ยังมีการปรับตัวร่วงลงอย่างเห็นได้ชัด
โดยที่มีการปรับตัวร่วงลงในระบที่จะต้องติดตามอย่างมากก็คือ 74.196 ซึ่งถ้าสามารถทะลุลงมาได้อาจจะไปถึงในแนวรับที่สองก็คือ 73.217 ซึ่งเป็นแนวรับที่สำคัญอย่างมากไม่ช่วงนี้
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านที่สำคัญสองแนวทางประการคือ 74.671 และ 74.753 ซึ่งถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้จะไปถึงแนวต้านสุดท้ายก็คือ 74.937 ซึ่งเป็นกรอบแนวรับแนวต้านในช่วงนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากในทิศทางของการเจรจาทางการค้าระหว่างสารัทธ์อเมริกาและจีนที่ยังคงเป็นปัจจัยกดดันของทั้งสองสกุลเงินไม่ว่าจะเป็นสกุลเงินออสเตรเลียและสกุลเงินเยน ที่จะสร้างความผันผวนอย่างมากกับคู่สกุลเงินนี้จึงควรติดตามอย่างใกล้ชิด
AUD/CHF : มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องAUD/CHF : มีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่อง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียเทียบกับสกุลเงินสวิตฟังในตอนนี้ยังคงมีการปรับตัวร่วงลง อย่างต่อเนื่องเนื่องจากว่าในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียจะมีการ อ่อนค่าลงในส่วนของการไม่มีความชัดเจนที่เกี่ยวเนื่องกับการเจรจาทางการค้าโดยเฉพาะประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะไปเจอกับประธานาธิบดีสีจิ้นผิงหรือไม่จึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องประกอบกับสกุลเงินสวิตฟังยังคงเป็นปัจจัยที่จังคงจะต้องติดตามตลาดหุ้นฟิวเจอร์ซึ่งในตอนนี้ยังคงพักตัวจึงทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการร่วงลงอย่างเห็นได้ชัด
ถ้าเกิดมีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 0.68531 แนวรับที่สองก็คือ 0.68459 แนวรับสุดท้ายก็คือ 0.68357
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านแรกก็คือ 0.68704 แนวต้านที่สองก็คือ 0.68818 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 0.68972
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในคู่สกุลเงินนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากในมุมมองทิศทางของความเป็นไปได้ที่จะต้องคอยติดตามเรื่องการเจรจาทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนประกอบกับในส่วนของปัจจัยที่กดดันตลาดหุ้นฟิวเจอร์ซึ่งจะทำให้สกุลเงินสวิตฟังมีความผันผวนในช่วงนี้
EUR/AUD : จะสามารถดีดตัวขึ้นได้หรือไม่EUR/AUD : จะสามารถดีดตัวขึ้นได้หรือไม่
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินยูโรเทียบกับสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้ความผันผวนอย่างมากเกิดจากการกดดันมาจากการประกาศอัตราการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของเอดีพีของสหรัฐอเมริกาที่ประกาศออกมาในระดับรอบ 2010 จึงทำให้สกุลเงินดอลล่าร์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างรุนแรงในระยะสั้นประกอบกับส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียที่ยังมีความผันผวนที่เกี่ยวเนื่องกับสงครามทางการค้าจึงทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
โดยถ้าเกิดว่าสามารถดีดตัวขึ้นทะลุ 1.61468 ขึ้นไปได้แนะนำอาจจะไปถึงแนวต้านที่สองก็คือ 1.61640 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61783
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60948 แนวรับที่สองก็คือ 1.60833 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.60737
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังอยู่ในทิศทางของ สกุลเงินดอลล่าร์ที่มักจะกดดันสกุลเงินยูโรอยู่ในช่วงนี้ประกอบกับในส่วนของทิศทางของสงครามการค้าที่มาจากกดดันสกุลเงินออสเตรเลียจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิดในช่วงนี้
EUR/AUD: อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงต่อเนื่องEUR/AUD: อาจจะมีการปรับตัวร่วงลงต่อเนื่อง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินยูโรในตอนนี้มีโอกาสปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องเนื่องจากสกุลเงินดอลล่าร์มีการกดดันโดยที่สกุลดอลล่าร์มีการดีดตัวขึ้นดังนั้นจึงกดดันสกุลเงินยูโรอย่างไรก็ตามสะดวกเป็นออสเตรเลียยังมีความผันผวนแต่ในมุมมองทิศทางของสกุลเงินออสเตรเลียในตอนนี้ยังคงเป็นปัจจัยหนุนที่ยังคงเป็นปัจจัยบวกทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าจึงมีโอกาสที่ทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการปรับตัวร่วงลง
โดยถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.60589 แนวรับที่สองก็คือ 1.60437 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.60307
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านแรกก็คือ 1.60994 แนวต้านที่สองก็คือ 1.61236 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.61329
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ: ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังเป็นปัจจัยหนุนมาจากสกุลเงินยูโรที่ยังคงมีการกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ในการแข่งค่าขึ้นดังนั้นสกุลเงินยูโรยังมีโอกาสที่มีการปรับตัวร่วงลงอย่างไรก็ตามในมุมมองของสกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนที่จะต้องติดตามอย่างมากจึงควรติดตามอย่างใกล้ชิดในช่วงนี้
GBP/AUD : ยังอยู่ในทิศทางขาลงอย่างต่อเนื่องGBP/AUD : ยังอยู่ในทิศทางขาลงอย่างต่อเนื่อง
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินปอนด์ยังคงได้ปัจจัยหนุนหลักมาจากทิศทางของทางการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับการออกจากสหภาพยุโรปของอังกฤษที่ยังคงไม่มีความแน่นอนและรอความชัดเจนที่จะต้องคอยติดตามอย่างใกล้ชิดซึ่งในส่วนของ สกุลเงินออสเตรเลียยังคงเป็นปัจจัยหนุนมาจากสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนจึงควรติดตามว่าจะสามารถมีการปรับตัวร่วงลงได้หรือไม่
โดยถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.82595 แนวรับที่สองก็คือ 1.82094 และแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.81791
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นแนวต้านที่สำคัญแรกก็คือ 1.83154 แนวต้านที่สองก็คือ 1.83377 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.83791
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ต้องคอยติดตามเกี่ยวเนื่องกับทางการเมืองของอังกฤษว่าจะสามารถออกจากสหภาพยุโรปในทิศทางไหนและจะคอยติดตามอย่างไรต้องรอดูว่าจะสร้างความผันผวนหรือไม่ไม่ว่าจะเป็นทั้งในส่วนของสกุลเงินออสเตรเลียก็ยังจะคงต้องติดตามในมุมมองทิศทางของสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนในช่วงนี้
AUD/JPY: สัญญาณการเทรดเริ่มอยู่ในทิศทางขาขึ้นAUD/JPY: สัญญาณการเทรดเริ่มอยู่ในทิศทางขาขึ้น
คำแนะนำทางด้านการเทรด:
สกุลเงินออสเตรเลียในวันนี้มีการปรับตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือเรียกว่ามีการแข็งค่าขึ้นเนื่องจากสัญญาณในส่วนของสงครามทางการค้าประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ในการส่งสัญญาณของวันอาทิตย์ทางที่ดีถึงแม้ว่ายังคงไม่ชัดเจนที่เกี่ยวเนื่องกับการเจรจากับจีนจึงทำให้สกุลเงินออสเตรเลียมีการแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของทิศทางของสกุลเงินเยน ยังมีความผันผวนจากสงครามทางการค้าเช่นเดียวกันจึงยังมีการกดดันที่ยังพักตัวทำให้คู่สกุลเงินนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เป็นสัญญาณการเทรดขา Buy
สัญญาณการเทรดขา Buy: ซึ่งในตอนนี้ความเป็นไปได้ที่จะมีการดีดตัวขึ้นมีความเป็นไปได้มากกว่าดังนั้นจึงควรติดตามว่าจะสามารถทะลุ 75.969 ขึ้นไปได้หรือไม่ซึ่งถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้ตำแหน่งที่จะต้องติดตามตำแหน่งแรกก็คือ 76.023 และตำแหน่งสุดท้ายที่จะต้อง ตัดทำกำไรทั้งหมดก็คือ 76.131
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งที่จะต้องติดตามตำแหน่งแรกก็คือ 75.886 โดยที่ตำแหน่งที่จะต้องติดตามและตัดขาดทุนตำแหน่งที่สองซึ่งแน่นอนว่าตำแหน่งนี้มีความเสี่ยงที่จะมีการปรับตัวร่วงลง ก็คือ 75.713 และตำแหน่งสุดท้ายก็คือ 75.562
สัญญาณการเทรดขา Sell: ถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงตำแหน่งที่จะต้องตัดทำกำไรทั้งหมดก็คือ 75.562 ซึ่งตำแหน่งนี้นักลงทุนตลาดเงินคาดว่าเป็นตำแหน่งที่มีความแข็งแกร่งอย่างมาก จึงคอยติดตามอย่างใกล้ชิด
แต่ถ้ามีการดีดตัวขึ้นตำแหน่งที่จะต้องตัดขาดทุนทั้งหมดก็คือ 75.969 โดยตำแหน่งนี้คาดว่าถ้าสามารถทะลุขึ้นไปได้จะอยู่ในทิศทางขาขึ้นในระยะสั้นถึงระยะกลางอีกหนึ่งรอบจึงมีความเสี่ยงมากจึงควรตัดขาดทุนในตำแหน่งนี้
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่สกุลเงินนี้ยังเป็นปัจจัยหนุนมาจากสกุลเงินออสเตรเลียและสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนถึงแม้ว่าตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์ยังมีความผันผวนและยังคงเป็นที่พักตัวอยู่ในช่วงนี้จึงควรติดตามว่าสงครามทางการค้าจะออกมาในทิศทางไหน