GBPCHF
GBPCHF โอกาสร่วงลงอย่างมีสูง 14/08/2023GBPCHF ยังคงมีโอกาสร่วงลงสูงในเชิงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องทางด้านของสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวระยะสั้นดังนั้นปัจจัยหนุนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมี
ในรอบวันมีการปรับตัวร่วงลง -0.09% จากการผันผวนและแข็งค่าของสกุลเงินฟรังก์สวิสดังนั้นถ้ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องอาจจะเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้คู่เงินนี้อาจจะไปถึงแนวรับสำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นไม่สามารถทะลุ 1.11366 ขึ้นไปได้ควรเปิดสถานะขายระหว่าง 1.11366 ลงมาถึง 1.11121 เป็นการเปิดสถานะขายที่ควรสนใจอย่างมากและทำด้วยกันทะลุแนวรับสำคัญนี้ก็ไปได้อาจจะไปถึงแนวรับสุดท้ายก็คือ 1.10824
แต่ถ้ามีการปรับตัวสูงขึ้นควรตัดขาดทุนที่ตำแหน่งที่ 1.11366 เท่านั้นเป็นตำแหน่งที่สุดท้ายที่ควรที่จะต้องจับตาดูอย่างมาก
ในสัปดาห์นี้ติดตามการประกาศตัวเลขของสหราชอาณาจักรเกี่ยวเนื่องกับตัวเลขสำคัญหลายตัวเลขของตัวเลขเศรษฐกิจซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนทั้งในระยะสั้นและระยะกลาง
แผนเทรด GBP/CHF แผนเทรด GBP/CHF เเนวโน้มมองลงได้อยู่ถ้ามองจาก TF ใหญ่ TF D เเต่ใน TF เล็กลงมาเป็น TF H1 ลงไปราคาเป็นเทรนขาขึ้นย่อย สรุป ก็ถือว่าครั้งนี้สวนเทรน ก็ครั้งนี้มีปัจจัยที่น่าสนใจในการสวนเทรนครั้งนี้ ราคาได้เป็นรุปเเบบเเพทเทร์นกลับตัวเป็น Falling Wedge ที่ไม่ได้มาพร้อมกับ Bullish Divergence ก้อาจเสี่ยงด้วย ราคามีเเนวรับที่ถูกทดสอบบ่อยมากเรียกว่า SSR ก้ได้ หรือ เป้นเเนวรับ ที่เเข็งเเรง เเละเป้นโซนที่มีปริมาณเเนวรับสุงสุด POC เเละตรงกับ Fibo 78.6 ด้วย หากราคาปรับตัวลงมาถึงโซนที่ว่าไว้ รอเกิด เเท่งเทียนกลับตัว ตอนมาถึงโซนไม่ว่สจะเป็นรูปเเบบ PA หรือเเท่งเทียน Reject
เหตุผลมองขึ้น
- Falling Wedge
- Minor Price Structure
- fibo 78.6
- HVN + POC
- Demand zone RBR ( ลืมวาด ,มีอยู่เเถวเเนวรับ )
หมายเหตุ
- ครั้งราคามาถึงรอสัญญาณเเท่งเทียนกลับตัวก่อน
- ครั้งนี้สวนเทรนใหญ่ต้องระวัง
- นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
แผนเทรด GBP/CHF สัปดาห์หน้า แผนเทรด GBP/CHF สัปดาห์หน้า เเนวโน้มมองลง จาก TF W D H4 ลงมาเเบบชัดมาก ครั้งนี้สวนเทรน เเน่นอน นะตอนนี้ราคาได้ปรับตัวลงมาเเล้วได้ เกิด เเพทเทิร์น Falling Wedge ที่มาพร้อมกับ Bullish Divergence เเละก้ตรงกับ Demand zone TFD ที่อยุ่ไกลมาก ครั้งนี้ด้วยเนื่องจากเทรดส่วนเทรน จึงต้องรอคอนเฟริมถ้าจะเอาให้ดี คือ รอให้ราคาได้เบรคเเนวต้าน ขึ้นไปได้หรือ เบรคออกจาก เเพทเทิรืนออกไปได้เเเละ ไปทำ HH ( TFย่อย ) เเละรอราคาปรับตัวลงมารีเทส เเพทเทิร์น เเล้วค่อย หาจังหวะเข้า ตามในรุปที่ทำไว้
เหตุผลมองขึ้น
- Falling Wedge
- Bullish Divergence
- Demand zone TF D
หมายเหตุ
- ครั้งนี้ปัจจัยเข้าน้อย เเนะนำรอ สัญญาณคอนเฟริมเกิด จะดีกว่า
- หากราคาไม่มีการเบรค ออกนอกกรอบเเพทเิทร์น จะเป็นการยกเลิกแผนเทรนครั้งนี้
- นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
เงินเฟ้อสหราชอาณาจักรแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปีอัตราเงินเฟ้อของสหราชอาณาจักรพุ่งแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปีที่ 9% เนื่องจากราคาอาหารและพลังงานพุ่งสูงขึ้น
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
อัตราเงินเฟ้อของสหราชอาณาจักรพุ่งขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปีที่ 9% ในเดือนเมษายน เนื่องจากราคาอาหารและพลังงานพุ่งสูงขึ้น ตัวเลขอย่างเป็นทางการเปิดเผยเมื่อวันพุธ ส่งผลให้วิกฤตค่าครองชีพของประเทศทวีความรุนแรงขึ้น
ราคาผู้บริโภคเพิ่มขึ้น 2.5% เมื่อเทียบเป็นรายเดือน ซึ่งต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้เพียงเล็กน้อยว่าจะเพิ่มขึ้น 2.6% ในการสำรวจความคิดเห็นของนักเศรษฐศาสตร์ของ Reuters ซึ่งคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น 9.1% ต่อปีเช่นกัน
ดัชนีราคาผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น 9% สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มบันทึกในรูปแบบปัจจุบันในปี 1989 แซงหน้าการเพิ่มขึ้น 8.4% ต่อปีในเดือนมีนาคม 1992 และดีกว่า 7% ในเดือนมีนาคมของปีนี้ สำนักงานสถิติแห่งชาติของสหราชอาณาจักรยังกล่าวด้วยว่าการประมาณการดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าอัตราเงินเฟ้อจะสูงขึ้นในช่วง "ประมาณปี 2525"
การคาดหวังในครั้งนี้?
ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน หน่วยงานควบคุมพลังงานของสหราชอาณาจักรได้เพิ่มขีดจำกัดราคาพลังงานในครัวเรือนขึ้น 54% ตามราคาพลังงานขายส่งที่พุ่งสูงขึ้น ซึ่งรวมถึงราคาก๊าซโลกที่พุ่งสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ หน่วยงานกำกับดูแล Ofgem ไม่ได้ตัดสิทธิ์การเพิ่มขีด จำกัด เพิ่มเติมในการทบทวนเป็นระยะในปีนี้
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์ผันผวนระยะสั้นโดยเฉพาะ GBPCHF จึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.20600 แนวรับที่สองก็คือ 1.21315 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.20853
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.22244 แนวต้านที่สองก็คือ 1.22805 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.23445
แผนเทรด GBP/CHF แผนเทรด GBP/CHF เเนวโน้มมองขึ้นจาก TF H4 ครั้งนี้สวนเทรนคับ นะตอนนี้ ราคาได้ปรับตัวขึ้นมาทำเเพทเทิร์น Rising Wedge ที่มาพร้อมกับ Bearish Divergence เป็นสัญญาณที่ดีที่มาด้วยกัน เเละตอนนี้ราคาได้เกิดสัญญาณกลับตัวของเเท่งเทียนมาเเล้ว คือ Reject
เหตุผลมองลง
1.Rising Wedge
2.Bearish Divergence
3.Supply zone เอาเป็นว่าคือเเนวต้านก้ได้ถูกทดสอยมาบ่อยมากเเล้ว
4.SR
5.เเท่งเทียน Reject
หมายเหตุ
-
จับตาการกล่าวสุนทรพจน์ของผู้ว่า BOEจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในงานอีเวนท์ออนไลน์ที่จัดโดย TheCityUK
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
จะมีการกล่าวสุนทรพจน์ในงานอีเวนท์ออนไลน์ที่จัดโดย TheCityUK ซึ่งจะเป็นการกล่าวสุนทรพจน์ของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษในช่วงเวลา 16:05 น. ซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องเฝ้าจับตาดูถ้อยแถลงในการ กล่าวสุนทรพจน์ในครั้งนี้
การคาดหวังในครั้งนี้?
อย่างไรก็ตามในการกล่าวสุนทรพจน์งานอีเวนท์ออนไลน์ของผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษยังคงให้ความสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะนักลงทุนและนักวิเคราะห์ต่างยังคงต้องเฝ้าจับตาดูว่าจะมีการแถลงหรือจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ไปถึงเรื่องนโยบายทางการเงินหรือไม่โดยเฉพาะการที่อาจจะต้องเฝ้าจับตา ดูว่าจะมีการแถลงนโยบายทางการเงินไปยังการขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งต่อไปหรือไม่หรือในการกำหนดนโยบายทางการเงินอย่างไรซึ่งปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การวิเคราะห์ของราคา
โดยที่ปัจจัยนี้อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนอย่างมากจึงควรติดตามว่า GBPCHF มีกรอบแนวรับแนวต้านอย่างไร
ซึ่งถ้าเกิดว่าค่าเงินปอนด์มีความผันผวนและมีการแข็งค่าขึ้นคู่เงินนี้อาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25144 และสองแนวต้านที่สำคัญอย่างมากก็คือ 1.25304 และ 1.25395 และแนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.25504
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.24911 แนวรับที่สองก็คือ 1.24755 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24626
แผนเทรด GBP/CHFแผนเทรด GBPCHF เเนวโน้มมองลงระยะยาว ครั้งนี้ตามเทรน นะตอนนี้ ราคาได้ปรับตัวขึ้นมา เกือบถึง เทรนไลน์ที่ชนครั้งที่ 4 เเละตรงกับ fibo 78.6 หาสัญญาณกลับตัวก่อน เข้า เช่น เเพทเทิร์นกลับตัว เเท่งเทียนกลับตัวต่างๆ หรือ Reject ส่วนตัวคิดว่าราคาอาจเบรคขึ้นไปได้ เพราะ เทรนไลน์ชนบ่อยเกินไป ความคิดเห็นส่วนตัว
เหตุผลมองลง
1. เทรนขาลง ตามเทรน
2. เทรนไลน์
3. fibo 78.6
4. rsi 70+ เเรงซื้อมีมากเกิน มีโอกาสที่ราคาจะปรับตัวลง
แผนเทรด GBP/CHFแผนเทรด GBPCHF เเนวโน้มมองขึ้น ราคาได้วิ่งอยู่ในกรอบเทรนไลน์ที่ตีไว้ ก่อนหน้านี้ราได้ปรับตัวลงมาชนเทรนไลน์ครั้งที่3 มีโอกาส ปรับตัวขึ้นสูง พร้อมกับเกิด Bullish Divergence ใน M30 เกิด Divergence ใน TF เล็กไม่ค่อยเเน่นอนเท่าไหร่ เเต่ก็ยังมี fibo 61.8-78.6 มาลองรับอยู่ ได้อยู่ จึงคิดว่ามีโอกาส ปรับตัวขึ้น เเต่ครั้งนี้เป็นการเทรนสวนเทรน ในD1 อาจไม่ดีเท่าไหร์
เหตุผลที่มองขึ้น
1.เทรนไลน์
2.Bullish Divergence
3.fibo 61.8 -78.6
4.Demand zone
GBP ส่งผลกับค่าเงินปอนด์การประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษส่งผลกับค่าเงินปอนด์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น?
ในช่วงเวลา 13:00 น. จะมีการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษโดยที่จะมีการประกาศทั้ง ปีต่อปีและเดือนต่อเดือนนักลงทุนยังคงจับตาดูว่าการประกาศดัชนีจีดีพีของอังกฤษจะส่งผลให้กับสกุลเงินปอนด์หรือไม่อย่างไรก็ดีมีการประกาศดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมด้วยเช่นเดียวกันซึ่งอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวน
การคาดหวังในครั้งนี้?
โดยในส่วนของการผันผวนของดัชนีจีดีพีนั้นนักวิเคราะห์ยังคงมีความคาดการณ์ในบางมุมแต่ในส่วนของดัชนีจีดีพีเทียบเดือนต่อเดือนครั้งก่อนอยู่ที่ 0.8% ประกอบกับดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมของปีต่อปีของอังกฤษครั้งก่อน 22.2% ดังนั้นจับตาดูว่าจะมีการประกาศออกมาอย่างไรโดยที่ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษประจำเดือนกรกฎาคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 0.1% ครั้งก่อน 0.2% รวมทั้งดุลการค้าของอังกฤษประจำเดือน กรกฎาคมด้วยเช่นเดียวกัน
การวิเคราะห์ของราคา
ปัจจัยของสกุลเงินปอนด์จะส่งผลให้กับหลายคู่เงินที่เทียบกับสกุลเงินปอนด์โดยเฉพาะ GBPCHF โดยมีการขยับตัวสูงขึ้นในระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวดังนั้นอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นถ้ามีการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวก'
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27244 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27537 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27760
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26910 แนวรับที่สองก็คือ 1.26605 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26518
GBP/CHF : ปัจจัยเชิงเทคนิคขยับตัวสกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสอาจจะมีการฟื้นตัวขึ้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ดูเหมือนมีการขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากในส่วนของสกุลเงินปอนด์เริ่มมีการฟื้นตัวขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสเริ่มมีการปรับตัวอ่อนค่าลงจากการที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์เริ่มฟื้นตัวขึ้นบ้างเล็กน้อย
GBPCHF จากปัจจัยสองปัจจัยที่เป็นปัจจัยหนุนทำให้คู่เงินนี้มีการฟื้นตัวขึ้นโดยในรอบวันมีการขยับตัวขึ้น +0.33% และอาจจะมีการขยับตัวสูงขึ้นดังนั้นปัจจัยทางเทคนิคที่อาจจะส่งผลทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นนั้นมีความเป็นไปได้มาก
โดยกรอบที่สำคัญที่จำเป็นจะต้องติดตามอย่างมากก็คือ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.25803 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26078 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26239
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25511 แนวรับที่สองก็คือ 1.25302 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.24968
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างมากที่จำเป็นจะต้องติดตามก็คือการประชุมที่แจ็คสันโฮโดยนักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากเพราะจะส่งผลทำให้สกุลเงินฟังสวิตมีความผันผวนจับตาดูอย่างใกล้ชิด
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้ออังกฤษประกาศวันนี้วันที่ 5 สิงหาคม 2021 มีการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของอังกฤษ
ในวันที่ 5 สิงหาคม 2021 ในช่วงเวลา 15:30 น. จะมีการประกาศแบบนี้ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างของอังกฤษหรือเรียกว่า Construction PMI ซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนกรกฎาคมโดยที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมา 64.0 ครั้งก่อน 66.3 ถ้าประกาศออกมาเป็นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์อาจจะทำให้สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นระยะสั้น
อย่างไรก็ดีการประกาศนี้จะทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและคู่เงินที่น่าจับตามองก็คือ GBPCHF ซึ่งคู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงประกอบกับสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นในระยะสั้นดังนั้นทางการประกาศออกมาในมุมมองเชิงบวกอาจจะส่งผลทำให้ขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.26169 แนวต้านที่สองก็คือ 1.26458 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.26561
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.25941 แนวรับที่สองก็คือ 1.25801 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.25685
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : โดยอย่างไรก็ตามจะมีการประกาศที่สำคัญก็คือการประกาศดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการก่อสร้างประกอบกับจะมีการประกาศปรับอัตราเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษดังนั้นจับตาดูอย่างใกล้ชิดในสัปดาห์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBPCHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
ค่าเงินปอนด์ยังทรงตัวสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงทรงตัว
ในส่วนของสกุลเงินปอนด์ในสัปดาห์นี้ยังคงมีการพักตัวและถึงแม้ว่าจะมีปัจจัยทั้งสมาชิกคณะกรรมการนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษที่มีการพูดถึงนโยบายทางการเงินประกอบกับการประกาศตัวเลขของอังกฤษก็ไม่ส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในการแข็งค่าหรืออ่อนค่า ซึ่งในส่วนของอังกฤษยังคงต้องจับตามองดูการเปิดประเทศของอังกฤษด้วยเช่นเดียวกันดังนั้นสกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวและยังคงเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ
โดยในส่วนของสกุลเงิน GBPCHF ยังคงมีการพักตัวและมีการปรับตัวย่อตัวลงเล็กน้อยหลังจากที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์มีการปรับตัวร่วงลงทำให้สกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงทะลุ 1.27510 ลงมาได้แนวรับที่สองก็คือ 1.27319 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27191
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28007 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28108 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28305
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ : อย่างไรก็ดีในสกุลเงินปอนด์ยังคงต้องจับตาดูปัจจัยภายนอกและภายในประกอบกับในสัปดาห์นี้การประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษยังคงไม่มีการประกาศตัวเลขที่สำคัญดังนั้นปัจจัยที่จะต้องติดตามสกุลเงินปอนด์อย่างต่อเนื่องก็คือในส่วนของการแถลงเกี่ยวเนื่องกับ โควิด-19 จึงต้องจับตาดูเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
จับตาการประกาศปรับดอก BOEการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษในวันพฤหัสที่จะถึงนี้
ในวันที่ 24 มิถุนายน 2021 จะมีการประกาศที่สำคัญของอังกฤษก็คือการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษ รวมทั้งจะมีการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของ MPC ในช่วงเวลา 18:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งนักลงทุนต่างจับตามองการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินในครั้งนี้โดยที่อาจจะมีการคาดหวังว่าอาจจะมีการพร้อมที่จะมีการลดการอัดฉีดเงินในเชิงระยะสั้นดังนั้นปัจจัยนี้อาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนและอาจจะมีการแข็งค่าขึ้น
โดยคู่เงิน GBPCHF อาจจะมีความผันผวนในวันพรุ่งนี้ดังนั้นในช่วงนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจากปัจจัยของสกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสมีการปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วงระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการขยับตัวสูงขึ้นจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.28516 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28802 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.29329
แต่มีการขยับตัวร่วงลงเมื่อไหร่นักลงทุนต่างจับตามองอย่างมากโดยที่แนวรับสำคัญแรกก็คือ 1.28083 แนวรับที่สองก็คือ 1.27788 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27562
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF ซึ่งเป็นปัจจัยที่น่าจับตามองอย่างมาก : โดยปัจจัยเสี่ยงที่น่าจับตามองก็คือยังคงเป็นการรายงานการประชุมนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางอังกฤษหรือ MPC รอดูว่าจะมีการประกาศรายงานการประชุมอย่างไรประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงระยะสั้นเช่นเดียวกัน
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP ติดตามดัชนียอดขายปลีกวันศุกร์นี้การประกาศที่สำคัญของอังกฤษจะมีความสำคัญกับสกุลเงินปอนด์ในช่วงระยะสั้นอีกครั้ง
สกุลเงินปอนด์ยังคงรอติดตามการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้จะเป็นการประกาศดัชนียอดขายปลีกและดัชนียอดขายปลีกพื้นฐานของ อังกฤษซึ่งจะเป็นการประกาศของเดือนพฤษภาคมโดยนักลงทุนได้มีการคาดการณ์ออกมา น้อยกว่าครั้งก่อนอาจจะส่งผลทำให้สกุลเงินปอนด์มีความผันผวนในช่วงระยะสั้น
ซึ่งคู่เงิน GBPCHF มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวแข็งค่าขึ้นซึ่งถ้าเกิดมีการประกาศตัวเลขที่สำคัญในวันศุกร์นี้อาจจะมีความผันผวนที่ควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นกรอบแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27800 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27951 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28086
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27436 แนวรับที่สองก็คือ 1.27192 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27001
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ GBPCHF : ในส่วนของทั้งสกุลเงินปอนด์ยังคงมีความ ผันผวนและในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีปัจจัยที่จะต้องจับตามองไม่ว่าจะเป็นทั้งตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์หรือแม้กระทั่งในส่วนของการประกาศตัวเลขสำคัญของอังกฤษต้องจับตามองในวันศุกร์นี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : พักตัวระยะสั้น อีกครั้งสกุลเงินปอนด์พักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์ยังคงมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการผันผวนวิ่งอยู่ในกรอบทำให้คู่เงินนี้มีการปรับตัวพักตัวจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27215 แนวรับที่สองก็คือ 1.26891 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26620
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27472 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27664 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27871
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงตัวเลขผู้ที่ติดเชื้อของอังกฤษประกอบกับติดตามปัจจัยในการปิดประเทศอีกครั้งในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : จะมีการย่อตัวลงได้หรือไม่สกุลเงินปอนด์จะอ่อนค่าหรือไม่
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้ยังคงมีการขยับตัวย่อตัวลงระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์มีการปรับตัวอ่อนค่าลงโดยในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงมีการพักตัวระยะสั้นทำให้คู่เงินนี้มีการย่อตัวลงจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.26908 แนวรับที่สองก็คือ 1.26729 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.26555
แต่ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกก็คือ 1.27140 แนวต้านที่สองก็คือ 1.27289 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.27410
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจำเป็นจะต้องติดตามถึงปัจจัยภายในรวมทั้งการประกาศตัวเลขสำคัญและการประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางอังกฤษประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะต้องติดตามตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ในช่วงนี้
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด
GBP/CHF : ยังคงพักตัวระยะสั้นสกุลเงินปอนด์พักตัวระยะสั้น
สกุลเงินปอนด์เทียบกับสกุลเงินฟรังก์สวิสในตอนนี้คงมีการพักตัวระยะสั้นหลังจากที่สกุลเงินปอนด์เริ่มมีการพักตัวประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสยังคงพักตัวเช่นเดียวกันหลังจากที่ตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ยังคงมีการเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบจึงควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการขยับตัวสูงขึ้นแนวต้านสำคัญแรกในระยะสั้นก็คือ 1.27906 แนวต้านที่สองก็คือ 1.28098 แนวต้านสุดท้ายก็คือ 1.28523
แต่ถ้ามีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 1.27671 แนวรับที่สองก็คือ 1.27466 แนวรับสุดท้ายก็คือ 1.27267
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ : ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคู่เงินนี้ยังคงต้องติดตามถึงสกุลเงินปอนด์ที่อาจจะมีความผันผวนในการประกาศตัวเลขที่สำคัญในสัปดาห์นี้ประกอบกับในส่วนของสกุลเงินฟรังก์สวิสจำเป็นจะจดจำตลาดหุ้นสวิตเซอร์แลนด์ฟิวเจอร์ระยะสั้น
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ GBP/CHF ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้าน นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด